ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง"
สร้างหน้าด้วย " ผู้เรียบเรียง ผศ.ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล ผู้ทรงคุณวุฒิ..." |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 4: | บรรทัดที่ 4: | ||
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ศ.ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ | ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ศ.ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ | ||
---- | |||
'''การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง''' | '''การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง''' | ||
บรรทัดที่ 20: | บรรทัดที่ 20: | ||
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 83 กำหนดให้มีสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจำนวนห้าร้อยคน ประกอบด้วย (1) สมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวนสามร้อยห้าสิบคน (2) สมาชิกซึ่งมาจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองจำนวนหนึ่งร้อยห้าสิบคน ดังนั้น การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งแบบเขตเลือกตั้งจึงต้องมี 350 เขต จึงมีหลักการกำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมีและการแบ่งเขตเลือกตั้ง ดังนี้[[#_ftn1|[1]]] | รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 83 กำหนดให้มีสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจำนวนห้าร้อยคน ประกอบด้วย (1) สมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวนสามร้อยห้าสิบคน (2) สมาชิกซึ่งมาจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองจำนวนหนึ่งร้อยห้าสิบคน ดังนั้น การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งแบบเขตเลือกตั้งจึงต้องมี 350 เขต จึงมีหลักการกำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมีและการแบ่งเขตเลือกตั้ง ดังนี้[[#_ftn1|[1]]] | ||
1) ให้ใช้จำนวนราษฎรทั้งประเทศตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มี การเลือกตั้ง เฉลี่ยด้วยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสามร้อยห้าสิบคน จำนวนที่ได้รับให้ถือว่าเป็นจำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน[[#_ftn2|[2]]] | 1) ให้ใช้จำนวนราษฎรทั้งประเทศตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มี การเลือกตั้ง เฉลี่ยด้วยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสามร้อยห้าสิบคน จำนวนที่ได้รับให้ถือว่าเป็นจำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน[[#_ftn2|[2]]] | ||
2) จังหวัดใดมีราษฎรไม่ถึงเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคนตาม (1) ให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดนั้นได้หนึ่งคน โดยให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง | 2) จังหวัดใดมีราษฎรไม่ถึงเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคนตาม (1) ให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดนั้นได้หนึ่งคน โดยให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง | ||
3) จังหวัดใดมีราษฎรเกินจำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน ให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดนั้นเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคนทุกจำนวนราษฎรที่ถึงเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน | 3) จังหวัดใดมีราษฎรเกินจำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน ให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดนั้นเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคนทุกจำนวนราษฎรที่ถึงเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน | ||
4) เมื่อได้จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของแต่ละจังหวัดตาม (2) และ (3) แล้ว ถ้าจำนวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรยังไม่ครบสามร้อยห้าสิบคน จังหวัดใดมีเศษที่เหลือจากการคํานวณตาม (3) มากที่สุด ให้จังหวัดนั้นมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน และให้เพิ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามวิธีการดังกล่าวแก่จังหวัดที่มีเศษที่เหลือจากการคํานวณนั้นในลำดับรองลงมาตามลำดับจนครบจำนวนสามร้อยห้าสิบคน | 4) เมื่อได้จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของแต่ละจังหวัดตาม (2) และ (3) แล้ว ถ้าจำนวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรยังไม่ครบสามร้อยห้าสิบคน จังหวัดใดมีเศษที่เหลือจากการคํานวณตาม (3) มากที่สุด ให้จังหวัดนั้นมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน และให้เพิ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามวิธีการดังกล่าวแก่จังหวัดที่มีเศษที่เหลือจากการคํานวณนั้นในลำดับรองลงมาตามลำดับจนครบจำนวนสามร้อยห้าสิบคน | ||
5) จังหวัดใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เกินหนึ่งคน ให้แบ่งเขตจังหวัดออกเป็นเขตเลือกตั้งเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พึงมี โดยต้องแบ่งพื้นที่ของเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ติดต่อกัน และต้องจัดให้มีจำนวนราษฎรในแต่ละเขตใกล้เคียงกัน | 5) จังหวัดใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เกินหนึ่งคน ให้แบ่งเขตจังหวัดออกเป็นเขตเลือกตั้งเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พึงมี โดยต้องแบ่งพื้นที่ของเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ติดต่อกัน และต้องจัดให้มีจำนวนราษฎรในแต่ละเขตใกล้เคียงกัน | ||
หลักการแบ่งพื้นที่ให้เขตติดต่อกันและมีจำนวนราษฎรใกล้เคียงกันให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้[[#_ftn3|[3]]] | หลักการแบ่งพื้นที่ให้เขตติดต่อกันและมีจำนวนราษฎรใกล้เคียงกันให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้[[#_ftn3|[3]]] | ||
(1) ให้รวมอำเภอต่าง ๆ เป็นเขตเลือกตั้ง โดยคำนึงถึงพื้นที่ที่ติดต่อใกล้ชิดกัน ความสะดวกใน การคมนาคมระหว่างกัน และการเคยอยู่ในเขตเลือกตั้งเดียวกัน ถ้าการรวมอำเภอในลักษณะนี้จะทำให้ มีจำนวนราษฎรมากหรือน้อยเกินไป ให้แยกตำบลของอำเภอออกเพื่อให้ได้จำนวนราษฎรพอเพียงสำหรับ การเป็นเขตเลือกตั้ง แต่จะแยกหรือรวมเฉพาะเพียงบางส่วนของตำบลไม่ได้ | (1) ให้รวมอำเภอต่าง ๆ เป็นเขตเลือกตั้ง โดยคำนึงถึงพื้นที่ที่ติดต่อใกล้ชิดกัน ความสะดวกใน การคมนาคมระหว่างกัน และการเคยอยู่ในเขตเลือกตั้งเดียวกัน ถ้าการรวมอำเภอในลักษณะนี้จะทำให้ มีจำนวนราษฎรมากหรือน้อยเกินไป ให้แยกตำบลของอำเภอออกเพื่อให้ได้จำนวนราษฎรพอเพียงสำหรับ การเป็นเขตเลือกตั้ง แต่จะแยกหรือรวมเฉพาะเพียงบางส่วนของตำบลไม่ได้ | ||
(2) ในกรณีที่การกำหนดพื้นที่ตามเกณฑ์ใน (1) จะทำให้จำนวนราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้ง มีจำนวนไม่ใกล้เคียงกันหรือไม่มีสภาพเป็นชุมชนเดียวกัน ให้ดำเนินการแบ่งเขตเลือกตั้งตามสภาพ ของชุมชนที่ราษฎรมีการติดต่อกันเป็นประจำในลักษณะที่เป็นชุมชนเดียวกันหรือใกล้เคียงกันและสามารถ เดินทางติดต่อกันได้โดยสะดวก โดยจะต้องทำให้จำนวนราษฎรมีจำนวนใกล้เคียงกันมากที่สุด | (2) ในกรณีที่การกำหนดพื้นที่ตามเกณฑ์ใน (1) จะทำให้จำนวนราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้ง มีจำนวนไม่ใกล้เคียงกันหรือไม่มีสภาพเป็นชุมชนเดียวกัน ให้ดำเนินการแบ่งเขตเลือกตั้งตามสภาพ ของชุมชนที่ราษฎรมีการติดต่อกันเป็นประจำในลักษณะที่เป็นชุมชนเดียวกันหรือใกล้เคียงกันและสามารถ เดินทางติดต่อกันได้โดยสะดวก โดยจะต้องทำให้จำนวนราษฎรมีจำนวนใกล้เคียงกันมากที่สุด | ||
(3) เปิดโอกาสให้พรรคการเมืองและประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อประกอบ การพิจารณาเกี่ยวกับการแบ่งเขตเลือกตั้งตาม (1) และ (2) ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด | (3) เปิดโอกาสให้พรรคการเมืองและประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อประกอบ การพิจารณาเกี่ยวกับการแบ่งเขตเลือกตั้งตาม (1) และ (2) ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด | ||
สำหรับการรับฟังความคิดเห็นเรื่องการแบ่งเขตเลือกตั้งของไทยครั้งล่าสุดเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง การรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ลงวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน 2561 กำหนดระยะเวลาในการยื่นคำร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็นตั้งแต่วันที่ 20 - 25 พฤศจิกายน 2561 | สำหรับการรับฟังความคิดเห็นเรื่องการแบ่งเขตเลือกตั้งของไทยครั้งล่าสุดเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง การรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ลงวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน 2561 กำหนดระยะเวลาในการยื่นคำร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็นตั้งแต่วันที่ 20 - 25 พฤศจิกายน 2561 | ||
บรรทัดที่ 46: | บรรทัดที่ 46: | ||
1. การแบ่งเขตเลือกตั้งต้องแบ่งพื้นที่ของเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ติดต่อกัน | 1. การแบ่งเขตเลือกตั้งต้องแบ่งพื้นที่ของเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ติดต่อกัน | ||
2. ต้องจัดให้มีจำนวนราษฎรในแต่ละเขตใกล้เคียงกัน | |||
| |||
| |||
| |||
| 3. ต้องเปิดโอกาสให้พรรคการเมืองและประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการแบ่งเขตเลือกตั้ง | ||
| 4. ต้องประกาศให้ประชาชนทราบล่วงหน้าก่อนเลือกตั้ง โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา | ||
| | ||
บรรทัดที่ 72: | บรรทัดที่ 62: | ||
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134/ตอนที่ 40 ก/6 เมษายน 2560'''. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ''''''25''''''60''' | ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134/ตอนที่ 40 ก/6 เมษายน 2560'''. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ''''''25''''''60''' | ||
