ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
==ชาตะ==
==ชาตะ==


เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี มีนามเดิมว่า สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เกิดที่บ้านหลังศาลเจ้าหัวเม็ด ตำบลสะพานหัน จังหวัดพระนคร (กรุงเทพมหานคร) เมื่อวันที่ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๑๙ ตรงกับวันจันทร์ เดือนยี่ แรม ค่ำ ปีชวด เป็นบุตรคนที่ ๑๘ จากบุตร - ธิดา จำนวนพี่น้อง ๓๒ คน ของพระยาไชยสุรินทร์ (หม่อมหลวง เจียม เทพหัสดิน ณ อยุธยา) เสนาบดีกระทรวงเกษตรและพระคลัง ในสมัยรัชกาลที่ แต่เป็นบุตรคนโตของมารดาชื่ออยู่ สืบสกุลจากพระยาราชภักดี (หม่อมราชวงศ์ ช้าง เทพหัสดิน) ผู้เป็นบุตรหม่อมเจ้าฉิมในพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์ โอรสองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอองค์น้อยในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑  เมื่ออายุได้ ปี บิดาก็ถึงแก่อนิจกรรม ชีวิตของท่านจึงผกผันจากการเป็นครอบครัวคนชั้นสูง จากการเป็นบุตรเสนาบดี ฐานะครอบครัวตกต่ำลง ต้องมาช่วยมารดาทำสวน ค้าขายและหารายได้ทางเย็บปักถักร้อย คือ รับจ้างเย็บรังดุมตั้งแต่ยังเด็ก ความยากลำบากทำให้ท่านมีความอดทนไม่ท้อถอยและมีอุปนิสัยอ่อนโยน มัธยัสถ์ ซึ่งเป็นสิ่งเกื้อหนุนให้ท่านมีความเจริญรุ่งเรืองในการศึกษาและการทำงาน<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, '''เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี(สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา),''' (ออนไลน์), http://th.wikipedia.org/wiki. (กันยายน ๒๕๕๒).</ref>
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี มีนามเดิมว่า สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เกิดที่บ้านหลังศาลเจ้าหัวเม็ด ตำบลสะพานหัน จังหวัดพระนคร (กรุงเทพมหานคร) เมื่อวันที่ 1 มกราคม พุทธศักราช 2419 ตรงกับวันจันทร์ เดือนยี่ แรม 2 ค่ำ ปีชวด เป็นบุตรคนที่ 18 จากบุตร - ธิดา จำนวนพี่น้อง 32 คน ของพระยาไชยสุรินทร์ (หม่อมหลวง เจียม เทพหัสดิน ณ อยุธยา) เสนาบดีกระทรวงเกษตรและพระคลัง ในสมัยรัชกาลที่ 5 แต่เป็นบุตรคนโตของมารดาชื่ออยู่ สืบสกุลจากพระยาราชภักดี (หม่อมราชวงศ์ ช้าง เทพหัสดิน) ผู้เป็นบุตรหม่อมเจ้าฉิมในพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์ โอรสองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอองค์น้อยในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 เมื่ออายุได้ 8 ปี บิดาก็ถึงแก่อนิจกรรม ชีวิตของท่านจึงผกผันจากการเป็นครอบครัวคนชั้นสูง จากการเป็นบุตรเสนาบดี ฐานะครอบครัวตกต่ำลง ต้องมาช่วยมารดาทำสวน ค้าขายและหารายได้ทางเย็บปักถักร้อย คือ รับจ้างเย็บรังดุมตั้งแต่ยังเด็ก ความยากลำบากทำให้ท่านมีความอดทนไม่ท้อถอยและมีอุปนิสัยอ่อนโยน มัธยัสถ์ ซึ่งเป็นสิ่งเกื้อหนุนให้ท่านมีความเจริญรุ่งเรืองในการศึกษาและการทำงาน<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, '''เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี(สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา),''' (ออนไลน์), http://th.wikipedia.org/wiki. (9 กันยายน 2552).</ref>


==การสมรส==
==การสมรส==


เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้สมรสกับท่านผู้หญิงถวิล (สาลักษณ์) และมีภริยาอีก คน โดยมีบุตร – ธิดา รวม ๒๐ คน ได้อบรมสั่งสอนให้บุตร – ธิดา ทุกคนให้มีความอดทนและมัธยัสถ์ สนับสนุนให้ทุกคนเรียนถึงชั้นสูงสุดเท่าที่มีความสามารถ และด้วยการมีส่วนผลักดันการศึกษาการช่างและได้สนับสนุนให้มีการเปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<ref>เรื่องเดียวกัน.</ref>
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้สมรสกับท่านผู้หญิงถวิล (สาลักษณ์) และมีภริยาอีก 4 คน โดยมีบุตร – ธิดา รวม 20 คน ได้อบรมสั่งสอนให้บุตร – ธิดา ทุกคนให้มีความอดทนและมัธยัสถ์ สนับสนุนให้ทุกคนเรียนถึงชั้นสูงสุดเท่าที่มีความสามารถ และด้วยการมีส่วนผลักดันการศึกษาการช่างและได้สนับสนุนให้มีการเปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<ref>เรื่องเดียวกัน.</ref>


==การศึกษา==
==การศึกษา==


พ.ศ. ๒๔๓๑
พ.ศ. 2431


เมื่ออายุ ๑๒ ปี เข้าเรียนประโยคหนึ่งที่โรงเรียนบพิตรพิมุข โดยมีพระมหาหนอหรือขุนอนุกิจวิธูร (น้อย จุลลิธูร) เป็นครูคนแรก
เมื่ออายุ 12 ปี เข้าเรียนประโยคหนึ่งที่โรงเรียนบพิตรพิมุข โดยมีพระมหาหนอหรือขุนอนุกิจวิธูร (น้อย จุลลิธูร) เป็นครูคนแรก


พ.ศ. ๒๔๓๒
พ.ศ. 2432


เรียนจบประโยคสอง จากโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ  
เรียนจบประโยคสอง จากโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ  


