ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายไซเบอร์ (พระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว ผู..."
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 26: บรรทัดที่ 26:
'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''ตามพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 ได้ให้อำนาจรัฐและฝ่ายความมั่นคงไว้อย่างกว้างขวางในกิจการทั้งปวงของโลกไซเบอร์หรือโลกออนไลน์ ดังจะเห็นได้จากนิยามความหมายของคำว่า “ไซเบอร์” ซึ่งหมายถึง บรรดาข้อมูลและการสื่อสารรูปแบบต่างๆ ที่เกิดจากบริการหรือการประยุกต์ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ต ตลอดจน โครงข่ายโทรคมนาคม และสำหรับการให้ความหมายของการกระทำที่เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ คือ บรรดาการกระทำใดๆ ทั้งปวงผ่านเครือข่าย โครงข่ายข่างต้นอันมีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางทหาร ตลอดจน ความสงบเรียบร้อยโดยรวมของประเทศ (มาตรา 3) ทั้งนี้ สำหรับองค์ประกอบอื่นๆ ของกฎหมาย<br/> ไซเบอร์ที่สำคัญ มีดังนี้
'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''ตามพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 ได้ให้อำนาจรัฐและฝ่ายความมั่นคงไว้อย่างกว้างขวางในกิจการทั้งปวงของโลกไซเบอร์หรือโลกออนไลน์ ดังจะเห็นได้จากนิยามความหมายของคำว่า “ไซเบอร์” ซึ่งหมายถึง บรรดาข้อมูลและการสื่อสารรูปแบบต่างๆ ที่เกิดจากบริการหรือการประยุกต์ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ต ตลอดจน โครงข่ายโทรคมนาคม และสำหรับการให้ความหมายของการกระทำที่เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ คือ บรรดาการกระทำใดๆ ทั้งปวงผ่านเครือข่าย โครงข่ายข่างต้นอันมีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางทหาร ตลอดจน ความสงบเรียบร้อยโดยรวมของประเทศ (มาตรา 3) ทั้งนี้ สำหรับองค์ประกอบอื่นๆ ของกฎหมาย<br/> ไซเบอร์ที่สำคัญ มีดังนี้


&nbsp;
1.&nbsp;&nbsp;'''องค์กรและคณะทำงาน'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;
 
#&nbsp;&nbsp;'''องค์กรและคณะทำงาน'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;  


ตามกฎหมายไซเบอร์ได้กำหนดให้มีการจัดตั้งหน่วยงานสำหรับการสอดส่อง ระงับยับยั้งภัยคุกคามทางไซเบอร์ใน 2 ระดับด้วยกัน คือ '''ระดับนโยบาย '''กำหนดให้มี “'''คณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ'''” '''(กมช.)''' (มาตรา 5) โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ และกรรมการโดยตำแหน่ง เช่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นต้น และให้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์เข้าร่วมด้วย'''(กกม.) '''(มาตรา 12)''' โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัล เป็นประธานกรรม และให้หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง เช่น ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงคมนาคม ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เลขาธิการสภาความมั่นคง ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เป็นต้น
ตามกฎหมายไซเบอร์ได้กำหนดให้มีการจัดตั้งหน่วยงานสำหรับการสอดส่อง ระงับยับยั้งภัยคุกคามทางไซเบอร์ใน 2 ระดับด้วยกัน คือ '''ระดับนโยบาย '''กำหนดให้มี “'''คณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ'''” '''(กมช.)''' (มาตรา 5) โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ และกรรมการโดยตำแหน่ง เช่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นต้น และให้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์เข้าร่วมด้วย'''(กกม.) '''(มาตรา 12)'''โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัล เป็นประธานกรรม และให้หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง เช่น ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงคมนาคม ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เลขาธิการสภาความมั่นคง ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เป็นต้น'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นอกจากนี้ ภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการรรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ ยังมีการจัดตั้ง'''“คณะกรรมการบริหารสำนักงานคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์” (กบส.)''' อีกคณะหนึ่งเพื่อดูแลด้านกิจการบริหารงานทั่วไป โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธานกรรมการ กล่าวอีกนัยหนึ่ง คณะกรรมการบริหารสำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์เปรียบเสมือน “บอร์ดบริหาร” นั่นเอง อย่างไรก็ตาม จะพบว่าการจัดตั้งโครงสร้างองค์กรและคณะทำงานด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์นั้นมีลักษณะเป็นการจัดระเบียบแบบราชการทั่วๆ ไป ที่มีคณะทำงานทั้งด้านนโยบาย ประสานงาน และระดับนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นอกจากนี้ ภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการรรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ ยังมีการจัดตั้ง'''“คณะกรรมการบริหารสำนักงานคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์” (กบส.)''' อีกคณะหนึ่งเพื่อดูแลด้านกิจการบริหารงานทั่วไป โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธานกรรมการ กล่าวอีกนัยหนึ่ง คณะกรรมการบริหารสำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์เปรียบเสมือน “บอร์ดบริหาร” นั่นเอง อย่างไรก็ตาม จะพบว่าการจัดตั้งโครงสร้างองค์กรและคณะทำงานด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์นั้นมีลักษณะเป็นการจัดระเบียบแบบราชการทั่วๆ ไป ที่มีคณะทำงานทั้งด้านนโยบาย ประสานงาน และระดับนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ


&nbsp;
'''2. การจัดทำนโยบายและแผนเพื่อสอดส่อง ควบคุม โลกไซเบอร์'''
 
#&nbsp;'''การจัดทำนโยบายและแผนเพื่อสอดส่อง ควบคุม โลกไซเบอร์'''  


