ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานันดรสี่"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' รศ.ชุลีพร  เกษโกวิท
'''ผู้เรียบเรียง''' รศ.ชุลีพร  เกษโกวิทย์
 
----
 
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ศ.ดร. สุจิต บุญบงการ
 
----
----


== ฐานันดรที่ 4 ==
== ฐานันดรที่ 4 ==


คำว่า ฐานันดรที่ 4 หรือ The Fourth Estate ถูกเอ่ยขึ้นครั้งแรกเมื่อศตวรรษที่ 18 ในประเทศอังกฤษ


คำว่า ฐานันดรที่ 4 หรือ The Fourth Estate ถูกเอ่ยขึ้นครั้งแรกเมื่อศตวรรษที่ 18 ในประเทศอังกฤษ
สมัยก่อน ชาวยุโรปแบ่ง[[ฐานันดรศักดิ์]]ของคนออกมาเป็น 3 ฐานันดร คือ
สมัยก่อน ชาวยุโรปแบ่ง[[ฐานันดรศักดิ์]]ของคนออกมาเป็น 3 ฐานันดร คือ
ฐานันดรที่ 1ได้แก่[[กษัตริย์]] ขุนนาง และนักรบ
ฐานันดรที่ 1ได้แก่[[กษัตริย์]] ขุนนาง และนักรบ
ฐานันดรที่ 2ได้แก่บรรพชิต และผู้ทรงศีลทางศาสนจักร
ฐานันดรที่ 2ได้แก่บรรพชิต และผู้ทรงศีลทางศาสนจักร
ฐานันดรที่ 3ได้แก่ประชาชนธรรมดาทั่วไป
ฐานันดรที่ 3ได้แก่ประชาชนธรรมดาทั่วไป


[[รัฐสภา]]อังกฤษจะประกอบไปด้วยผู้แทนฐานันดรทั้ง 3 ดังกล่าว คือ ขุนนาง พระราชาคณะ และ[[ผู้แทนราษฎร]] ซึ่งได้รับการเลือกตั้งมาจากประชาชนธรรมดา
[[รัฐสภา]]อังกฤษจะประกอบไปด้วยผู้แทนฐานันดรทั้ง 3 ดังกล่าว คือ ขุนนาง พระราชาคณะ และ[[ผู้แทนราษฎร]] ซึ่งได้รับ[[การเลือกตั้ง]]มาจากประชาชนธรรมดา


ในการประชุมรัฐสภาอังกฤษคราวหนึ่ง  เอ็ดมันด์ เบอร์ค (Edmund Burke, 1729-1797) นักกฎหมาย นักเขียนและนักการเมือง ซึ่งกำลังยืนอภิปรายอยู่ ได้ชี้มือไปยังกลุ่มนักหนังสือพิมพ์ที่เข้าร่วมฟังการประชุมด้วย และได้กล่าวขึ้นว่า  “ในขณะที่เราทั้งหลายซึ่งเป็นฐานันดรใดฐานันดรหนึ่งทั้งสามฐานันดรกำลังประชุมกันอยู่นี้  ควรคำนึงไว้ด้วยว่า บัดนี้มีฐานันดรที่ 4 เกิดขึ้นแล้ว และฐานันดรนั้นกำลังนั่งฟังการประชุมของเราอยู่ ณ ที่นี้ด้วย”
ในการประชุมรัฐสภาอังกฤษคราวหนึ่ง  เอ็ดมันด์ เบอร์ค (Edmund Burke, 1729-1797) นักกฎหมาย นักเขียนและนักการเมือง ซึ่งกำลังยืนอภิปรายอยู่ ได้ชี้มือไปยังกลุ่มนักหนังสือพิมพ์ที่เข้าร่วมฟังการประชุมด้วย และได้กล่าวขึ้นว่า  “ในขณะที่เราทั้งหลายซึ่งเป็นฐานันดรใดฐานันดรหนึ่งทั้งสามฐานันดรกำลังประชุมกันอยู่นี้  ควรคำนึงไว้ด้วยว่า บัดนี้มีฐานันดรที่ 4 เกิดขึ้นแล้ว และฐานันดรนั้นกำลังนั่งฟังการประชุมของเราอยู่ ณ ที่นี้ด้วย”
นับแต่นั้นมา ผู้ที่เป็นนักหนังสือพิมพ์จึงถูกเรียว่า พวกฐานันดรที่ 4  ปัจจุบันความหมายของคำว่า ฐานันดรที่ 4 มิได้จำกัดอยู่แต่นักหนังสือพิมพ์เท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงสื่อมวลชนแขนงอื่น ๆ ด้วย
นับแต่นั้นมา ผู้ที่เป็นนักหนังสือพิมพ์จึงถูกเรียว่า พวกฐานันดรที่ 4  ปัจจุบันความหมายของคำว่า ฐานันดรที่ 4 มิได้จำกัดอยู่แต่นักหนังสือพิมพ์เท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงสื่อมวลชนแขนงอื่น ๆ ด้วย
[[หมวดหมู่: สารานุกรมการเมืองไทย]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:23, 30 พฤษภาคม 2555

ผู้เรียบเรียง รศ.ชุลีพร เกษโกวิทย์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ศ.ดร. สุจิต บุญบงการ


ฐานันดรที่ 4

คำว่า ฐานันดรที่ 4 หรือ The Fourth Estate ถูกเอ่ยขึ้นครั้งแรกเมื่อศตวรรษที่ 18 ในประเทศอังกฤษ

สมัยก่อน ชาวยุโรปแบ่งฐานันดรศักดิ์ของคนออกมาเป็น 3 ฐานันดร คือ

ฐานันดรที่ 1ได้แก่กษัตริย์ ขุนนาง และนักรบ

ฐานันดรที่ 2ได้แก่บรรพชิต และผู้ทรงศีลทางศาสนจักร

ฐานันดรที่ 3ได้แก่ประชาชนธรรมดาทั่วไป

รัฐสภาอังกฤษจะประกอบไปด้วยผู้แทนฐานันดรทั้ง 3 ดังกล่าว คือ ขุนนาง พระราชาคณะ และผู้แทนราษฎร ซึ่งได้รับการเลือกตั้งมาจากประชาชนธรรมดา

ในการประชุมรัฐสภาอังกฤษคราวหนึ่ง เอ็ดมันด์ เบอร์ค (Edmund Burke, 1729-1797) นักกฎหมาย นักเขียนและนักการเมือง ซึ่งกำลังยืนอภิปรายอยู่ ได้ชี้มือไปยังกลุ่มนักหนังสือพิมพ์ที่เข้าร่วมฟังการประชุมด้วย และได้กล่าวขึ้นว่า “ในขณะที่เราทั้งหลายซึ่งเป็นฐานันดรใดฐานันดรหนึ่งทั้งสามฐานันดรกำลังประชุมกันอยู่นี้ ควรคำนึงไว้ด้วยว่า บัดนี้มีฐานันดรที่ 4 เกิดขึ้นแล้ว และฐานันดรนั้นกำลังนั่งฟังการประชุมของเราอยู่ ณ ที่นี้ด้วย”

นับแต่นั้นมา ผู้ที่เป็นนักหนังสือพิมพ์จึงถูกเรียว่า พวกฐานันดรที่ 4 ปัจจุบันความหมายของคำว่า ฐานันดรที่ 4 มิได้จำกัดอยู่แต่นักหนังสือพิมพ์เท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงสื่อมวลชนแขนงอื่น ๆ ด้วย