พ.ศ. ๒๔๓๕
พ.ศ. 2435


จบประโยคมัธยมศึกษาชั้น ภาษาอังกฤษหลักสูตรหลวงโรงเรียนตัวอย่างสุนันทาลัย แล้วเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าให้ตั้ง โดยเป็นนักเรียนรุ่นแรกเพียง คน สอบประกาศนียบัตรครูรุ่นแรกของกรมศึกษาธิการได้อันดับที่ เมื่ออายุ ๑๖ ปี แล้วทำหน้าที่เป็นนักเรียนสอนในกรมศึกษาธิการพ.ศ. ๒๔๓๙เมื่อวันที่ ๔ พฤษภาคม จึงได้เป็นนักเรียนทุนหลวงกระทรวงธรรมการไปศึกษาวิชาครูต่อที่ประเทศอังกฤษ ณ วิทยาลัยฝึกหัดครูเบอโรโรด (Borough Road Collage) ณ เมืองไอส์ลเวิฟ ภายใต้การดูแลของเซอร์ โรเบิร์ต มอแรน จบแล้วได้เดินทางไปดูงานด้านการศึกษาที่ประเทศอินเดียและพม่าเป็นเวลา เดือน<ref>เรื่องเดียวกัน.</ref>
จบประโยคมัธยมศึกษาชั้น 5 ภาษาอังกฤษหลักสูตรหลวงโรงเรียนตัวอย่างสุนันทาลัย แล้วเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าให้ตั้ง โดยเป็นนักเรียนรุ่นแรกเพียง 3 คน สอบประกาศนียบัตรครูรุ่นแรกของกรมศึกษาธิการได้อันดับที่ 1 เมื่ออายุ 16 ปี แล้วทำหน้าที่เป็นนักเรียนสอนในกรมศึกษาธิการพ.ศ. 2439 เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม จึงได้เป็นนักเรียนทุนหลวงกระทรวงธรรมการไปศึกษาวิชาครูต่อที่ประเทศอังกฤษ ณ วิทยาลัยฝึกหัดครูเบอโรโรด (Borough Road Collage) ณ เมืองไอส์ลเวิฟ ภายใต้การดูแลของเซอร์ โรเบิร์ต มอแรน จบแล้วได้เดินทางไปดูงานด้านการศึกษาที่ประเทศอินเดียและพม่าเป็นเวลา 3 เดือน<ref>เรื่องเดียวกัน.</ref>


==อุปสมบท==
==อุปสมบท==


พ.ศ. ๒๔๔๑
พ.ศ. 2441


เมื่อจบการศึกษาและการดูงานได้กลับมาอุปสมบทในบวรพุทธศาสนา พรรษา โดยมีพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าให้เป็นนาคหลวง อุปสมบท ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม จำพรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร มีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์<ref>เรื่องเดียวกัน.</ref>
เมื่อจบการศึกษาและการดูงานได้กลับมาอุปสมบทในบวรพุทธศาสนา 1 พรรษา โดยมีพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าให้เป็นนาคหลวง อุปสมบท ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม จำพรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร มีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์<ref>เรื่องเดียวกัน.</ref>




==การรับราชการและงานพิเศษ==
==การรับราชการและงานพิเศษ==


พ.ศ. ๒๔๓๗
พ.ศ. 2437


เป็นผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์
เป็นผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์
พ.ศ. ๒๔๔๒


กลับเข้ารับราชการกระทรวงธรรมการเมื่อวันที่ ๙ มกราคม โดยเป็นครูสอนวิชาครูและคำนวณวิธีในโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ ก่อนเป็นพนักงานแต่งแบบเรียนประจำศาลาว่าการกรมศึกษาธิการ
พ.ศ. 2442


พ.ศ. ๒๔๔๓
กลับเข้ารับราชการกระทรวงธรรมการเมื่อวันที่ 9 มกราคม โดยเป็นครูสอนวิชาครูและคำนวณวิธีในโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ ก่อนเป็นพนักงานแต่งแบบเรียนประจำศาลาว่าการกรมศึกษาธิการ
 
พ.ศ. 2443


ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงไพศาลศิลปศาสตร์” รับหน้าที่เป็น ผู้ช่วยหัวหน้ากองตรวจกรมศึกษาธิการและทำหน้าที่สอนในขณะเดียวกัน
ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงไพศาลศิลปศาสตร์” รับหน้าที่เป็น ผู้ช่วยหัวหน้ากองตรวจกรมศึกษาธิการและทำหน้าที่สอนในขณะเดียวกัน


พ.ศ. ๒๔๔๔
พ.ศ. 2444


จัดให้มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างโรงเรียนประเภทอายุไม่เกิน ๒๐ ปี เป็นครั้งแรกที่สนามหลวง โรงเรียนชนะเลิศจะได้รับโล่ไว้ครอบครองเป็นเวลาหนึ่งปี และจารึกชื่อบนโล่เป็นเกียรติประวัติ เรียกว่า “การแข่งขันฟุตบอลชิงโล่ของกระทรวงธรรมการ”
จัดให้มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างโรงเรียนประเภทอายุไม่เกิน 20 ปี เป็นครั้งแรกที่สนามหลวง โรงเรียนชนะเลิศจะได้รับโล่ไว้ครอบครองเป็นเวลาหนึ่งปี และจารึกชื่อบนโล่เป็นเกียรติประวัติ เรียกว่า “การแข่งขันฟุตบอลชิงโล่ของกระทรวงธรรมการ”