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กระบวนการดำเนินงานด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ได้กำหนดให้มีการจัดทำนโยบายและแผนโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อการป้องกัน รับมือ รวมทั้งลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภารกิจในการปกป้อง “โครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศของประเทศ” ทั้งนี้ สำหรับการจัดทำนโยบายและแผนมีกรอบแนวทางที่สำคัญ 5 ประการ (มาตรา 41) คือ (1) การบูรณาการการบริหารจัดการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของประเทศ โดยการประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน &nbsp;(2) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติภารกิจ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรเพื่อปฏิบัติภารกิจ (3) การสร้างมาตรการในการปกป้องโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญทางสารสนเทศของประเทศ (4) การพัฒนา ปรับปรุงระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้ทันสมัย และ (5) การสร้างความตระหนักรู้และเผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆ ไปยังสาธารณชน
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กระบวนการดำเนินงานด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ได้กำหนดให้มีการจัดทำนโยบายและแผนโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อการป้องกัน รับมือ รวมทั้งลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภารกิจในการปกป้อง “โครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศของประเทศ” ทั้งนี้ สำหรับการจัดทำนโยบายและแผนมีกรอบแนวทางที่สำคัญ 5 ประการ (มาตรา 41) คือ (1) การบูรณาการการบริหารจัดการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของประเทศ โดยการประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน &nbsp;(2) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติภารกิจ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรเพื่อปฏิบัติภารกิจ (3) การสร้างมาตรการในการปกป้องโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญทางสารสนเทศของประเทศ (4) การพัฒนา ปรับปรุงระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้ทันสมัย และ (5) การสร้างความตระหนักรู้และเผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆ ไปยังสาธารณชน
บรรทัดที่ 44: บรรทัดที่ 40:
กล่าวได้ว่า ในประเด็นของนโยบายและแผน รวมทั้ง การกำหนดองค์กรหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์นั้น ได้มีการบูรณาการองคาพยพในทุกภาคส่วนให้เข้ามาเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติภารกิจ และบรรดาหน่วยงานเหล่านั้นจะต้องปฏิบัติตามคำสั่ง ข้อกำหนดต่างๆ ที่ภาครัฐจะกำหนดกฎเกณฑ์ออกมา
กล่าวได้ว่า ในประเด็นของนโยบายและแผน รวมทั้ง การกำหนดองค์กรหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์นั้น ได้มีการบูรณาการองคาพยพในทุกภาคส่วนให้เข้ามาเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติภารกิจ และบรรดาหน่วยงานเหล่านั้นจะต้องปฏิบัติตามคำสั่ง ข้อกำหนดต่างๆ ที่ภาครัฐจะกำหนดกฎเกณฑ์ออกมา


&nbsp;
'''3.ระดับคุกคามทางไซเบอร์'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;
 
#'''ระดับคุกคามทางไซเบอร์'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;  


หัวใจสำคัญของกฎหมายไซเบอร์ฉบับนี้คือการป้องกัน ระงับ ยับยั้งภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่จะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โครงข่ายคมนาคม ฯลฯ โดยภัยคุกคามทางไซเบอร์สามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 ระดับด้วยกัน (มาตรา 60) คือ ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับไม่ร้ายแรง<br/> ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับร้ายแรง และ ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับวิกฤต สามารถอธิบายได้โดยสรุป ดังนี้
หัวใจสำคัญของกฎหมายไซเบอร์ฉบับนี้คือการป้องกัน ระงับ ยับยั้งภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่จะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โครงข่ายคมนาคม ฯลฯ โดยภัยคุกคามทางไซเบอร์สามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 ระดับด้วยกัน (มาตรา 60) คือ ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับไม่ร้ายแรง<br/> ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับร้ายแรง และ ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับวิกฤต สามารถอธิบายได้โดยสรุป ดังนี้
บรรทัดที่ 58: บรรทัดที่ 52:
การกำหนดระดับภัยคุกคามทางไซเบอร์จากระดับไม่ร้ายแรง หรือร้ายแรงน้อย ไปจนกระทั่งระดับวิกฤตได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานหรือระดับของความเสียหายที่อันอาจจะเกิดขึ้นต่อประเทศ ซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้ มีความคล้ายคลึงระดับการเตือนภัยของกฎหมายความมั่นคงของประเทศไทย
การกำหนดระดับภัยคุกคามทางไซเบอร์จากระดับไม่ร้ายแรง หรือร้ายแรงน้อย ไปจนกระทั่งระดับวิกฤตได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานหรือระดับของความเสียหายที่อันอาจจะเกิดขึ้นต่อประเทศ ซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้ มีความคล้ายคลึงระดับการเตือนภัยของกฎหมายความมั่นคงของประเทศไทย


&nbsp;
'''4. อำนาจในการปฏิบัติภารกิจความมั่นคงทางไซเบอร์'''
 
#'''อำนาจในการปฏิบัติภารกิจความมั่นคงทางไซเบอร์'''  


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อพิจารณาถึงอำนาจของรัฐในการปฏิบัติภารกิจเพื่อรักษาความมั่นคงทางไซเบอร์พบว่าสามารถแบ่งอำนาจได้ออกเป็น 3 ช่วงเวลาของสถานการณ์ คือ 1) อำนาจรัฐในการเฝ้าระวังภัยคุกคามทางไซเบอร์ 2) อำนาจรัฐในระหว่างเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์ และ 3) อำนาจรัฐในสถานการณ์วิกฤต สามารถอธิบายได้ดังนี้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อพิจารณาถึงอำนาจของรัฐในการปฏิบัติภารกิจเพื่อรักษาความมั่นคงทางไซเบอร์พบว่าสามารถแบ่งอำนาจได้ออกเป็น 3 ช่วงเวลาของสถานการณ์ คือ 1) อำนาจรัฐในการเฝ้าระวังภัยคุกคามทางไซเบอร์ 2) อำนาจรัฐในระหว่างเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์ และ 3) อำนาจรัฐในสถานการณ์วิกฤต สามารถอธิบายได้ดังนี้
บรรทัดที่ 76: บรรทัดที่ 68:
'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;'''ภายหลังสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้เห็นชอบพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 เมื่อวันที่28 กุมภาพันธ์ 2562 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม ในปีเดียวกันนั้น ภายใต้โครงสร้างการใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 ตามที่ปรากฏนั้น ได้มีกระแสสังคม ข้อวิพากษ์วิจารณ์ และความกังวลต่อการกฎหมายดังกล่าวอย่างกว้างขวางโดยเฉพาะอย่างในประเด็นของการควบคุมสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการแสดงออก
'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;'''ภายหลังสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้เห็นชอบพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 เมื่อวันที่28 กุมภาพันธ์ 2562 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม ในปีเดียวกันนั้น ภายใต้โครงสร้างการใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 ตามที่ปรากฏนั้น ได้มีกระแสสังคม ข้อวิพากษ์วิจารณ์ และความกังวลต่อการกฎหมายดังกล่าวอย่างกว้างขวางโดยเฉพาะอย่างในประเด็นของการควบคุมสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการแสดงออก


ดังเช่นความเห็นของนายสุณัย ผาสุข ที่ปรึกษาองค์กรสิทธิมนุษยชนฮิวแมนไรท์วอทช์ (Human Rights Watch) เห็นว่าโครงสร้างและอำนาจภายใต้กฎหมายฉบับนี้ จะปูทางให้เกิดสภาวะที่เรียกว่า<br/> “Big Brother” ซ้ำเติมประเด็นเรื่องสิทธิเสรีภาพในโลกออนไลน์ และการแสดงความคิดเห็นของประชาชนภายใต้รัฐบาล คสช. ให้ย่ำแย่ลง ขณะเดียวกันก็ตั้งความหวังว่าพรรคการเมือง ตลอดจนภาคส่วนต่างๆ<br/> จะประกาศจุดยืนในการทบทวนแก้ไขกฎหมายฉบับดังกล่าวเป็นการเร่งด่วน ภายหลังมีรัฐบาลและรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง[[#_ftn7|[7]]]
ดังเช่นความเห็นของนายสุณัย ผาสุข ที่ปรึกษาองค์กรสิทธิมนุษยชนฮิวแมนไรท์วอทช์ (Human Rights Watch) เห็นว่าโครงสร้างและอำนาจภายใต้กฎหมายฉบับนี้ จะปูทางให้เกิดสภาวะที่เรียกว่า “Big Brother” ซ้ำเติมประเด็นเรื่องสิทธิเสรีภาพในโลกออนไลน์ และการแสดงความคิดเห็นของประชาชนภายใต้รัฐบาล คสช. ให้ย่ำแย่ลง ขณะเดียวกันก็ตั้งความหวังว่าพรรคการเมือง ตลอดจนภาคส่วนต่างๆ จะประกาศจุดยืนในการทบทวนแก้ไขกฎหมายฉบับดังกล่าวเป็นการเร่งด่วน ภายหลังมีรัฐบาลและรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง[[#_ftn7|[7]]]


ด้านนายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ อดีตแกนนำพรรคเพื่อไทย เห็นว่าด้วยกฎหมายฉบับนี้ มีลักษณะเป็นการบรรจุไว้ซึ่งกฎระเบียบจำนวนมาก มีโครงสร้างองค์กร คณะกรรมการที่ซับซ้อน ซึ่งเกี่ยวข้องและส่งผลกระทบต่อผู้คนเป็นจำนวนมากในโลกยุคปัจจุบัน ข้อเสียสำคัญประการหนึ่งของกฎหมายฉบับนี้คือ การให้อำนาจรัฐสามารถเข้าถึงข้อมูลของบุคคลธรรมดาได้ทุกเมื่อ นอกจากนี้ ยังเห็นว่าการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวอาจจะกระทบไปถึงความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการและการลงทุนในทางธุรกิจด้วย[[#_ftn8|[8]]]
ด้านนายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ อดีตแกนนำพรรคเพื่อไทย เห็นว่าด้วยกฎหมายฉบับนี้ มีลักษณะเป็นการบรรจุไว้ซึ่งกฎระเบียบจำนวนมาก มีโครงสร้างองค์กร คณะกรรมการที่ซับซ้อน ซึ่งเกี่ยวข้องและส่งผลกระทบต่อผู้คนเป็นจำนวนมากในโลกยุคปัจจุบัน ข้อเสียสำคัญประการหนึ่งของกฎหมายฉบับนี้คือ การให้อำนาจรัฐสามารถเข้าถึงข้อมูลของบุคคลธรรมดาได้ทุกเมื่อ นอกจากนี้ ยังเห็นว่าการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวอาจจะกระทบไปถึงความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการและการลงทุนในทางธุรกิจด้วย[[#_ftn8|[8]]]
บรรทัดที่ 100: บรรทัดที่ 92:
“กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). '''แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม'''. กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
“กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). '''แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม'''. กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.


““ชัชชาติ” ห่วง พ.ร.บ.ไซเบอร์ เสี่ยงละเมิดสิทธิ ปชช. กระทบความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ.” '''มติชนออนไลน์'''. (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.matichon.co.th/<br/> politics/news_1385185>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
““ชัชชาติ” ห่วง พ.ร.บ.ไซเบอร์ เสี่ยงละเมิดสิทธิ ปชช. กระทบความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ.” '''มติชนออนไลน์'''. (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <[https://www.matichon.co.th/ https://www.matichon.co.th/]<br/> politics/news_1385185>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.


“นักเศรษฐศาสตร์แนะรัฐบาลใหม่ควรทบทวน พ.ร.บ.ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์.” '''ประชาไท'''.<br/> (3 มีนาคม 2562). เข้าถึงจาก <https://prachatai.com/journal/2019/03/81313>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
“นักเศรษฐศาสตร์แนะรัฐบาลใหม่ควรทบทวน พ.ร.บ.ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์.” '''ประชาไท'''.<br/> (3 มีนาคม 2562). เข้าถึงจาก <[https://prachatai.com/journal/2019/03/81313 https://prachatai.com/journal/2019/03/81313]>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.


“พ.ร.บ. ไซเบอร์: สนช. เห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ. มั่นคงไซเบอร์ ประกาศใช้เป็นกฎหมาย.” '''บีบีซี'''. (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.bbc.com/thai/international-47371101>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
“พ.ร.บ. ไซเบอร์: สนช. เห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ. มั่นคงไซเบอร์ ประกาศใช้เป็นกฎหมาย.” '''บีบีซี'''. (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <[https://www.bbc.com/thai/international-47371101 https://www.bbc.com/thai/international-47371101]>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.


“พระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562.” '''ราชกิจจานุเบกษา'''. เล่มที่ 136 ตอนที่ 69 ก, วันที่ 27 พฤษภาคม 2562.
“พระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562.” '''ราชกิจจานุเบกษา'''. เล่มที่ 136 ตอนที่ 69 ก, วันที่ 27 พฤษภาคม 2562.
บรรทัดที่ 110: บรรทัดที่ 102:
“ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. 2560.” '''ราชกิจจานุเบกษา'''. เล่มที่ 134 ตอนพิเศษ 259 ง, หน้า 1-7.
“ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. 2560.” '''ราชกิจจานุเบกษา'''. เล่มที่ 134 ตอนพิเศษ 259 ง, หน้า 1-7.


“(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล” “(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy)." '''สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์'''. เข้าถึงจาก <https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
“(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล” “(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy)." '''สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์'''. เข้าถึงจาก <[https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws]>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.


