ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสียงข้างมาก เสียงข้างน้อย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 5: บรรทัดที่ 5:
----
----


เสียงข้างมาก เสียงข้างน้อย มีความหมายในการแสดงความเห็นต่อเรื่องใดหนึ่ง   ซึ่งมีความสำคัญ โดยเฉพาะการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ประชาชน หรือสมาชิกทุกคนมีสิทธิ  ในการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระ เท่าเทียมกัน
เสียงข้างมาก เสียงข้างน้อย มีความหมายในการแสดงความเห็นต่อเรื่องใดหนึ่ง ซึ่งมีความสำคัญ โดยเฉพาะการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ประชาชน หรือสมาชิกทุกคนมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระเท่าเทียมกัน


==ความหมาย==
==ความหมาย==


เสียงข้างมากในระบอบประชาธิปไตย เป็นคะแนนเสียงที่สมาชิกใช้ลงมติ ที่มีมากเกินกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด<ref>เดโช สวนานนท์, '''พจนานุกรมศัพท์การเมือง,''' กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง, ๒๕๓๗, หน้า ๑๕๗-๑๕๙.</ref> หรือของจำนวนสมาชิกในที่ประชุมนั้น เพื่อวินิจฉัย หรือลงมติสนับสนุนเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง  
เสียงข้างมากในระบอบประชาธิปไตย เป็นคะแนนเสียงที่สมาชิกใช้ลงมติ ที่มีมากเกินกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด<ref>เดโช สวนานนท์, '''พจนานุกรมศัพท์การเมือง,''' กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง, 2537,หน้า 157-159.</ref> หรือของจำนวนสมาชิกในที่ประชุมนั้น เพื่อวินิจฉัย หรือลงมติสนับสนุนเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง  


เสียงข้างมาก (Majority)<ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, ๒๕๔๘, หน้า ๙๙๒-๙๙๔.</ref> หมายถึง เสียงข้างมากในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร             การประชุมวุฒิสภา และการประชุมคณะกรรมาธิการ   รวมทั้งเสียงข้างมากในการออกเสียงประชามติของประชาชน โดยเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎรมีความชอบธรรมตามรัฐธรรมนูญที่จะจัดตั้งรัฐบาลเพื่อบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตามที่ได้หาเสียงไว้กับประชาชนและตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้   และในส่วนของการตรากฎหมาย ก็ต้องอาศัยเสียงข้างมากใน                  สภาผู้แทนราษฎรเช่นเดียวกัน เพราะการลงมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติทุกครั้ง จะใช้          เสียงข้างมากเป็นเกณฑ์
เสียงข้างมาก (Majority)<ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548, หน้า 992-994.</ref> หมายถึง เสียงข้างมากในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา และการประชุมคณะกรรมาธิการ รวมทั้งเสียงข้างมากในการออกเสียงประชามติของประชาชน โดยเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎรมีความชอบธรรมตามรัฐธรรมนูญที่จะจัดตั้งรัฐบาลเพื่อบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตามที่ได้หาเสียงไว้กับประชาชนและตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ และในส่วนของการตรากฎหมาย ก็ต้องอาศัยเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎรเช่นเดียวกัน เพราะการลงมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติทุกครั้ง จะใช้เสียงข้างมากเป็นเกณฑ์


ทั้งนี้ ในรัฐสภาต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกาหรืออังกฤษ มีการกำหนดตำแหน่ง        ผู้นำฝ่ายเสียงข้างมาก (Majority Leader)<ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งที่ , กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, ๒๕๔๘, หน้า ๙๙๒-๙๙๔.</ref> ซึ่งในประเทศไทยไม่มีตำแหน่งนี้ มีเพียงประธาน        วิปรัฐบาล (Chief Whip) ทำหน้าที่ประสานงานทางการเมืองในฝ่ายพรรคร่วมรัฐบาล  เท่านั้น   
ทั้งนี้ ในรัฐสภาต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกาหรืออังกฤษ มีการกำหนดตำแหน่งผู้นำฝ่ายเสียงข้างมาก (Majority Leader)<ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548, หน้า 992-994.</ref> ซึ่งในประเทศไทยไม่มีตำแหน่งนี้ มีเพียงประธานวิปรัฐบาล (Chief Whip) ทำหน้าที่ประสานงานทางการเมืองในฝ่ายพรรคร่วมรัฐบาลเท่านั้น


เสียงข้างน้อย (Minority) <ref>เดโช สวนานนท์, '''พจนานุกรมศัพท์การเมือง,''' กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง, ๒๕๓๗, หน้า ๑๕๗-๑๕๙.</ref><ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งที่ , กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, ๒๕๔๘, หน้า ๙๙๒-๙๙๔.</ref>   หมายถึง เสียงข้างน้อยในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร         การประชุมวุฒิสภา การประชุมรัฐสภา และการประชุมคณะกรรมาธิการ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองที่ยึดเอาเสียงข้างมากเป็นหลัก แต่อย่างไรก็ตามเสียงข้างน้อย  ก็ใช่ว่าจะถูกละเลยหรือถูกมองข้ามไป
เสียงข้างน้อย (Minority) <ref>เดโช สวนานนท์, '''พจนานุกรมศัพท์การเมือง,''' กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง, 2537, หน้า 157-159.</ref><ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548, หน้า 992-994.</ref> หมายถึง เสียงข้างน้อยในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา การประชุมรัฐสภา และการประชุมคณะกรรมาธิการ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองที่ยึดเอาเสียงข้างมากเป็นหลัก แต่อย่างไรก็ตามเสียงข้างน้อยก็ใช่ว่าจะถูกละเลยหรือถูกมองข้ามไป


ในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ มีการกำหนดให้มี          ผู้นำเสียงข้างน้อย (Minority Leader)<ref>เดโช สวนานนท์, '''พจนานุกรมศัพท์การเมือง,''' กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง, ๒๕๓๗, หน้า ๑๕๗-๑๕๙.</ref> ซึ่งในประเทศไทย รัฐธรรมนูญบัญญัติให้ผู้นำเสียงข้างน้อย ดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (Leader of   the Opposition) เพื่อเป็นหลักในการตรวจสอบรัฐบาล  
ในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ มีการกำหนดให้มีผู้นำเสียงข้างน้อย (Minority Leader)<ref>เดโช สวนานนท์, '''พจนานุกรมศัพท์การเมือง,''' กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง, 2537, หน้า 157-159.</ref> ซึ่งในประเทศไทย รัฐธรรมนูญบัญญัติให้ผู้นำเสียงข้างน้อยดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (Leader of the Opposition) เพื่อเป็นหลักในการตรวจสอบรัฐบาล


นอกจากนี้ ในการประชุมคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา โดยเฉพาะ การประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่สอง  มติของคณะกรรมาธิการต้องมาจากกรรมาธิการเสียงข้างมากซึ่งรายงานต่อสภา แต่กรรมาธิการเสียงข้างน้อยที่แพ้การลงมติต่อกรรมาธิการเสียงข้างมาก   ก็ยังมีสิทธิที่จะสงวนข้อที่เห็นแตกต่างไปจากกรรมาธิการเสียงข้างมาก เพื่อให้ที่ประชุมสภาพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง และตัดสินใจในขั้นสุดท้ายได้ เพื่อดูว่าที่ประชุมจะ      เห็นด้วยกับกรรมาธิการเสียงข้างมาก หรือเห็นด้วยกับกรรมาธิการเสียงข้างน้อย     ข้อสงวนของกรรมาธิการเสียงข้างน้อยดังกล่าวนี้ เรียกว่า สงวนความเห็น <ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งที่ , กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, ๒๕๔๘, หน้า ๙๙๒-๙๙๔.</ref>   ซึ่งถือเป็นสิทธิของฝ่ายเสียงข้างน้อย (Minority Right)<ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ศัพท์รัฐสภา,''' พิมพ์ครั้งแรก, กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์, ๒๕๒๐, หน้า ๑๔๗-๑๔๘.</ref>
นอกจากนี้ ในการประชุมคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา โดยเฉพาะการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่สอง มติของคณะกรรมาธิการต้องมาจากกรรมาธิการเสียงข้างมากซึ่งรายงานต่อสภา แต่กรรมาธิการเสียงข้างน้อยที่แพ้การลงมติต่อกรรมาธิการเสียงข้างมาก ก็ยังมีสิทธิที่จะสงวนข้อที่เห็นแตกต่างไปจากกรรมาธิการเสียงข้างมาก เพื่อให้ที่ประชุมสภาพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง และตัดสินใจในขั้นสุดท้ายได้ เพื่อดูว่าที่ประชุมจะเห็นด้วยกับกรรมาธิการเสียงข้างมาก หรือเห็นด้วยกับกรรมาธิการเสียงข้างน้อย ข้อสงวนของกรรมาธิการเสียงข้างน้อยดังกล่าวนี้ เรียกว่า สงวนความเห็น <ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548, หน้า 992-994.</ref> ซึ่งถือเป็นสิทธิของฝ่ายเสียงข้างน้อย (Minority Right)<ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ศัพท์รัฐสภา,''' พิมพ์ครั้งแรก, กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์, 2520, หน้า 157-158.</ref>


==แนวคิดหลักการเสียงข้างมาก (Majority Rule) และหลักการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Minority Rights)==
==แนวคิดหลักการเสียงข้างมาก (Majority Rule) และหลักการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Minority Rights)==


ระบอบประชาธิปไตย เป็นการปกครองโดยประชาชนส่วนใหญ่ จึงให้ความสำคัญกับหลักการเสียงข้างมาก (Majority Rule) ในการตัดสินข้อขัดแย้งทุกระดับ<ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช, '''ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งแรก, กรุงเทพฯ: พิฆเณศ, ๒๕๑๙, หน้า ๑๗-๑๘.</ref> โดยหลักการเสียงข้างมากหมายความว่า การตัดสินใจใดๆ ของกลุ่มหรือคณะบุคคล     หลังจากที่ได้มีการปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นพอสมควรแล้ว ก็ให้ตัดสินเป็นข้อยุติโดยถือเสียงข้างมากเป็นเสียงชี้ขาด เพื่อให้สามารถดำเนินการเป็นรูปธรรมต่อไปได้<ref>วิสุทธิ์ โพธิแท่น, '''แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย,''' พิมพ์ครั้งที่ , กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, ๒๕๕๐, หน้า ๖๑-๖๓.</ref> เช่น การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ผู้สมัครรับเลือกตั้ง      ที่ได้รับคะแนนสูงสุดจะเป็นผู้ที่ได้รับเลือก      หรือในการออกเสียงประชามติ เรื่องที่มีผู้เห็นด้วยมากที่สุดจะได้รับการนำไปปฏิบัติ หรือกรณีการออกเสียงลงมติในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร     ก็จะใช้เสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ตัดสิน เป็นต้น<ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช, '''ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งแรก, กรุงเทพฯ: พิฆเณศ, ๒๕๑๙, หน้า ๑๗-๑๘.</ref>
ระบอบประชาธิปไตย เป็นการปกครองโดยประชาชนส่วนใหญ่ จึงให้ความสำคัญกับหลักการเสียงข้างมาก (Majority Rule) ในการตัดสินข้อขัดแย้งทุกระดับ<ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช, '''ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งแรก, กรุงเทพฯ : พิฆเณศ, 2519, หน้า 17-18.</ref> โดยหลักการเสียงข้างมากหมายความว่า การตัดสินใจใดๆ ของกลุ่มหรือคณะบุคคล หลังจากที่ได้มีการปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นพอสมควรแล้ว ก็ให้ตัดสินเป็นข้อยุติโดยถือเสียงข้างมากเป็นเสียงชี้ขาด เพื่อให้สามารถดำเนินการเป็นรูปธรรมต่อไปได้<ref>วิสุทธิ์ โพธิแท่น, '''แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย,''' พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2550, หน้า 61-63.</ref> เช่น การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ได้รับคะแนนสูงสุดจะเป็นผู้ที่ได้รับเลือก หรือในการออกเสียงประชามติ เรื่องที่มีผู้เห็นด้วยมากที่สุดจะได้รับการนำไปปฏิบัติ หรือกรณีการออกเสียงลงมติในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ก็จะใช้เสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ตัดสิน เป็นต้น<ref>ชัยอนันต์ สมุทวณิช, '''ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย,''' พิมพ์ครั้งแรก, กรุงเทพฯ : พิฆเณศ, 2519, หน้า 17-18.</ref>