พ.ศ. ๒๔๔๕
พ.ศ. 2445


เดินทางไปดูงานการศึกษา ณ ประเทศญี่ปุ่น โดยมีผู้ร่วมเดินทางในครั้งนั้นคือ ขุนอนุกิจวิทูร (สันทัด เทพหัสดิน) และพระชำนิบรรณาคม (อ่อน สาริบุตร) โดยใช้เวลาดูงาน ๗๒ วัน และในโอกาสนี้ ได้คอยเฝ้ารับเสด็จนิวัติประเทศสยามของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมาร (พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว) ซึ่งสำเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษแล้ว
เดินทางไปดูงานการศึกษา ณ ประเทศญี่ปุ่น โดยมีผู้ร่วมเดินทางในครั้งนั้นคือ ขุนอนุกิจวิทูร (สันทัด เทพหัสดิน) และพระชำนิบรรณาคม (อ่อน สาริบุตร) โดยใช้เวลาดูงาน 72 วัน และในโอกาสนี้ ได้คอยเฝ้ารับเสด็จนิวัติประเทศสยามของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมาร (พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว) ซึ่งสำเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษแล้ว


พ.ศ. ๒๔๕๒
พ.ศ. 2452


รับพระราชทานเป็นคุณพระไพศาลศิลปศาสตร์ในสมัยรัชกาลที่
รับพระราชทานเป็นคุณพระไพศาลศิลปศาสตร์ในสมัยรัชกาลที่ 5


พ.ศ. ๒๔๕๓
พ.ศ. 2453


รัชกาลที่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม (ร.ศ. ๑๒๙) เพื่อรับกระแสพระราชดำริเรื่องการวางแนวทางการจัดการศึกษาของชาติ และได้มีการจัดตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง โดยเปิดสอนเมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๔๕๓ พ.ศ. ๒๔๕๓ เป็นพระบิดาแห่งวงการฟุตบอลเมืองสยาม เนื่องจากเป็นยุคทองของฟุตบอลสยาม พ.ศ. ๒๔๖๘ โดยเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีทรงให้การสนับสนุนทั้งในทางตรงและทางอ้อม กล่าวคือ มีการติดต่อ มร. เอ พี โคลบี้ และมร. อาร์ ดี เคร็ก ชาวอังกฤษให้มาช่วยสอนทักษะการเล่นฟุตบอลแก่ผู้เล่นชาวไทย ดังนั้น บริษัท ห้างร้าน และหน่วยงานราชการจะต้องมีทีมฟุตบอลอย่างน้อย ทีม ทำให้ราษฎรทั่วทั้งพระนคร และปริมณฑลนิยมเล่นฟุตบอลเพิ่มมากขึ้น และถือเป็นยุคทองของฟุตบอลสยาม<ref>ครูเทพหรือเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ผู้นำการเล่นฟุตบอลเข้ามาสู่สยาม, จาก'''โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย,''' http://www.osknetwork.com/modules.php?name=News&file=article&sid=96, วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>
รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม (ร.ศ. 129) เพื่อรับกระแสพระราชดำริเรื่องการวางแนวทางการจัดการศึกษาของชาติ และได้มีการจัดตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง โดยเปิดสอนเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2453 พ.ศ. 2453 – เป็นพระบิดาแห่งวงการฟุตบอลเมืองสยาม เนื่องจากเป็นยุคทองของฟุตบอลสยาม พ.ศ. 2468 โดยเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีทรงให้การสนับสนุนทั้งในทางตรงและทางอ้อม กล่าวคือ มีการติดต่อ มร. เอ พี โคลบี้ และมร. อาร์ ดี เคร็ก ชาวอังกฤษให้มาช่วยสอนทักษะการเล่นฟุตบอลแก่ผู้เล่นชาวไทย ดังนั้น บริษัท ห้างร้าน และหน่วยงานราชการจะต้องมีทีมฟุตบอลอย่างน้อย 1 ทีม ทำให้ราษฎรทั่วทั้งพระนคร และปริมณฑลนิยมเล่นฟุตบอลเพิ่มมากขึ้น และถือเป็นยุคทองของฟุตบอลสยาม<ref>ครูเทพหรือเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ผู้นำการเล่นฟุตบอลเข้ามาสู่สยาม, จาก'''โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย,''' http://www.osknetwork.com/modules.php?name=News&file=article&sid=96, วันที่ 10 กันยายน 2552.</ref>


พ.ศ. ๒๔๕๔
พ.ศ. 2454


รั้งตำแหน่งปลัดทูลฉลอง กระทรวงธรรมการและเป็น “พระยาธรรมศักดิ์มนตรี”
รั้งตำแหน่งปลัดทูลฉลอง กระทรวงธรรมการและเป็น “พระยาธรรมศักดิ์มนตรี”


พ.ศ. ๒๔๕๗
พ.ศ. 2457


รั้งตำแหน่งผู้บัญชาการโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม อีกตำแหน่งหนึ่ง รวมทั้งได้เขียนบทความแสดงความคิดเห็นใน “หนังสือพิมพ์ล้อมรั้ว พ.ศ. ๒๔๕๗”  เสนอให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยโดยใช้ที่ดินระหว่างสนามม้ากับถนนพญาไทและถนนพญาไทถึงคลองสวนหลวง
รั้งตำแหน่งผู้บัญชาการโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม อีกตำแหน่งหนึ่ง รวมทั้งได้เขียนบทความแสดงความคิดเห็นใน “หนังสือพิมพ์ล้อมรั้ว พ.ศ. 2457” เสนอให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยโดยใช้ที่ดินระหว่างสนามม้ากับถนนพญาไทและถนนพญาไทถึงคลองสวนหลวง


พ.ศ. ๒๔๕๘
พ.ศ. 2458


เป็นองคมนตรี<ref>ประวัตินักกีฬาที่สร้างชื่อเสียง, จาก '''พิพิธภัณฑ์กีฬาแห่งชาติ,''' http://www.sat.or.th/museum/index.php?option=com_sportperson&id=20&task=view, วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๒.</ref>
เป็นองคมนตรี<ref>ประวัตินักกีฬาที่สร้างชื่อเสียง, จาก '''พิพิธภัณฑ์กีฬาแห่งชาติ,''' http://www.sat.or.th/museum/index.php?option=com_sportperson&id=20&task=view, วันที่ 10 กันยายน 2552.</ref>