“(ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. ….” '''สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์'''. เข้าถึงจาก <https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/<br/> detail/de-laws-cyber-security-protection-act>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
“(ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. ….” '''สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์'''. เข้าถึงจาก <[https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/ https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/]<br/> detail/de-laws-cyber-security-protection-act>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.


“สนช. ผ่าน “พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์" ให้อำนาจค้นสถานที่ หากพบภัยคุกคาม.” '''สำนักข่าวอิศรา'''. (28 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.isranews.org/isranews-short-news/74244-news-7424412.html>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
“สนช. ผ่าน “พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์" ให้อำนาจค้นสถานที่ หากพบภัยคุกคาม.” '''สำนักข่าวอิศรา'''. (28 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <[https://www.isranews.org/isranews-short-news/74244-news-7424412.html https://www.isranews.org/isranews-short-news/74244-news-7424412.html]>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.


&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 120: บรรทัดที่ 112:
----
----
<div id="ftn1">
<div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]] ดูหลักการ-เหตุผล และสถานะการพิจารณากฎหมายแต่ละฉบับในชุด “(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล” “(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy)," '''สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์''', เข้าถึงจาก <https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
[[#_ftnref1|[1]]] ดูหลักการ-เหตุผล และสถานะการพิจารณากฎหมายแต่ละฉบับในชุด “(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล” “(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy)," '''สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์''', เข้าถึงจาก <[https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws]>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] “(ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. …,” '''สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์'''. เข้าถึงจาก <https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/detail/de-laws-cyber-security-protection-act>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
[[#_ftnref2|[2]]] “(ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. …,” '''สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์'''. เข้าถึงจาก <[https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/detail/de-laws-cyber-security-protection-act https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/detail/de-laws-cyber-security-protection-act]>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, '''แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม''', (กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2559).
[[#_ftnref3|[3]]] กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, '''แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม''', (กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2559).
บรรทัดที่ 128: บรรทัดที่ 120:
[[#_ftnref4|[4]]] “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. 2560,”<br/> '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่มที่ 134 ตอนพิเศษ 259 ง, หน้า 1-7.
[[#_ftnref4|[4]]] “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. 2560,”<br/> '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่มที่ 134 ตอนพิเศษ 259 ง, หน้า 1-7.
</div> <div id="ftn5">
</div> <div id="ftn5">
[[#_ftnref5|[5]]] โปรดดูบันทึกหลักการและเหตุผลประกอบ (ร่าง) กฎหมายไซเบอร์ฉบับคณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการจาก '''สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์'''. เข้าถึงจาก <https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/detail/de-laws-cyber-security-protection-act>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563. และหมายเหตุแนบท้าย “พระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562,” '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่มที่ 136 ตอนที่ 69 ก, วันที่ 27 พฤษภาคม 2562, หน้า 51.
[[#_ftnref5|[5]]] โปรดดูบันทึกหลักการและเหตุผลประกอบ (ร่าง) กฎหมายไซเบอร์ฉบับคณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการจาก '''สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์'''. เข้าถึงจาก <[https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/detail/de-laws-cyber-security-protection-act https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/detail/de-laws-cyber-security-protection-act]>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563. และหมายเหตุแนบท้าย “พระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562,” '''ราชกิจจานุเบกษา''', เล่มที่ 136 ตอนที่ 69 ก, วันที่ 27 พฤษภาคม 2562, หน้า 51.
</div> <div id="ftn6">
</div> <div id="ftn6">
[[#_ftnref6|[6]]] “สนช. ผ่าน “พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์" ให้อำนาจค้นสถานที่ หากพบภัยคุกคาม,” '''สำนักข่าวอิศรา''', (28 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.isranews.org/isranews-short-news/74244-news-7424412.html>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
[[#_ftnref6|[6]]] “สนช. ผ่าน “พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์" ให้อำนาจค้นสถานที่ หากพบภัยคุกคาม,” '''สำนักข่าวอิศรา''', (28 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <[https://www.isranews.org/isranews-short-news/74244-news-7424412.html https://www.isranews.org/isranews-short-news/74244-news-7424412.html]>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]] “พ.ร.บ. ไซเบอร์: สนช. เห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ. มั่นคงไซเบอร์ ประกาศใช้เป็นกฎหมาย,” '''บีบีซี''', (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.bbc.com/thai/international-47371101>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
[[#_ftnref7|[7]]] “พ.ร.บ. ไซเบอร์: สนช. เห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ. มั่นคงไซเบอร์ ประกาศใช้เป็นกฎหมาย,” '''บีบีซี''', (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <[https://www.bbc.com/thai/international-47371101 https://www.bbc.com/thai/international-47371101]>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
</div> <div id="ftn8">
</div> <div id="ftn8">
[[#_ftnref8|[8]]] “ชัชชาติ” ห่วง พ.ร.บ.ไซเบอร์ เสี่ยงละเมิดสิทธิ ปชช. กระทบความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ,” '''มติชนออนไลน์''', (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.matichon.co.th/politics/news_1385185>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
[[#_ftnref8|[8]]] “ชัชชาติ” ห่วง พ.ร.บ.ไซเบอร์ เสี่ยงละเมิดสิทธิ ปชช. กระทบความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ,” '''มติชนออนไลน์''', (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <[https://www.matichon.co.th/politics/news_1385185 https://www.matichon.co.th/politics/news_1385185]>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
</div> <div id="ftn9">
</div> <div id="ftn9">
[[#_ftnref9|[9]]] “นักเศรษฐศาสตร์แนะรัฐบาลใหม่ควรทบทวน พ.ร.บ.ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์,” '''ประชาไท''', (3 มีนาคม 2562). เข้าถึงจาก <https://prachatai.com/journal/2019/03/81313>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
[[#_ftnref9|[9]]] “นักเศรษฐศาสตร์แนะรัฐบาลใหม่ควรทบทวน พ.ร.บ.ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์,” '''ประชาไท''', (3 มีนาคม 2562). เข้าถึงจาก <[https://prachatai.com/journal/2019/03/81313 https://prachatai.com/journal/2019/03/81313]>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.
</div> </div> <div><div id="ftn1">&nbsp;</div> </div>
</div> </div> <div><div id="ftn1">&nbsp;</div> </div>