อย่างไรก็ตาม หลักการเสียงข้างมาก (Majority Rule) ต้องดำเนินควบคู่ไปกับการเคารพ    ในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Minority Rights)<ref>วิสุทธิ์ โพธิแท่น, '''แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย,''' พิมพ์ครั้งที่ , กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, ๒๕๕๐, หน้า ๖๑-๖๓.</ref> ทั้งนี้ เพื่อเป็นหลักประกันว่าฝ่ายเสียงข้างมาก      จะไม่ใช้วิธีการใดๆ ที่เห็นแก่ผลประโยชน์ของกลุ่มพวกพ้องตน แต่ต้องดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประชาชนทั้งหมด เพื่อสร้างสังคมทุกฝ่ายสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข โดยฝ่ายเสียง      ข้างน้อย (Minority Right) จะต้องได้รับความคุ้มครอง ขณะที่ต้องยอมรับฟังจากเสียงส่วนใหญ่ไปพร้อมๆ กัน ทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นในสังคม  
อย่างไรก็ตาม หลักการเสียงข้างมาก (Majority Rule) ต้องดำเนินควบคู่ไปกับการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Minority Rights)<ref>วิสุทธิ์ โพธิแท่น, '''แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย,''' พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2550, หน้า 61-63.</ref> ทั้งนี้ เพื่อเป็นหลักประกันว่าฝ่ายเสียงข้างมากจะไม่ใช้วิธีการใดๆ ที่เห็นแก่ผลประโยชน์ของกลุ่มพวกพ้องตน แต่ต้องดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประชาชนทั้งหมด เพื่อสร้างสังคมทุกฝ่ายสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข โดยฝ่ายเสียงข้างน้อย (Minority Right) จะต้องได้รับความคุ้มครอง ขณะที่ต้องยอมรับฟังจากเสียงส่วนใหญ่ไปพร้อมๆ กัน ทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นในสังคม  


==บทบัญญัติเกี่ยวกับเสียงข้างมาก ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ ๔๗ ก เล่ม ๑๒๔, วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐, หน้า .</ref>==
==บทบัญญัติเกี่ยวกับเสียงข้างมาก ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 47 ก เล่ม 124, วันที่ 24 สิงหาคม 2550, หน้า 1.</ref>==


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๑๐ ได้บัญญัติเกี่ยวกับเสียงข้างมากไว้หลายมาตรา โดยส่วนใหญ่จะใช้เสียงข้างมากในการลงมติ วินิจฉัยข้อปรึกษา หรือการวินิจฉัยชี้ขาด ดังปรากฏในมาตรา ๑๒๖, มาตรา ๑๔๐ , มาตรา ๑๔๓, มาตรา ๑๖๕, มาตรา ๒๑๖, มาตรา ๒๗๘ และ มาตรา ๒๙๑ ดังนี้<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ ๔๗ ก เล่ม ๑๒๔, วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐, หน้า .</ref>
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 110 ได้บัญญัติเกี่ยวกับเสียงข้างมากไว้หลายมาตรา โดยส่วนใหญ่จะใช้เสียงข้างมากในการลงมติ วินิจฉัยข้อปรึกษา หรือการวินิจฉัยชี้ขาด ดังปรากฏในมาตรา 126, มาตรา 140, มาตรา 143, มาตรา 165, มาตรา 216, มาตรา 278 และ มาตรา 291 ดังนี้<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. '''ราชกิจจานุเบกษา''' ตอนที่ 47 ก เล่ม 124, วันที่ 24 สิงหาคม 2550, หน้า 1.</ref>


  '''มาตรา ๑๒๖ ''' การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีการพิจารณาระเบียบวาระกระทู้ถามตามมาตรา ๑๕๖ และมาตรา ๑๕๗ สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาจะกำหนดเรื่ององค์ประชุมไว้ในข้อบังคับเป็นอย่างอื่นก็ได้
'''มาตรา 126''' การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีการพิจารณาระเบียบวาระกระทู้ถามตามมาตรา 156 และมาตรา 157 สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาจะกำหนดเรื่ององค์ประชุมไว้ในข้อบังคับเป็นอย่างอื่นก็ได้