พ.ศ. ๒๔๕๙
พ.ศ. 2459


ได้เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ได้รับพระราชทานยศเป็น “จางวางโท” และ “จางวางเอก” ในปีเดียวกัน
ได้เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ได้รับพระราชทานยศเป็น “จางวางโท” และ “จางวางเอก” ในปีเดียวกัน


พ.ศ. ๒๔๖๐
พ.ศ. 2460


ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เลื่อนจาก “พระยาธรรมศักดิ์มนตรีสรรพศึกษาวิธียุโรปการ” ขึ้นเป็น “เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีศรีสาสนวโรปกรสุนทรธรรมจริยา นุวาท” วันที่ ๓๑ ธันวาคม เมื่ออายุได้เพียง ๔๑ ปี<ref>ประวัตินักกีฬาที่สร้างชื่อเสียง, อ้างแล้ว.</ref>
ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เลื่อนจาก “พระยาธรรมศักดิ์มนตรีสรรพศึกษาวิธียุโรปการ” ขึ้นเป็น “เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีศรีสาสนวโรปกรสุนทรธรรมจริยานุวาท” วันที่ 31 ธันวาคม เมื่ออายุได้เพียง 41 ปี<ref>ประวัตินักกีฬาที่สร้างชื่อเสียง, อ้างแล้ว.</ref>


พ.ศ. ๒๔๖๐
พ.ศ. 2460


เป็นผู้ริเริ่มการศึกษาด้านเกษตรกรรม โดยการจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมแห่งแรก ขึ้นที่บริเวณหอวังหรือบ้านสวนหลวง สระปทุม รวมทั้งได้จัดส่งนักเรียนทุนไปศึกษาเกษตรกรรมต่างประเทศ และได้กลับมาเป็น “สามเสือเกษตร” เป็นฉายาที่เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ใช้เรียกแทนบุคคลทั้ง คือ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ หลวงอิงคศรีกสิการ และพระช่วงเกษตรศิลปการ<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, อ้างแล้ว.</ref>
เป็นผู้ริเริ่มการศึกษาด้านเกษตรกรรม โดยการจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมแห่งแรก ขึ้นที่บริเวณหอวังหรือบ้านสวนหลวง สระปทุม รวมทั้งได้จัดส่งนักเรียนทุนไปศึกษาเกษตรกรรมต่างประเทศ และได้กลับมาเป็น “สามเสือเกษตร” เป็นฉายาที่เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ใช้เรียกแทนบุคคลทั้ง 3 คือ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ หลวงอิงคศรีกสิการ และพระช่วงเกษตรศิลปการ<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, อ้างแล้ว.</ref>


พ.ศ. ๒๔๖๑
พ.ศ. 2461


เป็นผู้ดำเนินการเพื่อให้ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์”<ref>ประวัตินักกีฬาที่สร้างชื่อเสียง, อ้างแล้ว.</ref>
เป็นผู้ดำเนินการเพื่อให้ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์”<ref>ประวัตินักกีฬาที่สร้างชื่อเสียง, อ้างแล้ว.</ref>


พ.ศ. ๒๔๖๔
พ.ศ. 2464


รับพระบรมราชโองการทำจดหมายถึงมูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์ ให้มาช่วยปรับปรุงการศึกษาแพทย์ โดยมูลนิธิฯ ส่งนายแพทย์ ริชาร์ด เอม เพียร์ส ประธานกรรมการฝ่ายแพทยศาสตร์ศึกษาเข้ามาดูกิจการของการศึกษาแพทย์ในประเทศสยาม และได้กราบทูลเชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลา นครินทร์ ทรงรับเป็นผู้แทนฝ่ายไทย และในปีเดียวกันนี้ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาฉบับแรกของประเทศ
รับพระบรมราชโองการทำจดหมายถึงมูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์ ให้มาช่วยปรับปรุงการศึกษาแพทย์ โดยมูลนิธิฯ ส่งนายแพทย์ ริชาร์ด เอม เพียร์ส ประธานกรรมการฝ่ายแพทยศาสตร์ศึกษาเข้ามาดูกิจการของการศึกษาแพทย์ในประเทศสยาม และได้กราบทูลเชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลา นครินทร์ ทรงรับเป็นผู้แทนฝ่ายไทย และในปีเดียวกันนี้ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาฉบับแรกของประเทศ


พ.ศ. ๒๔๖๘
พ.ศ. 2468


ได้เป็นผู้ประพันธ์ “เพลงกราวกีฬา” ในนาม “ครูเทพ” เพื่อจูงใจให้นักกีฬารู้จักการแพ้ชนะและรู้จักการให้อภัย ทั้งนี้สืบเนื่องจากการรณรงค์ให้มีการออกกำลังกายและการแข่งขันกีฬาในโรงเรียนทั่วประเทศ รวมทั้งการริเริ่มให้มีการแข่งขันฟุตบอล ซึ่งเป็นกีฬาที่รุนแรง  
ได้เป็นผู้ประพันธ์ “เพลงกราวกีฬา” ในนาม “ครูเทพ” เพื่อจูงใจให้นักกีฬารู้จักการแพ้ชนะและรู้จักการให้อภัย ทั้งนี้สืบเนื่องจากการรณรงค์ให้มีการออกกำลังกายและการแข่งขันกีฬาในโรงเรียนทั่วประเทศ รวมทั้งการริเริ่มให้มีการแข่งขันฟุตบอล ซึ่งเป็นกีฬาที่รุนแรง  


พ.ศ. ๒๔๗๕
พ.ศ. 2475


ได้เป็นผู้แต่งเนื้อร้อง “เพลงชาติ” โดยใช้ทำนอง “เพลงมหาฤกษ์มหาชัย” เพื่อใช้เป็นเพลงประจำชาติชื่อ “เพลงชาติมหาชัย” อยู่ระยะหนึ่ง
ได้เป็นผู้แต่งเนื้อร้อง “เพลงชาติ” โดยใช้ทำนอง “เพลงมหาฤกษ์มหาชัย” เพื่อใช้เป็นเพลงประจำชาติชื่อ “เพลงชาติมหาชัย” อยู่ระยะหนึ่ง