สยามรัฐ. '''ความสำคัญของการแบ่งเขตเลือกตั้ง.''' ออนไลน์จาก https://siamrath.co.th/n/54273. เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2563 | สยามรัฐ. '''ความสำคัญของการแบ่งเขตเลือกตั้ง.''' ออนไลน์จาก [https://siamrath.co.th/n/54273 https://siamrath.co.th/n/54273]. เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2563 | ||
| | ||
บรรทัดที่ 82: | บรรทัดที่ 72: | ||
[[#_ftnref1|[1]]] มาตรา 86 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประกอบมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 | [[#_ftnref1|[1]]] มาตรา 86 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประกอบมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 | ||
</div> <div id="ftn2"> | </div> <div id="ftn2"> | ||
[[#_ftnref2|[2]]] หมายเหตุ : คณะกรรมการการเลือกตั้งได้ประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จำนวน 66,188,503 คน เมื่อเฉลี่ยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสามร้อยห้าสิบคนจะได้จำนวนราษฎร 189,110 คน ต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนหนึ่งคน (สยามรัฐ,'''ความสำคัญของการแบ่งเขตเลือกตั้ง''', ออนไลน์จาก https://siamrath.co.th/n/54273, เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2563) | [[#_ftnref2|[2]]] หมายเหตุ : คณะกรรมการการเลือกตั้งได้ประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จำนวน 66,188,503 คน เมื่อเฉลี่ยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสามร้อยห้าสิบคนจะได้จำนวนราษฎร 189,110 คน ต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนหนึ่งคน (สยามรัฐ,'''ความสำคัญของการแบ่งเขตเลือกตั้ง''', ออนไลน์จาก [https://siamrath.co.th/n/54273 https://siamrath.co.th/n/54273], เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2563) | ||
</div> <div id="ftn3"> | </div> <div id="ftn3"> | ||
[[#_ftnref3|[3]]] มาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 | [[#_ftnref3|[3]]] มาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 | ||
</div> <div id="ftn4"> | </div> <div id="ftn4"> | ||
[[#_ftnref4|[4]]] มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 | [[#_ftnref4|[4]]] มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 | ||
</div> </div> | </div> </div> | ||
[[Category:พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:39, 4 กุมภาพันธ์ 2564
ผู้เรียบเรียง ผศ.ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ศ.ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ
การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
1. ความสำคัญของการแบ่งเขตเลือกตั้ง
การแบ่งเขตเลือกตั้งมีความสำคัญต่อการเลือกตั้งของประเทศไทย เพราะทุกคะแนนเสียงของประชาชนมีค่า การคำนวณสัดส่วนประชาชนเพื่อเป็นเกณฑ์ในการแบ่งเขตเลือกตั้งจึงกลายเป็นสิ่งสำคัญของระบบการเลือกตั้ง นอกจากนี้ การแบ่งเขตเลือกตั้งยังคงมีความสำคัญต่อพรรคการเมืองที่ส่งสมาชิกพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง เนื่องจากจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจะมีผลต่อการคำนวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมือง (มาตรา 91 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560) ดังนั้น หากพรรคการเมืองใดมีสัดส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวนมากย่อมส่งผลให้ได้จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อจำนวนมากขึ้นเช่นกัน
2. หลักการแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 83 กำหนดให้มีสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจำนวนห้าร้อยคน ประกอบด้วย (1) สมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวนสามร้อยห้าสิบคน (2) สมาชิกซึ่งมาจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองจำนวนหนึ่งร้อยห้าสิบคน ดังนั้น การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งแบบเขตเลือกตั้งจึงต้องมี 350 เขต จึงมีหลักการกำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมีและการแบ่งเขตเลือกตั้ง ดังนี้[1]
1) ให้ใช้จำนวนราษฎรทั้งประเทศตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มี การเลือกตั้ง เฉลี่ยด้วยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสามร้อยห้าสิบคน จำนวนที่ได้รับให้ถือว่าเป็นจำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน[2]
2) จังหวัดใดมีราษฎรไม่ถึงเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคนตาม (1) ให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดนั้นได้หนึ่งคน โดยให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
3) จังหวัดใดมีราษฎรเกินจำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน ให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดนั้นเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคนทุกจำนวนราษฎรที่ถึงเกณฑ์จำนวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน
4) เมื่อได้จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของแต่ละจังหวัดตาม (2) และ (3) แล้ว ถ้าจำนวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรยังไม่ครบสามร้อยห้าสิบคน จังหวัดใดมีเศษที่เหลือจากการคํานวณตาม (3) มากที่สุด ให้จังหวัดนั้นมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน และให้เพิ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามวิธีการดังกล่าวแก่จังหวัดที่มีเศษที่เหลือจากการคํานวณนั้นในลำดับรองลงมาตามลำดับจนครบจำนวนสามร้อยห้าสิบคน
5) จังหวัดใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เกินหนึ่งคน ให้แบ่งเขตจังหวัดออกเป็นเขตเลือกตั้งเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พึงมี โดยต้องแบ่งพื้นที่ของเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ติดต่อกัน และต้องจัดให้มีจำนวนราษฎรในแต่ละเขตใกล้เคียงกัน
หลักการแบ่งพื้นที่ให้เขตติดต่อกันและมีจำนวนราษฎรใกล้เคียงกันให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้[3]
(1) ให้รวมอำเภอต่าง ๆ เป็นเขตเลือกตั้ง โดยคำนึงถึงพื้นที่ที่ติดต่อใกล้ชิดกัน ความสะดวกใน การคมนาคมระหว่างกัน และการเคยอยู่ในเขตเลือกตั้งเดียวกัน ถ้าการรวมอำเภอในลักษณะนี้จะทำให้ มีจำนวนราษฎรมากหรือน้อยเกินไป ให้แยกตำบลของอำเภอออกเพื่อให้ได้จำนวนราษฎรพอเพียงสำหรับ การเป็นเขตเลือกตั้ง แต่จะแยกหรือรวมเฉพาะเพียงบางส่วนของตำบลไม่ได้
(2) ในกรณีที่การกำหนดพื้นที่ตามเกณฑ์ใน (1) จะทำให้จำนวนราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้ง มีจำนวนไม่ใกล้เคียงกันหรือไม่มีสภาพเป็นชุมชนเดียวกัน ให้ดำเนินการแบ่งเขตเลือกตั้งตามสภาพ ของชุมชนที่ราษฎรมีการติดต่อกันเป็นประจำในลักษณะที่เป็นชุมชนเดียวกันหรือใกล้เคียงกันและสามารถ เดินทางติดต่อกันได้โดยสะดวก โดยจะต้องทำให้จำนวนราษฎรมีจำนวนใกล้เคียงกันมากที่สุด
(3) เปิดโอกาสให้พรรคการเมืองและประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อประกอบ การพิจารณาเกี่ยวกับการแบ่งเขตเลือกตั้งตาม (1) และ (2) ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด
สำหรับการรับฟังความคิดเห็นเรื่องการแบ่งเขตเลือกตั้งของไทยครั้งล่าสุดเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง การรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ลงวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน 2561 กำหนดระยะเวลาในการยื่นคำร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็นตั้งแต่วันที่ 20 - 25 พฤศจิกายน 2561
เมื่อได้ดำเนินการแบ่งเขตเลือกตั้งแล้ว ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศในราชกิจจานุเบกษา และให้ใช้เขตเลือกตั้งนั้นจนกว่าจะมีการเลือกตั้งทั่วไปครั้งใหม่[4] โดยคณะกรรมการการเลือกตั้งได้ออกประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2561 เห็นชอบให้มีการแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวน 350 เขตเลือกตั้ง
กล่าวโดยสรุป หลักเกณฑ์ในการแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจึงมีหลักการอยู่ 4 ข้อ คือ
1. การแบ่งเขตเลือกตั้งต้องแบ่งพื้นที่ของเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ติดต่อกัน
2. ต้องจัดให้มีจำนวนราษฎรในแต่ละเขตใกล้เคียงกัน
3. ต้องเปิดโอกาสให้พรรคการเมืองและประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการแบ่งเขตเลือกตั้ง
4. ต้องประกาศให้ประชาชนทราบล่วงหน้าก่อนเลือกตั้ง โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3. บรรณานุกรม
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135/ตอนที่ 101ก/29 พฤศจิกายน 2561. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135/ตอนที่ 68ก/12 กันยายน 2561. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134/ตอนที่ 40 ก/6 เมษายน 2560. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช '25'60
สยามรัฐ. ความสำคัญของการแบ่งเขตเลือกตั้ง. ออนไลน์จาก https://siamrath.co.th/n/54273. เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2563
อ้างอิง
[1] มาตรา 86 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประกอบมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561
[2] หมายเหตุ : คณะกรรมการการเลือกตั้งได้ประกาศจำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จำนวน 66,188,503 คน เมื่อเฉลี่ยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสามร้อยห้าสิบคนจะได้จำนวนราษฎร 189,110 คน ต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนหนึ่งคน (สยามรัฐ,ความสำคัญของการแบ่งเขตเลือกตั้ง, ออนไลน์จาก https://siamrath.co.th/n/54273, เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2563)
[3] มาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561
[4] มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561