การลงมติวินิจฉัยข้อปรึกษาให้ถือเอา'''เสียงข้างมาก'''เป็นประมาณ เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้        เป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้
การลงมติวินิจฉัยข้อปรึกษาให้ถือเอา'''เสียงข้างมาก'''เป็นประมาณ เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้


สมาชิกคนหนึ่งย่อมมีเสียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนน ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากัน         ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
สมาชิกคนหนึ่งย่อมมีเสียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนน ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด


ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานวุฒิสภา ต้องจัดให้มีการบันทึก การออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกแต่ละคน และเปิดเผยบันทึกดังกล่าวไว้ในที่ที่ประชาชนอาจ  เข้าไป ตรวจสอบได้ เว้นแต่กรณีการออกเสียงลงคะแนนเป็นการลับ
ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานวุฒิสภา ต้องจัดให้มีการบันทึก การออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกแต่ละคน และเปิดเผยบันทึกดังกล่าวไว้ในที่ที่ประชาชนอาจเข้าไปตรวจสอบได้ เว้นแต่กรณีการออกเสียงลงคะแนนเป็นการลับ


การออกเสียงลงคะแนนเลือกหรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งใด ให้กระทำ เป็นการลับ เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้ และสมาชิกย่อมมีอิสระและไม่ถูกผูกพันโดยมติของพรรคการเมืองหรืออาณัติอื่นใด
การออกเสียงลงคะแนนเลือกหรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งใด ให้กระทำ เป็นการลับ เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้ และสมาชิกย่อมมีอิสระและไม่ถูกผูกพันโดยมติของพรรคการเมืองหรืออาณัติอื่นใด


'''มาตรา ๑๔๐''' การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาให้กระทำเป็นสามวาระ ดังต่อไปนี้
'''มาตรา 140''' การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาให้กระทำเป็นสามวาระ ดังต่อไปนี้


() การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ และในวาระที่สองขั้นพิจารณา เรียงลำดับมาตรา ให้ถือ'''เสียงข้างมาก'''ของแต่ละสภา
(1) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ และในวาระที่สองขั้นพิจารณา เรียงลำดับมาตรา ให้ถือ'''เสียงข้างมาก'''ของแต่ละสภา
(๒) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สาม ต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ ออกใช้เป็นพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่    มีอยู่ของแต่ละสภา


ให้นำบทบัญญัติในหมวด ๖ ส่วนที่ ๗ การตราพระราชบัญญัติ มาใช้บังคับกับ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญด้วยโดยอนุโลม
(2) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สาม ต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ ออกใช้เป็นพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา


'''มาตรา ๑๔๓'''  ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน หมายความถึงร่างพระราชบัญญัติ ว่าด้วยเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ดังต่อไปนี้
ให้นำบทบัญญัติในหมวด 6 ส่วนที่ 7 การตราพระราชบัญญัติ มาใช้บังคับกับ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญด้วยโดยอนุโลม


(๑) การตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข ผ่อน หรือวางระเบียบการบังคับอันเกี่ยวกับภาษีหรืออากร
'''มาตรา 143''' ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน หมายความถึงร่างพระราชบัญญัติ ว่าด้วยเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ดังต่อไปนี้


() การจัดสรร รับ รักษา หรือจ่ายเงินแผ่นดิน หรือการโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน
(1) การตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข ผ่อน หรือวางระเบียบการบังคับอันเกี่ยวกับภาษีหรืออากร


() การกู้เงิน การค้ำประกัน การใช้เงินกู้ หรือการดำเนินการที่ผูกพันทรัพย์สินของรัฐ
(2) การจัดสรร รับ รักษา หรือจ่ายเงินแผ่นดิน หรือการโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน


() เงินตรา
(3) การกู้เงิน การค้ำประกัน การใช้เงินกู้ หรือการดำเนินการที่ผูกพันทรัพย์สินของรัฐ
 
(4) เงินตรา


ในกรณีที่เป็นที่สงสัยว่าร่างพระราชบัญญัติใดเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินที่จะต้องมีคำรับรองของนายกรัฐมนตรีหรือไม่ ให้เป็นอำนาจของที่ประชุมร่วมกันของประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานคณะกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎรทุกคณะเป็นผู้วินิจฉัย
ในกรณีที่เป็นที่สงสัยว่าร่างพระราชบัญญัติใดเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินที่จะต้องมีคำรับรองของนายกรัฐมนตรีหรือไม่ ให้เป็นอำนาจของที่ประชุมร่วมกันของประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานคณะกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎรทุกคณะเป็นผู้วินิจฉัย
บรรทัดที่ 64: บรรทัดที่ 65:
มติของที่ประชุมร่วมกันตามวรรคสองให้ใช้'''เสียงข้างมาก'''เป็นประมาณ ถ้าคะแนนเสียง เท่ากัน ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
มติของที่ประชุมร่วมกันตามวรรคสองให้ใช้'''เสียงข้างมาก'''เป็นประมาณ ถ้าคะแนนเสียง เท่ากัน ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด


'''มาตรา ๑๖๕''' ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งย่อมมีสิทธิออกเสียงประชามติ  
'''มาตรา 165''' ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งย่อมมีสิทธิออกเสียงประชามติ  


การจัดให้มีการออกเสียงประชามติให้กระทำได้ในเหตุ ดังต่อไปนี้
การจัดให้มีการออกเสียงประชามติให้กระทำได้ในเหตุ ดังต่อไปนี้


() ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นว่ากิจการในเรื่องใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีอาจปรึกษาประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้มีการออกเสียงประชามติได้
(1) ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นว่ากิจการในเรื่องใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีอาจปรึกษาประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้มีการออกเสียงประชามติได้


() ในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติให้มีการออกเสียงประชามติ
(2) ในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติให้มีการออกเสียงประชามติ


การออกเสียงประชามติตาม () หรือ () อาจจัดให้เป็นการออกเสียงเพื่อมีข้อยุติ โดย   '''เสียงข้างมาก'''ของผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติในปัญหาที่จัดให้มีการออกเสียงประชามติ หรือเป็นการออกเสียงเพื่อให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีก็ได้ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นการเฉพาะ
การออกเสียงประชามติตาม (1) หรือ (2) อาจจัดให้เป็นการออกเสียงเพื่อมีข้อยุติ โดย'''เสียงข้างมาก'''ของผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติในปัญหาที่จัดให้มีการออกเสียงประชามติ หรือเป็นการออกเสียงเพื่อให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีก็ได้ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นการเฉพาะ


การออกเสียงประชามติต้องเป็นการให้ออกเสียงเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในกิจการตามที่จัดให้มีการออกเสียงประชามติ และการจัดการออกเสียงประชามติในเรื่องที่ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญหรือเกี่ยวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคล จะกระทำมิได้
การออกเสียงประชามติต้องเป็นการให้ออกเสียงเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในกิจการตามที่จัดให้มีการออกเสียงประชามติ และการจัดการออกเสียงประชามติในเรื่องที่ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญหรือเกี่ยวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคล จะกระทำมิได้
บรรทัดที่ 80: บรรทัดที่ 81:
หลักเกณฑ์และวิธีการออกเสียงประชามติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ ซึ่งอย่างน้อยต้องกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการออกเสียง ประชามติ ระยะเวลาในการดำเนินการ และจำนวนเสียงประชามติ เพื่อมีข้อยุติ
หลักเกณฑ์และวิธีการออกเสียงประชามติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ ซึ่งอย่างน้อยต้องกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการออกเสียง ประชามติ ระยะเวลาในการดำเนินการ และจำนวนเสียงประชามติ เพื่อมีข้อยุติ


'''มาตรา ๒๑๖ ''' องค์คณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในการนั่งพิจารณาและในการทำคำวินิจฉัย ต้องประกอบด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไม่น้อยกว่าห้าคน คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ให้ถือ'''เสียงข้างมาก''' เว้นแต่จะมีบัญญัติเป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้
'''มาตรา 216 ''' องค์คณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในการนั่งพิจารณาและในการทำคำวินิจฉัย ต้องประกอบด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไม่น้อยกว่าห้าคน คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ให้ถือ'''เสียงข้างมาก''' เว้นแต่จะมีบัญญัติเป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้


ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นองค์คณะทุกคนจะต้องทำความเห็นในการวินิจฉัยในส่วนของตนพร้อมแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นองค์คณะทุกคนจะต้องทำความเห็นในการวินิจฉัยในส่วนของตนพร้อมแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ
บรรทัดที่ 92: บรรทัดที่ 93:
วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ


'''มาตรา ๒๗๘''' การพิพากษาคดีให้ถือ'''เสียงข้างมาก''' โดยผู้พิพากษาซึ่งเป็นองค์คณะทุกคน ต้องทำความเห็นในการวินิจฉัยคดีเป็นหนังสือพร้อมทั้งต้องแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ
'''มาตรา 278''' การพิพากษาคดีให้ถือ'''เสียงข้างมาก''' โดยผู้พิพากษาซึ่งเป็นองค์คณะทุกคน ต้องทำความเห็นในการวินิจฉัยคดีเป็นหนังสือพร้อมทั้งต้องแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ


คำสั่งและคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองให้เปิดเผยและเป็นที่สุด เว้นแต่เป็นกรณีตามวรรคสาม
คำสั่งและคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองให้เปิดเผยและเป็นที่สุด เว้นแต่เป็นกรณีตามวรรคสาม
บรรทัดที่ 100: บรรทัดที่ 101:
หลักเกณฑ์การยื่นอุทธรณ์และการพิจารณาวินิจฉัยของที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา ให้เป็นไป ตามระเบียบที่ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกากำหนด
หลักเกณฑ์การยื่นอุทธรณ์และการพิจารณาวินิจฉัยของที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา ให้เป็นไป ตามระเบียบที่ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกากำหนด


'''มาตรา ๒๙๑''' การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้
'''มาตรา 291''' การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้


() ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
(1) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย


ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้


() ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภา พิจารณาเป็นสามวาระ
(2) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภา พิจารณาเป็นสามวาระ


() การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(3) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา


() การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟัง ความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
(4) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟัง ความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย


การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ


() เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(5) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป


() การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(6) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา


() เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับ โดยอนุโลม
(7) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา 150 และมาตรา 151 มาใช้บังคับ โดยอนุโลม


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัดที่ 126: บรรทัดที่ 127:
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==


คณิน บุญสุวรรณ. (๒๕๒๐). ศัพท์รัฐสภา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.
คณิน บุญสุวรรณ. (2520). ศัพท์รัฐสภา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์.


คณิน บุญสุวรรณ. (๒๕๔๘). ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ . กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.
คณิน บุญสุวรรณ. (2548). ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.


ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (๒๕๑๙). ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2519). ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ : พิฆเณศ.


