ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
<p><b>ความเป็นมา</b></p>


'''ความเป็นมา'''
<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อเสด็จพระราชดำเนินกลับจากประเทศสหรัฐอเมริกาและคานาดาได้ไม่นาน (เสด็จฯ ไประหว่างวันที่ ๖ เมษายนและวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๔<a href="#_ftn1">[1]</a> พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย อภิรัฐมนตรีและเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศดำเนินการเรื่องร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายอีกฉบับหนึ่ง หลังจากฉบับที่พระยากัลยาณไมตรีเคยร่างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙</p>


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อเสด็จพระราชดำเนินกลับจากประเทศสหรัฐอเมริกาและคานาดาได้ไม่นาน (เสด็จฯ ไประหว่างวันที่ ๖ เมษายนและวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๔[[#_ftn1|[1]]] พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย อภิรัฐมนตรีและเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศดำเนินการเรื่องร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายอีกฉบับหนึ่ง หลังจากฉบับที่พระยากัลยาณไมตรีเคยร่างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙
<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่สองนี้ภายใต้ชื่อว่า <b>&ldquo;An Outline of Changes in the Form of Government&rdquo;</b>หรือ <b>&ldquo;เค้าโครงความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของการปกครอง&rdquo;</b> มีนายเรมอนด์ บี.สตีเวนส์ (Raymond B. Stevens) ที่ปรึกษาการต่างประเทศในขณะนั้นและพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) ปลัดทูลฉลองกระทรวงการต่างประเทศเป็นผู้ร่าง นายสตีเวนส์นั้นเป็นนักกฎหมายและอดีตสมาชิกสภาผู้แทนของสหรัฐอเมริกา ส่วนพระยาศรีวิสารวาจาสำเร็จเนติบัณฑิตจากประเทศอังกฤษ</p>


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่สองนี้ภายใต้ชื่อว่า '''“An Outline of Changes in the Form of Government”'''หรือ '''“เค้าโครงความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของการปกครอง”''' มีนายเรมอนด์ บี.สตีเวนส์ (Raymond B. Stevens) ที่ปรึกษาการต่างประเทศในขณะนั้นและพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) ปลัดทูลฉลองกระทรวงการต่างประเทศเป็นผู้ร่าง นายสตีเวนส์นั้นเป็นนักกฎหมายและอดีตสมาชิกสภาผู้แทนของสหรัฐอเมริกา ส่วนพระยาศรีวิสารวาจาสำเร็จเนติบัณฑิตจากประเทศอังกฤษ
<div>
<div>
ร่างรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นภาษาอังกฤษนี้ทูลเกล้าฯ ถวายเมื่อวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๔ (ซึ่งก็คือต้น พ.ศ. ๒๔๗๕ ตามปฏิทินปัจจุบัน) ในช่วงเวลาซึ่งระลอกสุดท้ายของความขัดแย้งในเรื่องนโยบายเศรษฐกิจกำลังเริ่มขึ้น และนายสตีเวนส์เป็นบุคคลหนึ่งที่ทรงปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องนั้น
<p>ร่างรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นภาษาอังกฤษนี้ทูลเกล้าฯ ถวายเมื่อวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๔ (ซึ่งก็คือต้น พ.ศ. ๒๔๗๕ ตามปฏิทินปัจจุบัน) ในช่วงเวลาซึ่งระลอกสุดท้ายของความขัดแย้งในเรื่องนโยบายเศรษฐกิจกำลังเริ่มขึ้น และนายสตีเวนส์เป็นบุคคลหนึ่งที่ทรงปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องนั้น</p>