พ.ศ. ๒๔๗๕
พ.ศ. 2475


เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในระบอบประชาธิปไตยระหว่างวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๔๗๕ กันยายน ๒๔๗๕ และต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการระหว่างวันที่ กันยายน – ๒๗ ธันวาคม ๒๔๗๕
เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในระบอบประชาธิปไตยระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน 2475 1 กันยายน 2475 และต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการระหว่างวันที่ 1 กันยายน – 27 ธันวาคม 2475


พ.ศ. ๒๔๗๖
พ.ศ. 2476


รัฐสภามีมติเลือกกลับไปเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๔๗๖ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๗๖
รัฐสภามีมติเลือกกลับไปเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2476 26 กุมภาพันธ์ 2476


พ.ศ. ๒๔๗๗
พ.ศ. 2477


ได้แต่งเพลง “คิดถึง” โดยบันทึกเสียงครั้งแรก พ.ศ. ๒๔๙๔ โดยเฉลา ประสบศาสตร์ ซึ่งเป็นบทเพลงที่มีความไพเราะมากและยืนยงถึงปัจจุบัน โดยใช้ทำนองเพลง “ยิปซีแอร์” ของ Pablo de Sarasate (Sarasate : Gypsy Air , Op. ๒๐)
ได้แต่งเพลง “คิดถึง” โดยบันทึกเสียงครั้งแรก พ.ศ. 2494 โดยเฉลา ประสบศาสตร์ ซึ่งเป็นบทเพลงที่มีความไพเราะมากและยืนยงถึงปัจจุบัน โดยใช้ทำนองเพลง “ยิปซีแอร์” ของ Pablo de Sarasate (Sarasate : Gypsy Air , Op. 20)


พ.ศ. ๒๔๗๗
พ.ศ. 2477


ก่อตั้งโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย และโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมแม่โจ้ เชียงใหม่ (ดำเนินการในระหว่างเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ พ.ศ.๒๔๗๖)<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, อ้างแล้ว.</ref>
ก่อตั้งโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย และโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมแม่โจ้ เชียงใหม่ (ดำเนินการในระหว่างเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ พ.ศ. 2476)<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, อ้างแล้ว.</ref>


==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==
==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==
บรรทัดที่ 129: บรรทัดที่ 130:
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า


เครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญรัตนาภรณ์ ชั้น ว.ป.ร.
เครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญรัตนาภรณ์ ชั้น 2 ว.ป.ร.


เครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญตรารัตนวราภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญตรารัตนวราภรณ์
บรรทัดที่ 135: บรรทัดที่ 136:
==บั้นปลายชีวิต==
==บั้นปลายชีวิต==


หลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้ถวายบังคมลาออกจากราชการในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ มาอยู่ที่บ้านพักตำบลนางเลิ้ง หลานหลวง ถนนนครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร และช่วยบุตรี คือ คุณไฉไล เทพหัสดิน ณ อยุธยา บุตรีซึ่งลาออกจากครูโรงเรียนราชินีและโรงเรียนวชิราวุธมาจัดตั้งขึ้นที่บ้านหลานหลวง เพื่อมาช่วยสอนในโรงเรียนสตรีจุลนาค โดยได้ช่วยสอนด้วยวิธีการใหม่ ๆ ที่ท่านพยายามเผยแพร่ ท่านใช้เวลาส่วนใหญ่ในการเขียนบทความ หนังสือและบทประพันธ์ต่างๆ รวมทั้งบทเพลง ปัจจุบันบ้านพักของท่านที่ถนนนครสวรรค์ดังกล่าว ซึ่งสร้างขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกับพระที่นั่งอนันตสมาคม แม้จะมีขนาดเล็กและเรียบง่ายแต่ก็มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมแบบยุโรปซึ่งเป็นที่นิยมในสมัยนั้น จึงได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอาคารอนุรักษ์ โดยกรมศิลปากร เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคหัวใจวาย เมื่อวันที่ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๖ ที่บ้านพักถนนนครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร สิริรวมอายุได้ ๖๗ ปี เดือน<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, อ้างแล้ว.</ref>
หลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้ถวายบังคมลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2469 มาอยู่ที่บ้านพักตำบลนางเลิ้ง หลานหลวง ถนนนครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร และช่วยบุตรี คือ คุณไฉไล เทพหัสดิน ณ อยุธยา บุตรีซึ่งลาออกจากครูโรงเรียนราชินีและโรงเรียนวชิราวุธมาจัดตั้งขึ้นที่บ้านหลานหลวง เพื่อมาช่วยสอนในโรงเรียนสตรีจุลนาค โดยได้ช่วยสอนด้วยวิธีการใหม่ ๆ ที่ท่านพยายามเผยแพร่ ท่านใช้เวลาส่วนใหญ่ในการเขียนบทความ หนังสือและบทประพันธ์ต่างๆ รวมทั้งบทเพลง ปัจจุบันบ้านพักของท่านที่ถนนนครสวรรค์ดังกล่าว ซึ่งสร้างขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกับพระที่นั่งอนันตสมาคม แม้จะมีขนาดเล็กและเรียบง่ายแต่ก็มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมแบบยุโรปซึ่งเป็นที่นิยมในสมัยนั้น จึงได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอาคารอนุรักษ์ โดยกรมศิลปากร เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคหัวใจวาย เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 ที่บ้านพักถนนนครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร สิริรวมอายุได้ 67 ปี 1 เดือน<ref>วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, อ้างแล้ว.</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัดที่ 143: บรรทัดที่ 144:
==บรรณานุกรม==
==บรรณานุกรม==


http://blog.eduzones.com/dena/4553, (เข้าข้อมูลเมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๒).
http://blog.eduzones.com/dena/4553, (เข้าข้อมูลเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2552).


http://www.praphansarn.com/new/c_writer/detail.asp?ID=240, (เข้าข้อมูลเมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๒).
http://www.praphansarn.com/new/c_writer/detail.asp?ID=240, (เข้าข้อมูลเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2552).


http://www.sat.or.th/museum/index.php?option=com_sportperson&id=20&task=view, (เข้าข้อมูลเมื่อ วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๒).
http://www.sat.or.th/museum/index.php?option=com_sportperson&id=20&task=view, (เข้าข้อมูลเมื่อ วันที่ 10 กันยายน 2552).


http : // th.wikipdia.org/wiki, (เข้าข้อมูลเมื่อวันที่ กันยายน ๒๕๕๒).
http://th.wikipdia.org/wiki, (เข้าข้อมูลเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2552).