เดโช สวนานนท์. (๒๕๓๗). พจนานุกรมศัพท์การเมือง. กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง.
เดโช สวนานนท์. (2537). พจนานุกรมศัพท์การเมือง. กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง.


วิสุทธิ์ โพธิแท่น. (๒๕๕๐). แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย, พิมพ์ครั้งที่ , กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
วิสุทธิ์ โพธิแท่น. (2550). แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.


==บรรณานุกรม==
==บรรณานุกรม==


คณิน บุญสุวรรณ. (๒๕๒๐). ศัพท์รัฐสภา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.
คณิน บุญสุวรรณ. (2520). ศัพท์รัฐสภา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์.


คณิน บุญสุวรรณ. (๒๕๓๓). ภาษาการเมืองในระบอบรัฐสภา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
คณิน บุญสุวรรณ. (2533). ภาษาการเมืองในระบอบรัฐสภา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.


ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (๒๕๑๙). ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2519). ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ : พิฆเณศ.


เดโช สวนานนท์. (๒๕๓๗). พจนานุกรมศัพท์การเมือง. กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง.
เดโช สวนานนท์. (2537). พจนานุกรมศัพท์การเมือง. กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง.


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๔๗ ก เล่ม ๑๒๔. วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 47 ก เล่ม 124. วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550.


วิสุทธิ์ โพธิแท่น. (๒๕๕๐). แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย, พิมพ์ครั้งที่ , กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
วิสุทธิ์ โพธิแท่น. (2550). แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.


[[category:ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาไทย]]
[[category:ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:00, 25 กันยายน 2552

ผู้เรียบเรียง ศุภพรรัตน์ สุขพุ่ม

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


เสียงข้างมาก เสียงข้างน้อย มีความหมายในการแสดงความเห็นต่อเรื่องใดหนึ่ง ซึ่งมีความสำคัญ โดยเฉพาะการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ประชาชน หรือสมาชิกทุกคนมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระเท่าเทียมกัน

ความหมาย

เสียงข้างมากในระบอบประชาธิปไตย เป็นคะแนนเสียงที่สมาชิกใช้ลงมติ ที่มีมากเกินกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด[1] หรือของจำนวนสมาชิกในที่ประชุมนั้น เพื่อวินิจฉัย หรือลงมติสนับสนุนเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

เสียงข้างมาก (Majority)[2] หมายถึง เสียงข้างมากในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา และการประชุมคณะกรรมาธิการ รวมทั้งเสียงข้างมากในการออกเสียงประชามติของประชาชน โดยเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎรมีความชอบธรรมตามรัฐธรรมนูญที่จะจัดตั้งรัฐบาลเพื่อบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตามที่ได้หาเสียงไว้กับประชาชนและตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ และในส่วนของการตรากฎหมาย ก็ต้องอาศัยเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎรเช่นเดียวกัน เพราะการลงมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติทุกครั้ง จะใช้เสียงข้างมากเป็นเกณฑ์

ทั้งนี้ ในรัฐสภาต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกาหรืออังกฤษ มีการกำหนดตำแหน่งผู้นำฝ่ายเสียงข้างมาก (Majority Leader)[3] ซึ่งในประเทศไทยไม่มีตำแหน่งนี้ มีเพียงประธานวิปรัฐบาล (Chief Whip) ทำหน้าที่ประสานงานทางการเมืองในฝ่ายพรรคร่วมรัฐบาลเท่านั้น

เสียงข้างน้อย (Minority) [4][5] หมายถึง เสียงข้างน้อยในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา การประชุมรัฐสภา และการประชุมคณะกรรมาธิการ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองที่ยึดเอาเสียงข้างมากเป็นหลัก แต่อย่างไรก็ตามเสียงข้างน้อยก็ใช่ว่าจะถูกละเลยหรือถูกมองข้ามไป

ในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ มีการกำหนดให้มีผู้นำเสียงข้างน้อย (Minority Leader)[6] ซึ่งในประเทศไทย รัฐธรรมนูญบัญญัติให้ผู้นำเสียงข้างน้อยดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (Leader of the Opposition) เพื่อเป็นหลักในการตรวจสอบรัฐบาล

นอกจากนี้ ในการประชุมคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา โดยเฉพาะการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่สอง มติของคณะกรรมาธิการต้องมาจากกรรมาธิการเสียงข้างมากซึ่งรายงานต่อสภา แต่กรรมาธิการเสียงข้างน้อยที่แพ้การลงมติต่อกรรมาธิการเสียงข้างมาก ก็ยังมีสิทธิที่จะสงวนข้อที่เห็นแตกต่างไปจากกรรมาธิการเสียงข้างมาก เพื่อให้ที่ประชุมสภาพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง และตัดสินใจในขั้นสุดท้ายได้ เพื่อดูว่าที่ประชุมจะเห็นด้วยกับกรรมาธิการเสียงข้างมาก หรือเห็นด้วยกับกรรมาธิการเสียงข้างน้อย ข้อสงวนของกรรมาธิการเสียงข้างน้อยดังกล่าวนี้ เรียกว่า สงวนความเห็น [7] ซึ่งถือเป็นสิทธิของฝ่ายเสียงข้างน้อย (Minority Right)[8]

แนวคิดหลักการเสียงข้างมาก (Majority Rule) และหลักการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Minority Rights)