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อนำสภาพการณ์ดังกล่าวซึ่งกำลังบั่นทอนความน่าเชื่อถือของรัฐบาลของพระองค์อยู่ ดังปรากฎเป็นบทวิจารณ์ในหน้าหนังสือพิมพ์ และการที่เมื่อเสด็จฯ ถึงสหรัฐอเมริกา พระองค์ได้พระราชทานสัมภาษณ์นักหนังสือพิมพ์อเมริกันว่ากำลังจะมีกฎหมายให้สิทธิเลือกตั้งในระดับเทศบาลแก่ราษฎรมาพิจารณาด้วยแล้ว เห็นได้ว่าต้องพระราชประสงค์ที่จะเร่งกระบวนการของการที่จะทรงจัดให้มีการปกครองโดยตัวแทน (representative government) เกิดขึ้น ก่อนที่อาจมีการก่อการเปลี่ยนแปลงจากเบื้องล่างซึ่งก็ได้รับสั่งเล่าทำนองนี้พระราชทานพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ประธานคณะกรรมการราษฎรและผู้แทนคณะราษฎรที่เข้าเฝ้าฯ เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ (๖ วันหลังการยึดอำนาจของคณะราษฎร) ดังข้อความใน'''“บันทึกลับ”'''การเข้าเฝ้าฯ ครั้งนั้นของเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) ราชเลขาธิการ '''ที่ว่า “ทรงเห็นว่าควรจะต้องให้''''''Constitution มาตั้งแต่รัชกาลที่ ๖ แล้ว และเมื่อได้ทรงรับราชสมบัติ ก็มั่นพระราชหฤทัยว่า เป็นหน้าที่ของพระองค์ที่จะให้ Constitution แก่สยามประเทศ”''' และ '''“เมื่อเสด็จกลับมา''' (จากสหรัฐอเมริกา –ผู้เขียน) '''ยิ่งรู้สึกแน่ใจว่าจะกักไว้อีกไม่สมควรเป็นแท้...[[#_ftn1|'''[1]''']]'''
<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อนำสภาพการณ์ดังกล่าวซึ่งกำลังบั่นทอนความน่าเชื่อถือของรัฐบาลของพระองค์อยู่ ดังปรากฎเป็นบทวิจารณ์ในหน้าหนังสือพิมพ์ และการที่เมื่อเสด็จฯ ถึงสหรัฐอเมริกา พระองค์ได้พระราชทานสัมภาษณ์นักหนังสือพิมพ์อเมริกันว่ากำลังจะมีกฎหมายให้สิทธิเลือกตั้งในระดับเทศบาลแก่ราษฎรมาพิจารณาด้วยแล้ว เห็นได้ว่าต้องพระราชประสงค์ที่จะเร่งกระบวนการของการที่จะทรงจัดให้มีการปกครองโดยตัวแทน (representative government) เกิดขึ้น ก่อนที่อาจมีการก่อการเปลี่ยนแปลงจากเบื้องล่างซึ่งก็ได้รับสั่งเล่าทำนองนี้พระราชทานพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ประธานคณะกรรมการราษฎรและผู้แทนคณะราษฎรที่เข้าเฝ้าฯ เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ (๖ วันหลังการยึดอำนาจของคณะราษฎร) ดังข้อความใน&#39;<i>&ldquo;บันทึกลับ&rdquo;<b>การเข้าเฝ้าฯ ครั้งนั้นของเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) ราชเลขาธิการ </b>ที่ว่า &ldquo;ทรงเห็นว่าควรจะต้องให้&#39;</i><b>Constitution มาตั้งแต่รัชกาลที่ ๖ แล้ว และเมื่อได้ทรงรับราชสมบัติ ก็มั่นพระราชหฤทัยว่า เป็นหน้าที่ของพระองค์ที่จะให้ Constitution แก่สยามประเทศ&rdquo;</b> และ <b>&ldquo;เมื่อเสด็จกลับมา</b> (จากสหรัฐอเมริกา &ndash;ผู้เขียน) <b>ยิ่งรู้สึกแน่ใจว่าจะกักไว้อีกไม่สมควรเป็นแท้...<a href="#_ftn1"><b>[1]</b></a></b></p>


