ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 4 วันที่ 6 มกราคม 2489"
ล ครั้งที่ 4 วันที่ 6 มกราคม 2489 ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 8: | บรรทัดที่ 8: | ||
'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 4 วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2489''' | '''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 4 วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2489''' | ||
[[การเลือกตั้ง]]ครั้งที่สี่นี้เป็นการเลือกตั้งด้วยวิธีแบ่งเขต โดยประชาชนเป็น[[ผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎร]]ในเขตของตนเองโดยตรง มีเกณฑ์การคำนวณสัดส่วนผู้แทนราษฎรในแต่ละเขตคือ ประชาชนสองแสนคนต่อ[[ผู้แทนราษฎร]]หนึ่งคน เหตุที่มีการจัดการเลือกตั้งครั้งนี้ขึ้นเนื่องจากมี[[พระราชบัญญัติยุบสภา]]เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2488 ซึ่งเป็นการประกาศ[[ยุบสภา]]ครั้งที่สอง การเลือกตั้งครั้งนี้มีจำนวนผู้แทนราษฎรได้ทั้งหมด 96 คน | |||
ผลการเลือกตั้งพบว่า จากจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด | ผลการเลือกตั้งพบว่า จากจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด 6,431,827 คน มีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งจำนวน 2,091,788 คน คิดเป็นร้อยละ 32.52 ของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด จังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งมากที่สุดคือ จังหวัดบุรีรัมย์ คิดเป็นร้อยละ 54.65 และจังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งน้อยที่สุดคือ จังหวัดสุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ 13.40 | ||
การจัดการเลือกตั้งครั้งนี้เป็นไปตามบทบัญญัติ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475]] ซึ่งกำหนดให้[[ฝ่ายนิติบัญญัติ]]มี[[ระบบสภาเดียว]] แต่ในครั้งนี้มีพรรคการเมืองแข่งขันกันส่งสมาชิกพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งทั้งหมด 5 พรรค ได้แก่ พรรค[[สหชีพ]] พรรค[[แนวรัฐธรรมนูญ]] พรรค[[อิสระ]] พรรค[[ประชาธิปัตย์]] และพรรค[[ประชาชน]] | |||
---- | ---- |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:56, 24 สิงหาคม 2553
ผู้เรียบเรียง ชาย ไชยชิต
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 4 วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2489
การเลือกตั้งครั้งที่สี่นี้เป็นการเลือกตั้งด้วยวิธีแบ่งเขต โดยประชาชนเป็นผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรในเขตของตนเองโดยตรง มีเกณฑ์การคำนวณสัดส่วนผู้แทนราษฎรในแต่ละเขตคือ ประชาชนสองแสนคนต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน เหตุที่มีการจัดการเลือกตั้งครั้งนี้ขึ้นเนื่องจากมีพระราชบัญญัติยุบสภาเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2488 ซึ่งเป็นการประกาศยุบสภาครั้งที่สอง การเลือกตั้งครั้งนี้มีจำนวนผู้แทนราษฎรได้ทั้งหมด 96 คน
ผลการเลือกตั้งพบว่า จากจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด 6,431,827 คน มีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งจำนวน 2,091,788 คน คิดเป็นร้อยละ 32.52 ของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด จังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งมากที่สุดคือ จังหวัดบุรีรัมย์ คิดเป็นร้อยละ 54.65 และจังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งน้อยที่สุดคือ จังหวัดสุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ 13.40
การจัดการเลือกตั้งครั้งนี้เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ซึ่งกำหนดให้ฝ่ายนิติบัญญัติมีระบบสภาเดียว แต่ในครั้งนี้มีพรรคการเมืองแข่งขันกันส่งสมาชิกพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งทั้งหมด 5 พรรค ได้แก่ พรรคสหชีพ พรรคแนวรัฐธรรมนูญ พรรคอิสระ พรรคประชาธิปัตย์ และพรรคประชาชน
ที่มา
บุญทัน ดอกไธสง, การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารและการเมืองไทย, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2520
ฝ่ายพัฒนาการเมืองและการปกครอง สำนักนโยบายและแผนมหาดไทย, อนุสารการเมือง, มีนาคม 2522