ระบอบประชาธิปไตย เป็นการปกครองโดยประชาชนส่วนใหญ่ จึงให้ความสำคัญกับหลักการเสียงข้างมาก (Majority Rule) ในการตัดสินข้อขัดแย้งทุกระดับ[9] โดยหลักการเสียงข้างมากหมายความว่า การตัดสินใจใดๆ ของกลุ่มหรือคณะบุคคล หลังจากที่ได้มีการปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นพอสมควรแล้ว ก็ให้ตัดสินเป็นข้อยุติโดยถือเสียงข้างมากเป็นเสียงชี้ขาด เพื่อให้สามารถดำเนินการเป็นรูปธรรมต่อไปได้[10] เช่น การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ได้รับคะแนนสูงสุดจะเป็นผู้ที่ได้รับเลือก หรือในการออกเสียงประชามติ เรื่องที่มีผู้เห็นด้วยมากที่สุดจะได้รับการนำไปปฏิบัติ หรือกรณีการออกเสียงลงมติในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ก็จะใช้เสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ตัดสิน เป็นต้น[11]

อย่างไรก็ตาม หลักการเสียงข้างมาก (Majority Rule) ต้องดำเนินควบคู่ไปกับการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Minority Rights)[12] ทั้งนี้ เพื่อเป็นหลักประกันว่าฝ่ายเสียงข้างมากจะไม่ใช้วิธีการใดๆ ที่เห็นแก่ผลประโยชน์ของกลุ่มพวกพ้องตน แต่ต้องดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประชาชนทั้งหมด เพื่อสร้างสังคมทุกฝ่ายสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข โดยฝ่ายเสียงข้างน้อย (Minority Right) จะต้องได้รับความคุ้มครอง ขณะที่ต้องยอมรับฟังจากเสียงส่วนใหญ่ไปพร้อมๆ กัน ทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นในสังคม

บทบัญญัติเกี่ยวกับเสียงข้างมาก ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550[13]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 110 ได้บัญญัติเกี่ยวกับเสียงข้างมากไว้หลายมาตรา โดยส่วนใหญ่จะใช้เสียงข้างมากในการลงมติ วินิจฉัยข้อปรึกษา หรือการวินิจฉัยชี้ขาด ดังปรากฏในมาตรา 126, มาตรา 140, มาตรา 143, มาตรา 165, มาตรา 216, มาตรา 278 และ มาตรา 291 ดังนี้[14]

มาตรา 126 การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีการพิจารณาระเบียบวาระกระทู้ถามตามมาตรา 156 และมาตรา 157 สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาจะกำหนดเรื่ององค์ประชุมไว้ในข้อบังคับเป็นอย่างอื่นก็ได้

การลงมติวินิจฉัยข้อปรึกษาให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้

สมาชิกคนหนึ่งย่อมมีเสียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนน ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด

ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานวุฒิสภา ต้องจัดให้มีการบันทึก การออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกแต่ละคน และเปิดเผยบันทึกดังกล่าวไว้ในที่ที่ประชาชนอาจเข้าไปตรวจสอบได้ เว้นแต่กรณีการออกเสียงลงคะแนนเป็นการลับ

การออกเสียงลงคะแนนเลือกหรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งใด ให้กระทำ เป็นการลับ เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้ และสมาชิกย่อมมีอิสระและไม่ถูกผูกพันโดยมติของพรรคการเมืองหรืออาณัติอื่นใด

มาตรา 140 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาให้กระทำเป็นสามวาระ ดังต่อไปนี้

(1) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ และในวาระที่สองขั้นพิจารณา เรียงลำดับมาตรา ให้ถือเสียงข้างมากของแต่ละสภา

(2) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สาม ต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ ออกใช้เป็นพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา

ให้นำบทบัญญัติในหมวด 6 ส่วนที่ 7 การตราพระราชบัญญัติ มาใช้บังคับกับ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญด้วยโดยอนุโลม

มาตรา 143 ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน หมายความถึงร่างพระราชบัญญัติ ว่าด้วยเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ดังต่อไปนี้

(1) การตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข ผ่อน หรือวางระเบียบการบังคับอันเกี่ยวกับภาษีหรืออากร

(2) การจัดสรร รับ รักษา หรือจ่ายเงินแผ่นดิน หรือการโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน

(3) การกู้เงิน การค้ำประกัน การใช้เงินกู้ หรือการดำเนินการที่ผูกพันทรัพย์สินของรัฐ

(4) เงินตรา

ในกรณีที่เป็นที่สงสัยว่าร่างพระราชบัญญัติใดเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินที่จะต้องมีคำรับรองของนายกรัฐมนตรีหรือไม่ ให้เป็นอำนาจของที่ประชุมร่วมกันของประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานคณะกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎรทุกคณะเป็นผู้วินิจฉัย

ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้มีการประชุมร่วมกันเพื่อพิจารณากรณีตามวรรคสอง ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีกรณีดังกล่าว

มติของที่ประชุมร่วมกันตามวรรคสองให้ใช้เสียงข้างมากเป็นประมาณ ถ้าคะแนนเสียง เท่ากัน ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด

มาตรา 165 ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งย่อมมีสิทธิออกเสียงประชามติ

การจัดให้มีการออกเสียงประชามติให้กระทำได้ในเหตุ ดังต่อไปนี้

(1) ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นว่ากิจการในเรื่องใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีอาจปรึกษาประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้มีการออกเสียงประชามติได้

(2) ในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติให้มีการออกเสียงประชามติ

การออกเสียงประชามติตาม (1) หรือ (2) อาจจัดให้เป็นการออกเสียงเพื่อมีข้อยุติ โดยเสียงข้างมากของผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติในปัญหาที่จัดให้มีการออกเสียงประชามติ หรือเป็นการออกเสียงเพื่อให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีก็ได้ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นการเฉพาะ