==ดูเพิ่มเติม==
==ดูเพิ่มเติม==


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แนะนำครูภาษาไทย เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (ครูเทพ). วารสารภาษาและวรรณคดีไทย , (สิงหาคม ๒๕๓๐) : หน้า ๙๖ – ๑๐๐.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. '''แนะนำครูภาษาไทย เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (ครูเทพ).''' วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 4, 2 (สิงหาคม 2530) : หน้า 96–100.


ประเสริฐ ณ นคร, สามเสือเกษตร, http://www.ku.ac.th/aboutku/thai/3manku/3hero.htm
ประเสริฐ ณ นคร, '''สามเสือเกษตร,''' http://www.ku.ac.th/aboutku/thai/3manku/3hero.htm


วิโรจน์ วงษ์ทน, น้ำใจนักกีฬากับเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี, เดอะโนว์เลจเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ ๒๕๕๐.
วิโรจน์ วงษ์ทน, '''น้ำใจนักกีฬากับเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี,''' เดอะโนว์เลจเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ 2550.


สงวน จันทร์ทะเล, ตำนานแม่โจ้ ตอนที่ , http://www.maejo.net/MaejoStory/MaejoStory1.htm
สงวน จันทร์ทะเล, '''ตำนานแม่โจ้ ตอนที่ 1,''' http://www.maejo.net/MaejoStory/MaejoStory1.htm


[[category:ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]
[[category:ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:05, 23 กันยายน 2552

ผู้เรียบเรียง นิพัทธ์ สระฉันทพงษ์

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


ชาตะ

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี มีนามเดิมว่า สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เกิดที่บ้านหลังศาลเจ้าหัวเม็ด ตำบลสะพานหัน จังหวัดพระนคร (กรุงเทพมหานคร) เมื่อวันที่ 1 มกราคม พุทธศักราช 2419 ตรงกับวันจันทร์ เดือนยี่ แรม 2 ค่ำ ปีชวด เป็นบุตรคนที่ 18 จากบุตร - ธิดา จำนวนพี่น้อง 32 คน ของพระยาไชยสุรินทร์ (หม่อมหลวง เจียม เทพหัสดิน ณ อยุธยา) เสนาบดีกระทรวงเกษตรและพระคลัง ในสมัยรัชกาลที่ 5 แต่เป็นบุตรคนโตของมารดาชื่ออยู่ สืบสกุลจากพระยาราชภักดี (หม่อมราชวงศ์ ช้าง เทพหัสดิน) ผู้เป็นบุตรหม่อมเจ้าฉิมในพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์ โอรสองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอองค์น้อยในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 เมื่ออายุได้ 8 ปี บิดาก็ถึงแก่อนิจกรรม ชีวิตของท่านจึงผกผันจากการเป็นครอบครัวคนชั้นสูง จากการเป็นบุตรเสนาบดี ฐานะครอบครัวตกต่ำลง ต้องมาช่วยมารดาทำสวน ค้าขายและหารายได้ทางเย็บปักถักร้อย คือ รับจ้างเย็บรังดุมตั้งแต่ยังเด็ก ความยากลำบากทำให้ท่านมีความอดทนไม่ท้อถอยและมีอุปนิสัยอ่อนโยน มัธยัสถ์ ซึ่งเป็นสิ่งเกื้อหนุนให้ท่านมีความเจริญรุ่งเรืองในการศึกษาและการทำงาน[1]

การสมรส

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้สมรสกับท่านผู้หญิงถวิล (สาลักษณ์) และมีภริยาอีก 4 คน โดยมีบุตร – ธิดา รวม 20 คน ได้อบรมสั่งสอนให้บุตร – ธิดา ทุกคนให้มีความอดทนและมัธยัสถ์ สนับสนุนให้ทุกคนเรียนถึงชั้นสูงสุดเท่าที่มีความสามารถ และด้วยการมีส่วนผลักดันการศึกษาการช่างและได้สนับสนุนให้มีการเปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[2]

การศึกษา

พ.ศ. 2431

เมื่ออายุ 12 ปี เข้าเรียนประโยคหนึ่งที่โรงเรียนบพิตรพิมุข โดยมีพระมหาหนอหรือขุนอนุกิจวิธูร (น้อย จุลลิธูร) เป็นครูคนแรก

พ.ศ. 2432

เรียนจบประโยคสอง จากโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ

พ.ศ. 2435

จบประโยคมัธยมศึกษาชั้น 5 ภาษาอังกฤษหลักสูตรหลวงโรงเรียนตัวอย่างสุนันทาลัย แล้วเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าให้ตั้ง โดยเป็นนักเรียนรุ่นแรกเพียง 3 คน สอบประกาศนียบัตรครูรุ่นแรกของกรมศึกษาธิการได้อันดับที่ 1 เมื่ออายุ 16 ปี แล้วทำหน้าที่เป็นนักเรียนสอนในกรมศึกษาธิการพ.ศ. 2439 เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม จึงได้เป็นนักเรียนทุนหลวงกระทรวงธรรมการไปศึกษาวิชาครูต่อที่ประเทศอังกฤษ ณ วิทยาลัยฝึกหัดครูเบอโรโรด (Borough Road Collage) ณ เมืองไอส์ลเวิฟ ภายใต้การดูแลของเซอร์ โรเบิร์ต มอแรน จบแล้วได้เดินทางไปดูงานด้านการศึกษาที่ประเทศอินเดียและพม่าเป็นเวลา 3 เดือน[3]

