ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พลเอก ถนอม กิตติขจร"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' รศ.นรนิติ เศรษฐบุตร | |||
---- | |||
'''ถนอม กิตติขจร''' | '''ถนอม กิตติขจร''' | ||
ถนอม กิตติขจร เป็นนายทหารบกที่เจริญเติบโตทั้งทางทหารและทางการเมืองตามลำดับนับตั้งแต่เข้าร่วมการ[[ยึดอำนาจ]]มาตั้งแต่การ[[รัฐประหาร]] พ.ศ. 2490 ได้ก้าวขึ้นมาเป็น[[นายกรัฐมนตรี]]คนที่ 10 ต่อจาก[[นายพจน์ สารสิน]] เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2501 ขณะที่มียศเป็นนายพลโท โดยมี[[คณะทหาร]]และพรรค[[ชาติสังคม]]หนุนหลัง และถูกกำกับดูแลโดยหัวหน้าทหารใหญ่คือ [[จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] จนถึงวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ได้ลาออกจากนายกรัฐมนตรี เข้าร่วมกับ[[คณะทหาร]]ที่นำโดย จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ [[ยึดอำนาจ ]] [[ล้มรัฐธรรมนูญ]] | ถนอม กิตติขจร เป็นนายทหารบกที่เจริญเติบโตทั้งทางทหารและทางการเมืองตามลำดับนับตั้งแต่เข้าร่วมการ[[ยึดอำนาจ]]มาตั้งแต่การ[[รัฐประหาร]] พ.ศ. 2490 ได้ก้าวขึ้นมาเป็น[[นายกรัฐมนตรี]]คนที่ 10 ต่อจาก[[พจน์ สารสิน|นายพจน์ สารสิน]] เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2501 ขณะที่มียศเป็นนายพลโท โดยมี[[คณะทหาร]]และพรรค[[ชาติสังคม]]หนุนหลัง และถูกกำกับดูแลโดยหัวหน้าทหารใหญ่คือ [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] จนถึงวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ได้ลาออกจากนายกรัฐมนตรี เข้าร่วมกับ[[คณะทหาร]]ที่นำโดย จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ [[ยึดอำนาจ ]] [[ล้มรัฐธรรมนูญ]] | ||
ครั้นจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีเสียชีวิต จึงได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง โดยมียศทางทหารเป็นจอมพล และเป็นนายกรัฐมนตรีที่จัดการเลือกตั้ง พ.ศ. 2512 หลังจากประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511]] ได้เป็นหัวหน้ารัฐบาลอยู่จนถึงวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ได้เป็นหัวหน้ายึดอำนาจรัฐล้มรัฐบาลตัวเองและรัฐธรรมนูญ นำประเทศกลับเข้าสู่ระบอบ[[อำนาจนิยม]]โดยไม่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมเลือกผู้แทนราษฎร รัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นหลัง[[รัฐประหาร]]เต็มไปด้วยข่าวอื้อฉาวเกี่ยวกับการทุจริตของผู้นำระดับสูง และความแตกแยกในหมู่ผู้นำเกี่ยวกับต่ออายุราชการ ดังนั้นในเดือนตุลาคมจึงถูกนักศึกษาประชาชน เรียกร้องรัฐธรรมนูญอันนำไปสู่เหตุการณ์ “[[14 ตุลาคม 2516]]” ที่รัฐบาลสูญเสียความชอบธรรมจนหมดอำนาจลง ต้องเดินทางไปลี้ภัยที่ต่างประเทศ | ครั้นจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีเสียชีวิต จึงได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง โดยมียศทางทหารเป็นจอมพล และเป็นนายกรัฐมนตรีที่จัดการเลือกตั้ง พ.ศ. 2512 หลังจากประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511]] ได้เป็นหัวหน้ารัฐบาลอยู่จนถึงวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ได้เป็นหัวหน้ายึดอำนาจรัฐล้มรัฐบาลตัวเองและรัฐธรรมนูญ นำประเทศกลับเข้าสู่ระบอบ[[อำนาจนิยม]]โดยไม่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมเลือกผู้แทนราษฎร รัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นหลัง[[รัฐประหาร]]เต็มไปด้วยข่าวอื้อฉาวเกี่ยวกับการทุจริตของผู้นำระดับสูง และความแตกแยกในหมู่ผู้นำเกี่ยวกับต่ออายุราชการ ดังนั้นในเดือนตุลาคมจึงถูกนักศึกษาประชาชน เรียกร้องรัฐธรรมนูญอันนำไปสู่เหตุการณ์ “[[14 ตุลาคม 2516]]” ที่รัฐบาลสูญเสียความชอบธรรมจนหมดอำนาจลง ต้องเดินทางไปลี้ภัยที่ต่างประเทศ | ||
รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:30, 21 มีนาคม 2554
ผู้เรียบเรียง รศ.นรนิติ เศรษฐบุตร
ถนอม กิตติขจร
ถนอม กิตติขจร เป็นนายทหารบกที่เจริญเติบโตทั้งทางทหารและทางการเมืองตามลำดับนับตั้งแต่เข้าร่วมการยึดอำนาจมาตั้งแต่การรัฐประหาร พ.ศ. 2490 ได้ก้าวขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ต่อจากนายพจน์ สารสิน เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2501 ขณะที่มียศเป็นนายพลโท โดยมีคณะทหารและพรรคชาติสังคมหนุนหลัง และถูกกำกับดูแลโดยหัวหน้าทหารใหญ่คือ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ จนถึงวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ได้ลาออกจากนายกรัฐมนตรี เข้าร่วมกับคณะทหารที่นำโดย จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอำนาจ ล้มรัฐธรรมนูญ
ครั้นจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีเสียชีวิต จึงได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง โดยมียศทางทหารเป็นจอมพล และเป็นนายกรัฐมนตรีที่จัดการเลือกตั้ง พ.ศ. 2512 หลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 ได้เป็นหัวหน้ารัฐบาลอยู่จนถึงวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ได้เป็นหัวหน้ายึดอำนาจรัฐล้มรัฐบาลตัวเองและรัฐธรรมนูญ นำประเทศกลับเข้าสู่ระบอบอำนาจนิยมโดยไม่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมเลือกผู้แทนราษฎร รัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นหลังรัฐประหารเต็มไปด้วยข่าวอื้อฉาวเกี่ยวกับการทุจริตของผู้นำระดับสูง และความแตกแยกในหมู่ผู้นำเกี่ยวกับต่ออายุราชการ ดังนั้นในเดือนตุลาคมจึงถูกนักศึกษาประชาชน เรียกร้องรัฐธรรมนูญอันนำไปสู่เหตุการณ์ “14 ตุลาคม 2516” ที่รัฐบาลสูญเสียความชอบธรรมจนหมดอำนาจลง ต้องเดินทางไปลี้ภัยที่ต่างประเทศ