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:20, 1 กุมภาพันธ์ 2564

ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ดร. สติธร ธนานิธิโชติ


ความนำ

กฎหมายไซเบอร์ หรือพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 เป็นหนึ่งในชุด “กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล” (Digital Economy)[1] ซึ่งประกอบด้วยการปฏิรูปกฎหมายเก่าที่เกี่ยวข้องให้ทันสมัยและบัญญัติกฎหมายใหม่เพื่อประกาศใช้ อาทิ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2559 เพื่อจัดตั้งกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 เป็นต้น โดยชุดกฎหมายดิจิทัลนี้ได้ริเริ่มมาตั้งแต่ปี 2557 สมัยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อย่างไรก็ตาม สำหรับกฎหมายไซเบอร์ หรือพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 ได้มีพัฒนาการและข้อถกเถียงของสังคมมาตั้งแต่ปี 2558 ในคราวคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติหลักการร่างกฎหมาย และได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาและขับเคลื่อนภารกิจในมิติต่างๆ ทั้งนี้ กฎหมายดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการของสภานิติบัญญัติแห่งชาติเมื่อปี 2562 ท่ามกลางความกังวลและข้อวิจารณ์เกี่ยวกับอำนาจรัฐในการสอดส่องและจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน ตลอดจนการใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือในการจำกัดผู้ความเห็นต่างทางการเมือง

 

จุดเริ่มต้นของกฎหมายไซเบอร์

          พระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 ได้มีแนวคิดในการยกร่างกฎหมายมาตั้งแต่ปี 2558 ดังจะเห็นได้จากการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติเห็นชอบในหลักการ (ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. …[2] เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2558 ต่อมาเมื่อปี 2559 คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบ “แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” ซึ่งหนึ่งในพันธกิจตามแผนฯ ดังกล่าว คือ รัฐจะต้องดำเนินการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลให้มีความทันสมัย สอดคล้องบริบทของสังคมในปัจจุบัน[3] และในปี 2560 รัฐบาลได้ออกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. 2560 เพื่อศึกษาและจัดทำนโยบายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการพัฒนาระเบียบและกฎหมายเพื่อความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์[4] ดังนั้น นับตั้งแต่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการของ (ร่าง) กฎหมายด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติเมื่อปี 2558 ภาครัฐได้มีการขับเคลื่อนในประเด็นของการพัฒนาระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลมาโดยตลอด

ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาบันทึกหลักการและเหตุผลประกอบ (ร่าง) กฎหมายฉบับคณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการเมื่อปี 2558 และหมายเหตุแนบท้ายพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์
พ.ศ. 2562[5] พบว่าการริเริ่มบัญญัติกฎหมายไซเบอร์เพื่อบังคับใช้นั้น มีสาเหตุมาจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นปัจจัยที่ยกระดับ และประยุกต์ใช้ในการทำธุรกรรมและการติดต่อสื่อสารในปัจจุบัน ประกอบกับการบริการรูปแบบต่างๆ ในปัจจุบันทั้งภาครัฐและเอกชนมีการประยุกต์ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โครงข่ายโทรคมนาคมกันอย่างแพร่หลาย ลักษณะเช่นนี้อาจจเกิดความเสี่ยงหรือก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อภัยคุกคามและการก่ออาชญากรรมทางไซเบอร์ที่ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง ด้วยเหตุนี้ การบังคับใช้กฎหมายไซเบอร์จึงเป็น “กลไกทางกฎหมาย” ที่มีความจำเป็นเพื่อสอดส่อง ควบคุม ระงับยับยั้ง การกระทำใดๆ ที่สุ่มเสี่ยงต่อความมั่นคงทางไซเบอร์

อย่างไรก็ตาม ภายหลังคณะรัฐมนตรีเห็นชอบใน (ร่าง) กฎหมายไซเบอร์ในปี 2558 ท่ามกลางความวิตกกังวลว่ากฎหมายดังกล่าวจะนำไปสู่การใช้อำนาจรัฐในทางมิชอบและมุ่งจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการตรากฎหมายได้มีการปรับปรุงแก้ไขร่างกฎหมาย ตลอดจนกระบวนการรับฟังความเห็นจากหลายภาคส่วน จนกระทั่งเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562 สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ลงมติผ่านร่างกฎหมายด้วยคะแนนเสียง 133 เสียง งดออกเสียง 16 เสียง จากสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเข้าร่วมทั้งหมด 149 คน[6]

 

โครงสร้างอำนาจ: การสอดส่อง และควบคุมโลกไซเบอร์

          ตามพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 ได้ให้อำนาจรัฐและฝ่ายความมั่นคงไว้อย่างกว้างขวางในกิจการทั้งปวงของโลกไซเบอร์หรือโลกออนไลน์ ดังจะเห็นได้จากนิยามความหมายของคำว่า “ไซเบอร์” ซึ่งหมายถึง บรรดาข้อมูลและการสื่อสารรูปแบบต่างๆ ที่เกิดจากบริการหรือการประยุกต์ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ต ตลอดจน โครงข่ายโทรคมนาคม และสำหรับการให้ความหมายของการกระทำที่เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ คือ บรรดาการกระทำใดๆ ทั้งปวงผ่านเครือข่าย โครงข่ายข่างต้นอันมีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางทหาร ตลอดจน ความสงบเรียบร้อยโดยรวมของประเทศ (มาตรา 3) ทั้งนี้ สำหรับองค์ประกอบอื่นๆ ของกฎหมาย
ไซเบอร์ที่สำคัญ มีดังนี้

1.  องค์กรและคณะทำงาน   

ตามกฎหมายไซเบอร์ได้กำหนดให้มีการจัดตั้งหน่วยงานสำหรับการสอดส่อง ระงับยับยั้งภัยคุกคามทางไซเบอร์ใน 2 ระดับด้วยกัน คือ ระดับนโยบาย กำหนดให้มี “คณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ(กมช.) (มาตรา 5) โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ และกรรมการโดยตำแหน่ง เช่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นต้น และให้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์เข้าร่วมด้วย(กกม.) (มาตรา 12)โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัล เป็นประธานกรรม และให้หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง เช่น ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงคมนาคม ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เลขาธิการสภาความมั่นคง ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เป็นต้น

                นอกจากนี้ ภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการรรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ ยังมีการจัดตั้ง“คณะกรรมการบริหารสำนักงานคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์” (กบส.) อีกคณะหนึ่งเพื่อดูแลด้านกิจการบริหารงานทั่วไป โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธานกรรมการ กล่าวอีกนัยหนึ่ง คณะกรรมการบริหารสำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์เปรียบเสมือน “บอร์ดบริหาร” นั่นเอง อย่างไรก็ตาม จะพบว่าการจัดตั้งโครงสร้างองค์กรและคณะทำงานด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์นั้นมีลักษณะเป็นการจัดระเบียบแบบราชการทั่วๆ ไป ที่มีคณะทำงานทั้งด้านนโยบาย ประสานงาน และระดับนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ

2. การจัดทำนโยบายและแผนเพื่อสอดส่อง ควบคุม โลกไซเบอร์

          กระบวนการดำเนินงานด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ได้กำหนดให้มีการจัดทำนโยบายและแผนโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อการป้องกัน รับมือ รวมทั้งลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภารกิจในการปกป้อง “โครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศของประเทศ” ทั้งนี้ สำหรับการจัดทำนโยบายและแผนมีกรอบแนวทางที่สำคัญ 5 ประการ (มาตรา 41) คือ (1) การบูรณาการการบริหารจัดการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของประเทศ โดยการประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน  (2) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติภารกิจ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรเพื่อปฏิบัติภารกิจ (3) การสร้างมาตรการในการปกป้องโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญทางสารสนเทศของประเทศ (4) การพัฒนา ปรับปรุงระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้ทันสมัย และ (5) การสร้างความตระหนักรู้และเผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆ ไปยังสาธารณชน

นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาถึงองค์กรและหน่วยงานที่มีความสำคัญและเป็นหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศของประเทศนั้น พบว่าภายใต้กฎหมายไซเบอร์ได้กำหนดให้หน่วยงานที่มีภารกิจดังนี้ เป็นหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ อย่างน้อยได้แก่ (1) ด้านความมั่นคง (2) ด้านบริการภาครัฐที่สำคัญ (3) ด้านการเงินการธนาคาร (4) ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม (5) ด้านการส่งขนและโลจิสติกส์ (6) ด้านพลังงานและสาธารณูปโภค และ (7) ด้านสาธารณสุข เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการเปิดโอกาสให้มีการประกาศกำหนดหน่วยงานที่มีภารกิจอื่นๆ ที่รัฐเห็นว่ามีความสำคัญต่อการปฏิบัติภารกิจเพิ่มเติมได้ในกรณีที่มีความจำเป็น นอกเหนือไปจากทั้ง 7 กลุ่มหลักข้างต้น

กล่าวได้ว่า ในประเด็นของนโยบายและแผน รวมทั้ง การกำหนดองค์กรหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์นั้น ได้มีการบูรณาการองคาพยพในทุกภาคส่วนให้เข้ามาเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติภารกิจ และบรรดาหน่วยงานเหล่านั้นจะต้องปฏิบัติตามคำสั่ง ข้อกำหนดต่างๆ ที่ภาครัฐจะกำหนดกฎเกณฑ์ออกมา

3.ระดับคุกคามทางไซเบอร์   

หัวใจสำคัญของกฎหมายไซเบอร์ฉบับนี้คือการป้องกัน ระงับ ยับยั้งภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่จะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โครงข่ายคมนาคม ฯลฯ โดยภัยคุกคามทางไซเบอร์สามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 ระดับด้วยกัน (มาตรา 60) คือ ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับไม่ร้ายแรง
ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับร้ายแรง และ ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับวิกฤต สามารถอธิบายได้โดยสรุป ดังนี้

              ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับไม่ร้ายแรง: ภัยคุกคามที่มีลักษณะความเสี่ยงทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานต่างๆ ที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานสำคัญของประเทศ รวมทั้ง การให้บริการของรัฐด้อยประสิทธิภาพลง

ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับร้ายแรง: ภัยคุกคามที่มีลักษณะการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ โครงข่ายต่างๆ เพื่อมุ่งทำลายโครงสร้างพื้นฐานสำคัญของประเทศอันนำไปสู่ความเสียหายหรือกระทบต่อความมั่นคงของรัฐในมิติต่างๆ ตลอดจน ความปลอดภัย และความสงบเรียบร้อยของประชาชน

               ภัยคุกคามทางไซเบอร์ระดับวิกฤต: ภัยคุกคามในระดับสุดท้ายนี้ ถือเป็นภัยระดับร้ายแรงที่สุด หรืออยู่ในระดับวิกฤต โดยลักษณะของภัยคุกคามขั้นสุดนี้ สามารถจำแนกได้เป็น 2 ลักษณะด้วยกันคือ หนึ่ง ภัยคุกคามที่มีลักษณะสร้างความเสียหายต่อโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศเป็นวงกว้าง จนส่งผลให้การให้บริการของโครงสร้างพื้นฐานนั้นๆ ล้มเหลวทั้งระบบจนไม่สามารถควบคุมได้ และ สอง ภัยคุกคามทางไซเบอร์อันกระทบหรืออาจกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือเป็นภัยต่อความมั่นคง และทำให้รัฐหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐตกอยู่ในภาวะคับขัน และรวมไปถึงมีการกระทำผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา การรบ หรือการสงคราม เป็นต้น

การกำหนดระดับภัยคุกคามทางไซเบอร์จากระดับไม่ร้ายแรง หรือร้ายแรงน้อย ไปจนกระทั่งระดับวิกฤตได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานหรือระดับของความเสียหายที่อันอาจจะเกิดขึ้นต่อประเทศ ซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้ มีความคล้ายคลึงระดับการเตือนภัยของกฎหมายความมั่นคงของประเทศไทย

4. อำนาจในการปฏิบัติภารกิจความมั่นคงทางไซเบอร์

          เมื่อพิจารณาถึงอำนาจของรัฐในการปฏิบัติภารกิจเพื่อรักษาความมั่นคงทางไซเบอร์พบว่าสามารถแบ่งอำนาจได้ออกเป็น 3 ช่วงเวลาของสถานการณ์ คือ 1) อำนาจรัฐในการเฝ้าระวังภัยคุกคามทางไซเบอร์ 2) อำนาจรัฐในระหว่างเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์ และ 3) อำนาจรัฐในสถานการณ์วิกฤต สามารถอธิบายได้ดังนี้

          1) อำนาจรัฐในการเฝ้าระวังภัยคุกคามทางไซเบอร์: อำนาจรัฐในสถานการณ์นี้หมายถึงในยามปกติ หรือรัฐมีเหตุอันต้องสงสัยใดๆ ว่าจะเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์ ซึ่งรัฐสามารถออกคำสั่งที่สำคัญๆ เช่น
การรวบรวมข้อมูล เอกสาร หลักฐาน และพยานบุคคลที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์นั้นๆ เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์สถานการณ์และผลกระทบ การขอความร่วมมือเพื่อเข้าตรวจค้นในสถานที่ใดๆ ที่คาดว่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับภัยคุกคามทางไซเบอร์ และการขอความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อเข้าร่วมภารกิจในการป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ เป็นต้น (มาตรา 61-63)