อุปสมบท

พ.ศ. 2441

เมื่อจบการศึกษาและการดูงานได้กลับมาอุปสมบทในบวรพุทธศาสนา 1 พรรษา โดยมีพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าให้เป็นนาคหลวง อุปสมบท ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม จำพรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร มีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์[4]


การรับราชการและงานพิเศษ

พ.ศ. 2437

เป็นผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์

พ.ศ. 2442

กลับเข้ารับราชการกระทรวงธรรมการเมื่อวันที่ 9 มกราคม โดยเป็นครูสอนวิชาครูและคำนวณวิธีในโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ ก่อนเป็นพนักงานแต่งแบบเรียนประจำศาลาว่าการกรมศึกษาธิการ

พ.ศ. 2443

ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงไพศาลศิลปศาสตร์” รับหน้าที่เป็น ผู้ช่วยหัวหน้ากองตรวจกรมศึกษาธิการและทำหน้าที่สอนในขณะเดียวกัน

พ.ศ. 2444

จัดให้มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างโรงเรียนประเภทอายุไม่เกิน 20 ปี เป็นครั้งแรกที่สนามหลวง โรงเรียนชนะเลิศจะได้รับโล่ไว้ครอบครองเป็นเวลาหนึ่งปี และจารึกชื่อบนโล่เป็นเกียรติประวัติ เรียกว่า “การแข่งขันฟุตบอลชิงโล่ของกระทรวงธรรมการ”

พ.ศ. 2445

เดินทางไปดูงานการศึกษา ณ ประเทศญี่ปุ่น โดยมีผู้ร่วมเดินทางในครั้งนั้นคือ ขุนอนุกิจวิทูร (สันทัด เทพหัสดิน) และพระชำนิบรรณาคม (อ่อน สาริบุตร) โดยใช้เวลาดูงาน 72 วัน และในโอกาสนี้ ได้คอยเฝ้ารับเสด็จนิวัติประเทศสยามของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมาร (พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว) ซึ่งสำเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษแล้ว

พ.ศ. 2452

รับพระราชทานเป็นคุณพระไพศาลศิลปศาสตร์ในสมัยรัชกาลที่ 5

พ.ศ. 2453

รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม (ร.ศ. 129) เพื่อรับกระแสพระราชดำริเรื่องการวางแนวทางการจัดการศึกษาของชาติ และได้มีการจัดตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง โดยเปิดสอนเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2453 พ.ศ. 2453 – เป็นพระบิดาแห่งวงการฟุตบอลเมืองสยาม เนื่องจากเป็นยุคทองของฟุตบอลสยาม พ.ศ. 2468 โดยเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีทรงให้การสนับสนุนทั้งในทางตรงและทางอ้อม กล่าวคือ มีการติดต่อ มร. เอ พี โคลบี้ และมร. อาร์ ดี เคร็ก ชาวอังกฤษให้มาช่วยสอนทักษะการเล่นฟุตบอลแก่ผู้เล่นชาวไทย ดังนั้น บริษัท ห้างร้าน และหน่วยงานราชการจะต้องมีทีมฟุตบอลอย่างน้อย 1 ทีม ทำให้ราษฎรทั่วทั้งพระนคร และปริมณฑลนิยมเล่นฟุตบอลเพิ่มมากขึ้น และถือเป็นยุคทองของฟุตบอลสยาม[5]

พ.ศ. 2454

รั้งตำแหน่งปลัดทูลฉลอง กระทรวงธรรมการและเป็น “พระยาธรรมศักดิ์มนตรี”

พ.ศ. 2457

รั้งตำแหน่งผู้บัญชาการโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม อีกตำแหน่งหนึ่ง รวมทั้งได้เขียนบทความแสดงความคิดเห็นใน “หนังสือพิมพ์ล้อมรั้ว พ.ศ. 2457” เสนอให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยโดยใช้ที่ดินระหว่างสนามม้ากับถนนพญาไทและถนนพญาไทถึงคลองสวนหลวง

พ.ศ. 2458

เป็นองคมนตรี[6]

พ.ศ. 2459

ได้เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ได้รับพระราชทานยศเป็น “จางวางโท” และ “จางวางเอก” ในปีเดียวกัน

พ.ศ. 2460

ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เลื่อนจาก “พระยาธรรมศักดิ์มนตรีสรรพศึกษาวิธียุโรปการ” ขึ้นเป็น “เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีศรีสาสนวโรปกรสุนทรธรรมจริยานุวาท” วันที่ 31 ธันวาคม เมื่ออายุได้เพียง 41 ปี[7]

พ.ศ. 2460

เป็นผู้ริเริ่มการศึกษาด้านเกษตรกรรม โดยการจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมแห่งแรก ขึ้นที่บริเวณหอวังหรือบ้านสวนหลวง สระปทุม รวมทั้งได้จัดส่งนักเรียนทุนไปศึกษาเกษตรกรรมต่างประเทศ และได้กลับมาเป็น “สามเสือเกษตร” เป็นฉายาที่เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ใช้เรียกแทนบุคคลทั้ง 3 คือ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ หลวงอิงคศรีกสิการ และพระช่วงเกษตรศิลปการ[8]

พ.ศ. 2461

เป็นผู้ดำเนินการเพื่อให้ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์”[9]

พ.ศ. 2464

รับพระบรมราชโองการทำจดหมายถึงมูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์ ให้มาช่วยปรับปรุงการศึกษาแพทย์ โดยมูลนิธิฯ ส่งนายแพทย์ ริชาร์ด เอม เพียร์ส ประธานกรรมการฝ่ายแพทยศาสตร์ศึกษาเข้ามาดูกิจการของการศึกษาแพทย์ในประเทศสยาม และได้กราบทูลเชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลา นครินทร์ ทรงรับเป็นผู้แทนฝ่ายไทย และในปีเดียวกันนี้ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาฉบับแรกของประเทศ

พ.ศ. 2468

ได้เป็นผู้ประพันธ์ “เพลงกราวกีฬา” ในนาม “ครูเทพ” เพื่อจูงใจให้นักกีฬารู้จักการแพ้ชนะและรู้จักการให้อภัย ทั้งนี้สืบเนื่องจากการรณรงค์ให้มีการออกกำลังกายและการแข่งขันกีฬาในโรงเรียนทั่วประเทศ รวมทั้งการริเริ่มให้มีการแข่งขันฟุตบอล ซึ่งเป็นกีฬาที่รุนแรง

พ.ศ. 2475

ได้เป็นผู้แต่งเนื้อร้อง “เพลงชาติ” โดยใช้ทำนอง “เพลงมหาฤกษ์มหาชัย” เพื่อใช้เป็นเพลงประจำชาติชื่อ “เพลงชาติมหาชัย” อยู่ระยะหนึ่ง

พ.ศ. 2475

เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในระบอบประชาธิปไตยระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน 2475 – 1 กันยายน 2475 และต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการระหว่างวันที่ 1 กันยายน – 27 ธันวาคม 2475

พ.ศ. 2476

รัฐสภามีมติเลือกกลับไปเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2476 – 26 กุมภาพันธ์ 2476

พ.ศ. 2477

ได้แต่งเพลง “คิดถึง” โดยบันทึกเสียงครั้งแรก พ.ศ. 2494 โดยเฉลา ประสบศาสตร์ ซึ่งเป็นบทเพลงที่มีความไพเราะมากและยืนยงถึงปัจจุบัน โดยใช้ทำนองเพลง “ยิปซีแอร์” ของ Pablo de Sarasate (Sarasate : Gypsy Air , Op. 20)

พ.ศ. 2477

ก่อตั้งโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย และโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมแม่โจ้ เชียงใหม่ (ดำเนินการในระหว่างเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ พ.ศ. 2476)[10]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญรัชฎาภิเษก

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ประถมาภรณ์ช้างเผือก

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ประถมาภรณ์มงกุฎไทย

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า

เครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญรัตนาภรณ์ ชั้น 2 ว.ป.ร.

เครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญตรารัตนวราภรณ์

บั้นปลายชีวิต

หลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้ถวายบังคมลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2469 มาอยู่ที่บ้านพักตำบลนางเลิ้ง หลานหลวง ถนนนครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร และช่วยบุตรี คือ คุณไฉไล เทพหัสดิน ณ อยุธยา บุตรีซึ่งลาออกจากครูโรงเรียนราชินีและโรงเรียนวชิราวุธมาจัดตั้งขึ้นที่บ้านหลานหลวง เพื่อมาช่วยสอนในโรงเรียนสตรีจุลนาค โดยได้ช่วยสอนด้วยวิธีการใหม่ ๆ ที่ท่านพยายามเผยแพร่ ท่านใช้เวลาส่วนใหญ่ในการเขียนบทความ หนังสือและบทประพันธ์ต่างๆ รวมทั้งบทเพลง ปัจจุบันบ้านพักของท่านที่ถนนนครสวรรค์ดังกล่าว ซึ่งสร้างขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกับพระที่นั่งอนันตสมาคม แม้จะมีขนาดเล็กและเรียบง่ายแต่ก็มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมแบบยุโรปซึ่งเป็นที่นิยมในสมัยนั้น จึงได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอาคารอนุรักษ์ โดยกรมศิลปากร เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคหัวใจวาย เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 ที่บ้านพักถนนนครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร สิริรวมอายุได้ 67 ปี 1 เดือน[11]

อ้างอิง

  1. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี(สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา), (ออนไลน์), http://th.wikipedia.org/wiki. (9 กันยายน 2552).
  2. เรื่องเดียวกัน.
  3. เรื่องเดียวกัน.
  4. เรื่องเดียวกัน.
  5. ครูเทพหรือเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ผู้นำการเล่นฟุตบอลเข้ามาสู่สยาม, จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, http://www.osknetwork.com/modules.php?name=News&file=article&sid=96, วันที่ 10 กันยายน 2552.
  6. ประวัตินักกีฬาที่สร้างชื่อเสียง, จาก พิพิธภัณฑ์กีฬาแห่งชาติ, http://www.sat.or.th/museum/index.php?option=com_sportperson&id=20&task=view, วันที่ 10 กันยายน 2552.
  7. ประวัตินักกีฬาที่สร้างชื่อเสียง, อ้างแล้ว.
  8. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, อ้างแล้ว.
  9. ประวัตินักกีฬาที่สร้างชื่อเสียง, อ้างแล้ว.
  10. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, อ้างแล้ว.
  11. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, อ้างแล้ว.

บรรณานุกรม

http://blog.eduzones.com/dena/4553, (เข้าข้อมูลเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2552).

http://www.praphansarn.com/new/c_writer/detail.asp?ID=240, (เข้าข้อมูลเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2552).

http://www.sat.or.th/museum/index.php?option=com_sportperson&id=20&task=view, (เข้าข้อมูลเมื่อ วันที่ 10 กันยายน 2552).

http://th.wikipdia.org/wiki, (เข้าข้อมูลเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2552).

ดูเพิ่มเติม

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แนะนำครูภาษาไทย เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (ครูเทพ). วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 4, 2 (สิงหาคม 2530) : หน้า 96–100.

ประเสริฐ ณ นคร, สามเสือเกษตร, http://www.ku.ac.th/aboutku/thai/3manku/3hero.htm

วิโรจน์ วงษ์ทน, น้ำใจนักกีฬากับเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี, เดอะโนว์เลจเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ 2550.

สงวน จันทร์ทะเล, ตำนานแม่โจ้ ตอนที่ 1, http://www.maejo.net/MaejoStory/MaejoStory1.htm