การออกเสียงประชามติต้องเป็นการให้ออกเสียงเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในกิจการตามที่จัดให้มีการออกเสียงประชามติ และการจัดการออกเสียงประชามติในเรื่องที่ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญหรือเกี่ยวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคล จะกระทำมิได้

ก่อนการออกเสียงประชามติ รัฐต้องดำเนินการให้ข้อมูลอย่างเพียงพอ และให้บุคคลฝ่ายที่เห็นชอบและไม่เห็นชอบกับกิจการนั้น มีโอกาสแสดงความคิดเห็นของตนได้อย่างเท่าเทียมกัน

หลักเกณฑ์และวิธีการออกเสียงประชามติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ ซึ่งอย่างน้อยต้องกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการออกเสียง ประชามติ ระยะเวลาในการดำเนินการ และจำนวนเสียงประชามติ เพื่อมีข้อยุติ

มาตรา 216 องค์คณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในการนั่งพิจารณาและในการทำคำวินิจฉัย ต้องประกอบด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไม่น้อยกว่าห้าคน คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ให้ถือเสียงข้างมาก เว้นแต่จะมีบัญญัติเป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นองค์คณะทุกคนจะต้องทำความเห็นในการวินิจฉัยในส่วนของตนพร้อมแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญและความเห็นในการวินิจฉัยของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทุกคน ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญอย่างน้อยต้องประกอบด้วยความเป็นมาหรือคำกล่าวหา สรุปข้อเท็จจริงที่ได้มาจากการพิจารณา เหตุผลในการวินิจฉัยในปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่ยกขึ้นอ้างอิง

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นเด็ดขาด มีผลผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองค์กรอื่นของรัฐ

วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ

มาตรา 278 การพิพากษาคดีให้ถือเสียงข้างมาก โดยผู้พิพากษาซึ่งเป็นองค์คณะทุกคน ต้องทำความเห็นในการวินิจฉัยคดีเป็นหนังสือพร้อมทั้งต้องแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุมก่อนการลงมติ

คำสั่งและคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองให้เปิดเผยและเป็นที่สุด เว้นแต่เป็นกรณีตามวรรคสาม

ในกรณีที่ผู้ต้องคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีพยานหลักฐานใหม่ ซึ่งอาจทำให้ข้อเท็จจริงเปลี่ยนแปลงไปในสาระสำคัญ อาจยื่นอุทธรณ์ต่อที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีคำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้

หลักเกณฑ์การยื่นอุทธรณ์และการพิจารณาวินิจฉัยของที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา ให้เป็นไป ตามระเบียบที่ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกากำหนด

มาตรา 291 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้

(1) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย

ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้

(2) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภา พิจารณาเป็นสามวาระ

(3) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา

(4) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟัง ความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย

การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ

(5) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป

(6) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา

(7) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา 150 และมาตรา 151 มาใช้บังคับ โดยอนุโลม

อ้างอิง

  1. เดโช สวนานนท์, พจนานุกรมศัพท์การเมือง, กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง, 2537,หน้า 157-159.
  2. คณิน บุญสุวรรณ, ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548, หน้า 992-994.
  3. คณิน บุญสุวรรณ, ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548, หน้า 992-994.
  4. เดโช สวนานนท์, พจนานุกรมศัพท์การเมือง, กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง, 2537, หน้า 157-159.
  5. คณิน บุญสุวรรณ, ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548, หน้า 992-994.
  6. เดโช สวนานนท์, พจนานุกรมศัพท์การเมือง, กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง, 2537, หน้า 157-159.
  7. คณิน บุญสุวรรณ, ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548, หน้า 992-994.
  8. คณิน บุญสุวรรณ, ศัพท์รัฐสภา, พิมพ์ครั้งแรก, กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์, 2520, หน้า 157-158.
  9. ชัยอนันต์ สมุทวณิช, ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย, พิมพ์ครั้งแรก, กรุงเทพฯ : พิฆเณศ, 2519, หน้า 17-18.
  10. วิสุทธิ์ โพธิแท่น, แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2550, หน้า 61-63.
  11. ชัยอนันต์ สมุทวณิช, ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย, พิมพ์ครั้งแรก, กรุงเทพฯ : พิฆเณศ, 2519, หน้า 17-18.
  12. วิสุทธิ์ โพธิแท่น, แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2550, หน้า 61-63.
  13. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 47 ก เล่ม 124, วันที่ 24 สิงหาคม 2550, หน้า 1.
  14. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 47 ก เล่ม 124, วันที่ 24 สิงหาคม 2550, หน้า 1.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

คณิน บุญสุวรรณ. (2520). ศัพท์รัฐสภา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์.

คณิน บุญสุวรรณ. (2548). ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2519). ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ : พิฆเณศ.

เดโช สวนานนท์. (2537). พจนานุกรมศัพท์การเมือง. กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง.

วิสุทธิ์ โพธิแท่น. (2550). แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.

บรรณานุกรม

คณิน บุญสุวรรณ. (2520). ศัพท์รัฐสภา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์.

คณิน บุญสุวรรณ. (2533). ภาษาการเมืองในระบอบรัฐสภา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2519). ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ : พิฆเณศ.

เดโช สวนานนท์. (2537). พจนานุกรมศัพท์การเมือง. กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 47 ก เล่ม 124. วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550.

วิสุทธิ์ โพธิแท่น. (2550). แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.