          2) อำนาจรัฐในระหว่างเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์: เมื่อสถานการณ์ด้านความมั่นคงไซเบอร์ตกอยู่ในระดับร้ายแรง รัฐสามารถใช้อำนาจเพื่อระงับยับยั้ง แก้ไขสถานการณ์ เช่น ตรวจสอบ/เข้าถึงข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ในทุกระดับ ออกชุดคำสั่งเพื่อให้มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ไขภัยคุกคาม ยึดหรืออายัดคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ที่ต้องสงสัย รวมทั้ง ยังสามารถขอความร่วมมือเพื่อเข้าตรวจค้นในสถานที่ต่างๆ ได้เท่าที่จำเป็น (มาตรา 64-66)

          3เมื่อรัฐประเมินว่าสถานการณ์ใดๆ เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ในระดับวิกฤตนั้น ให้เป็นอำนาจหน้าที่และอำนาจของสภาความมั่นคงแห่งชาติในการดำเนินภารกิจ
ในขณะเดียวกัน คณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์มีอำนาจดำเนินการใดๆ ควบคู่กันไปเพื่อป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ไปพลางก่อนโดยไม่จำเป็นต้องยื่นคำร้องต่อศาล (มาตรา 67-68)

จากประเด็นอำนาจของรัฐทั้ง 3 สถานการณ์ข้างต้น รัฐมีอำนาจครอบคลุมกิจการ หรือ ความเคลื่อนไหวทั้งปวงของโลกไซเบอร์ ซึ่งประเด็นตรงนี้นี่เองที่สังคมมีความกังวลว่าจะอำนาจรัฐที่มีอยู่อย่างล้นพ้นจะเข้าไปลุกล้ำสิทธิเสรีภาพของประชาชนในรูปแบบต่างๆ เช่น การเข้าถึงข้อมูลการติดต่อสื่อสารทุกประเภท การยึดเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เป็นต้น นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาในประเด็นของการนิยามความหมายของ “ระดับภัยคุกคามทางไซเบอร์” ก็จะพบว่ากฎหมายไซเบอร์ได้ให้อำนาจในการใช้ดุลยพินิจตีความสถานการณ์ไว้อย่างกว้างขวาง กล่าวอย่างเป็นรูปธรรม เพียงรัฐตีความสถานการณ์ว่าสถานการณ์ใดๆ “อาจจะ” กระทบต่อความมั่นคงทางไซเบอร์ รัฐก็สามารถหยิบใช้มาตรการต่างๆ ได้

ข้อวิพากษ์วิจารณ์ที่มีต่อกฎหมายไซเบอร์

           ภายหลังสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้เห็นชอบพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 เมื่อวันที่28 กุมภาพันธ์ 2562 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม ในปีเดียวกันนั้น ภายใต้โครงสร้างการใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 ตามที่ปรากฏนั้น ได้มีกระแสสังคม ข้อวิพากษ์วิจารณ์ และความกังวลต่อการกฎหมายดังกล่าวอย่างกว้างขวางโดยเฉพาะอย่างในประเด็นของการควบคุมสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการแสดงออก

ดังเช่นความเห็นของนายสุณัย ผาสุข ที่ปรึกษาองค์กรสิทธิมนุษยชนฮิวแมนไรท์วอทช์ (Human Rights Watch) เห็นว่าโครงสร้างและอำนาจภายใต้กฎหมายฉบับนี้ จะปูทางให้เกิดสภาวะที่เรียกว่า “Big Brother” ซ้ำเติมประเด็นเรื่องสิทธิเสรีภาพในโลกออนไลน์ และการแสดงความคิดเห็นของประชาชนภายใต้รัฐบาล คสช. ให้ย่ำแย่ลง ขณะเดียวกันก็ตั้งความหวังว่าพรรคการเมือง ตลอดจนภาคส่วนต่างๆ จะประกาศจุดยืนในการทบทวนแก้ไขกฎหมายฉบับดังกล่าวเป็นการเร่งด่วน ภายหลังมีรัฐบาลและรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง[7]

ด้านนายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ อดีตแกนนำพรรคเพื่อไทย เห็นว่าด้วยกฎหมายฉบับนี้ มีลักษณะเป็นการบรรจุไว้ซึ่งกฎระเบียบจำนวนมาก มีโครงสร้างองค์กร คณะกรรมการที่ซับซ้อน ซึ่งเกี่ยวข้องและส่งผลกระทบต่อผู้คนเป็นจำนวนมากในโลกยุคปัจจุบัน ข้อเสียสำคัญประการหนึ่งของกฎหมายฉบับนี้คือ การให้อำนาจรัฐสามารถเข้าถึงข้อมูลของบุคคลธรรมดาได้ทุกเมื่อ นอกจากนี้ ยังเห็นว่าการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวอาจจะกระทบไปถึงความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการและการลงทุนในทางธุรกิจด้วย[8]

สำหรับความเห็นจากภาคส่วนวิชาการ เช่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เห็นว่ากฎหมายไซเบอร์ฉบับดังกล่าวเปรียบเสมือน “กฎอัยการศึกของโลกออนไลน์” โดยให้เหตุผลที่สำคัญ 3 ประการ[9] คือ

          ประการที่หนึ่ง ประเด็นด้านโครงสร้างองค์กร กล่าวคือ สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ มีสถานะทั้งเป็น “ผู้ปฏิบัติการ” (operator) และ “ผู้ควบคุม” (regulator) ซึ่งสถานะบทบาทที่ซ้อนทับในลักษณะดังกล่าวย่อมทำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทำให้ขาดการตรวจสอบและถ่วงดุลการใช้อำนาจ นอกจากนี้ ยังมีความเห็นว่าในโครงสร้างของคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติควรเพิ่มเติมผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิทธิมนุษยชนและองค์กรภาคธุรกิจให้มีจำนวนไม่น้อยกว่าจำนวนกรรมการจากฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชประจำ

          ประการที่สอง ประเด็นด้านการใช้อำนาจ กล่าวคือ ภายใต้กฎหมายไซเบอร์ฉบับนี้ได้ให้อำนาจเจ้าหน้าที่รัฐไว้อย่างกว้างขวางดังจะเห็นได้จากการนิยาม “เหตุจำเป็น” และ “เหตุวิกฤตร้ายแรง” ที่มีความคลุมเครือและเอื้อต่อการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ในการพิจารณาสถานการณ์และบังคับใช้มาตรการตามมา เช่น การใช้อำนาจในการตรวจค้นสถานที่ ยึดครองทรัพย์สินทางด้านไอที คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ใดๆ ได้ไม่เกิน 30 วัน และในกรณีที่มีความจำเป็นให้สามารถดำเนินการไปพลางก่อนแล้วค่อยรายงานต่อศาล เป็นต้น

          ประการสุดท้าย อันเนื่องจากการให้อำนาจรัฐสามารถเข้าตรวจสอบระบบโครงข่ายและอุปกรณ์ต่างๆ ของเอกชนได้ ในประเด็นนี้จึงเห็นว่าอาจจะกระทบต่อความเชื่อมั่นของภาคเอกชนได้ ซึ่งจะส่งผลต่อการลงทุนและเศรษฐกิจในระยะยาวตามมา

จากการสำรวจความคิดเห็น และข้อวิพากษ์วิจารณ์ที่มีต่อพระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 จะพบว่ามีความกังวลเกี่ยวกับขอบเขตการใช้อำนาจของรัฐที่มีอยู่กว้างขวางในการลุกล้ำเข้าไปในพรมแดนของปัจเจกชนซึ่งหากใช้อำนาจไปในทางมิชอบแล้วย่อมสร้างความเสียเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ กระบวนการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อำนาจรัฐก็ไม่ได้ถูกออกแบบให้มีประสิทธิภาพมากพอเพื่อเป็นหลักประกันและคุ้มครองประชาชนต่อการใช้อำนาจรัฐโดยมิชอบ

 

บทส่งท้าย

          การมีกลไกทางกฎหมายเพื่อบริหารจัดการ สอดส่อง และควบคุมโลกไซเบอร์ หรือโลกออนไลน์ซึ่งเกี่ยวพันกับโครงสร้างพื้นฐาน งานบริการ และกิจการต่างๆ ทั้งของเอกชนและภาครัฐในปัจจุบันถือเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นเพื่อปกป้องคุ้มครองผลประโยชน์ของปัจเจกบุคคล ทั้งยังหมายรวมถึง โครงสร้างพื้นฐานอันเกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศ แต่ทั้งนี้ หากรัฐใช้อำนาจไปในทางมิชอบก็ย่อมนำไปสู่การสร้างความเสียต่อสิทธิเสรีภาพในวงกว้างด้วยเช่นกัน กระบวนการใช้ดุลยพินิจ และการใช้อำนาจ มาตรการใดๆ ของรัฐภายใต้กฎหมายไซเบอร์ฉบับนี้ จึงเป็นสิ่งที่สังคมจะต้องจับตามองต่อไป และนับเป็นเครื่องพิสูจน์รัฐบาลในการบริหารจัดการโลกออนไลน์ในปัจจุบัน

บรรณานุกรม

“กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.

““ชัชชาติ” ห่วง พ.ร.บ.ไซเบอร์ เสี่ยงละเมิดสิทธิ ปชช. กระทบความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ.” มติชนออนไลน์. (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.matichon.co.th/
politics/news_1385185>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.

“นักเศรษฐศาสตร์แนะรัฐบาลใหม่ควรทบทวน พ.ร.บ.ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์.” ประชาไท.
(3 มีนาคม 2562). เข้าถึงจาก <https://prachatai.com/journal/2019/03/81313>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.

“พ.ร.บ. ไซเบอร์: สนช. เห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ. มั่นคงไซเบอร์ ประกาศใช้เป็นกฎหมาย.” บีบีซี. (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.bbc.com/thai/international-47371101>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.

“พระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562.” ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 136 ตอนที่ 69 ก, วันที่ 27 พฤษภาคม 2562.

“ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. 2560.” ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 ตอนพิเศษ 259 ง, หน้า 1-7.

“(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล” “(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy)." สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. เข้าถึงจาก <https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.

“(ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. ….” สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. เข้าถึงจาก <https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/
detail/de-laws-cyber-security-protection-act>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.

“สนช. ผ่าน “พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์" ให้อำนาจค้นสถานที่ หากพบภัยคุกคาม.” สำนักข่าวอิศรา. (28 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.isranews.org/isranews-short-news/74244-news-7424412.html>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.

 

อ้างอิง 

[1] ดูหลักการ-เหตุผล และสถานะการพิจารณากฎหมายแต่ละฉบับในชุด “(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล” “(ร่าง) กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy)," สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์, เข้าถึงจาก <https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.

[2] “(ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. …,” สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. เข้าถึงจาก <https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/detail/de-laws-cyber-security-protection-act>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.

[3] กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, (กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2559).

[4] “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ พ.ศ. 2560,”
ราชกิจจานุเบกษา, เล่มที่ 134 ตอนพิเศษ 259 ง, หน้า 1-7.

[5] โปรดดูบันทึกหลักการและเหตุผลประกอบ (ร่าง) กฎหมายไซเบอร์ฉบับคณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการจาก สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. เข้าถึงจาก <https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/detail/de-laws-cyber-security-protection-act>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563. และหมายเหตุแนบท้าย “พระราชบัญญัติการรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่มที่ 136 ตอนที่ 69 ก, วันที่ 27 พฤษภาคม 2562, หน้า 51.

[6] “สนช. ผ่าน “พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์" ให้อำนาจค้นสถานที่ หากพบภัยคุกคาม,” สำนักข่าวอิศรา, (28 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.isranews.org/isranews-short-news/74244-news-7424412.html>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.

[7] “พ.ร.บ. ไซเบอร์: สนช. เห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ. มั่นคงไซเบอร์ ประกาศใช้เป็นกฎหมาย,” บีบีซี, (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.bbc.com/thai/international-47371101>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.

[8] “ชัชชาติ” ห่วง พ.ร.บ.ไซเบอร์ เสี่ยงละเมิดสิทธิ ปชช. กระทบความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ,” มติชนออนไลน์, (20 กุมภาพันธ์ 2562). เข้าถึงจาก <https://www.matichon.co.th/politics/news_1385185>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.

[9] “นักเศรษฐศาสตร์แนะรัฐบาลใหม่ควรทบทวน พ.ร.บ.ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์,” ประชาไท, (3 มีนาคม 2562). เข้าถึงจาก <https://prachatai.com/journal/2019/03/81313>. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2563.