&nbsp;
<p>&nbsp;</p>


'''สาระของร่าง'''
<p><b>สาระของร่าง</b></p>


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เอกสารของนายสตีเวนส์และพระยาศรีวิสารวาจา[[#_ftn2|[2]]] เกริ่นนำว่าเป็น เค้าโครงของรัฐธรรมนูญใหม่ “'''ซึ่งทูลเกล้าฯ ถวาย “ตามพระราชประสงค์”'''&nbsp; เพื่อเป็น '''“จุดเริ่มต้นของรูปแบบการปกครองในระบบรัฐสภา”''' แม้ว่า “'''ในทางทฤษฎีพระมหากษัตริย์จะยังคงทรงเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารและผู้ทรงนิติบัญญัติ” '''แต่พระองค์จักได้ทรงเลือกและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีผู้ซึ่งต้องรับผิดชอบต่อพระองค์ และพระองค์ทรงถอดออกจากตำแหน่งได้ นายกรัฐมนตรีจักเลือกรัฐมนตรีของเขาเองเป็นคณะรัฐมนตรีใช้อำนาจบริหาร แต่ก็โดยมีสภานิติบัญญัติใช้อำนาจบางประการกำกับอยู่ ในทำนองระบบรัฐสภา
<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เอกสารของนายสตีเวนส์และพระยาศรีวิสารวาจา<a href="#_ftn2">[2]</a> เกริ่นนำว่าเป็น เค้าโครงของรัฐธรรมนูญใหม่ &ldquo;<b>ซึ่งทูลเกล้าฯ ถวาย &ldquo;ตามพระราชประสงค์&rdquo;</b>&nbsp; เพื่อเป็น <b>&ldquo;จุดเริ่มต้นของรูปแบบการปกครองในระบบรัฐสภา&rdquo;</b> แม้ว่า &ldquo;<b>ในทางทฤษฎีพระมหากษัตริย์จะยังคงทรงเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารและผู้ทรงนิติบัญญัติ&rdquo; </b>แต่พระองค์จักได้ทรงเลือกและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีผู้ซึ่งต้องรับผิดชอบต่อพระองค์ และพระองค์ทรงถอดออกจากตำแหน่งได้ นายกรัฐมนตรีจักเลือกรัฐมนตรีของเขาเองเป็นคณะรัฐมนตรีใช้อำนาจบริหาร แต่ก็โดยมีสภานิติบัญญัติใช้อำนาจบางประการกำกับอยู่ ในทำนองระบบรัฐสภา</p>
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สภาใหม่นี้ ในระยะเริ่มแรก ควรมีสมาชิกประเภทแต่งตั้งและประเภทเลือกตั้งจำนวนเท่ากัน ที่น่าสนใจคือ ในประเภทแต่งตั้ง จะมีข้าราชการประจำเกินกึ่งหนึ่งไม่ได้ เท่ากับว่าร่างนี้ แม้ว่าจะเห็นว่าสมาชิกประเภทเลือกตั้งจะยังต้องมี “พี่เลี้ยง” แต่ก็ต้องการจะป้องกันมิให้ข้าราชการครอบงำ ลักษณะเช่นนี้แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. ๒๔๗๕ (๒๗ มิถุนายน) <div>&nbsp;  
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สภาใหม่นี้ ในระยะเริ่มแรก ควรมีสมาชิกประเภทแต่งตั้งและประเภทเลือกตั้งจำนวนเท่ากัน ที่น่าสนใจคือ ในประเภทแต่งตั้ง จะมีข้าราชการประจำเกินกึ่งหนึ่งไม่ได้ เท่ากับว่าร่างนี้ แม้ว่าจะเห็นว่าสมาชิกประเภทเลือกตั้งจะยังต้องมี &ldquo;พี่เลี้ยง&rdquo; แต่ก็ต้องการจะป้องกันมิให้ข้าราชการครอบงำ ลักษณะเช่นนี้แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. ๒๔๗๕ (๒๗ มิถุนายน)
----
 
<div>&nbsp;
<hr />
<div id="ftn1">
<div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]]สนธิ เตชานันท์ (รวบรวม) ๒๕๔๕. ''แผนพัฒนาการเมืองไปสู่การปกครองระบอบ ประชาธิปไตย ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว.'' พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, หน้า ๓๑๔-๓๑๕.
<p><a href="#_ftnref1">[1]</a>สนธิ เตชานันท์ (รวบรวม) ๒๕๔๕. <i>แผนพัฒนาการเมืองไปสู่การปกครองระบอบ ประชาธิปไตย ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว.</i> พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, หน้า ๓๑๔-๓๑๕.</p>
</div> <div id="ftn2">
</div>
[[#_ftnref2|[2]]]เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๙๘-๒๐๕.
 
</div> </div>  
<div id="ftn2">
----
<p><a href="#_ftnref2">[2]</a>เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๙๘-๒๐๕.</p>
</div>
</div>
 
<hr />
<div id="ftn1">
<div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]] ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก เรื่อง การเสด็จประพาสสหรัฐอเมริกาและแคนาดา และ เรื่อง สู่การปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น
<p><a href="#_ftnref1">[1]</a> ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก เรื่อง การเสด็จประพาสสหรัฐอเมริกาและแคนาดา และ เรื่อง สู่การปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น</p>
</div> </div>  
</div>
&nbsp;
</div>
 
<p>&nbsp;</p>


หมวดหมู่:พระปกเกล้าศึกษา
<p>หมวดหมู่:พระปกเกล้าศึกษา</p>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:24, 19 พฤษภาคม 2560

ความเป็นมา

          เมื่อเสด็จพระราชดำเนินกลับจากประเทศสหรัฐอเมริกาและคานาดาได้ไม่นาน (เสด็จฯ ไประหว่างวันที่ ๖ เมษายนและวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๔<a href="#_ftn1">[1]</a> พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย อภิรัฐมนตรีและเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศดำเนินการเรื่องร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายอีกฉบับหนึ่ง หลังจากฉบับที่พระยากัลยาณไมตรีเคยร่างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙

          ร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่สองนี้ภายใต้ชื่อว่า “An Outline of Changes in the Form of Government”หรือ “เค้าโครงความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของการปกครอง” มีนายเรมอนด์ บี.สตีเวนส์ (Raymond B. Stevens) ที่ปรึกษาการต่างประเทศในขณะนั้นและพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) ปลัดทูลฉลองกระทรวงการต่างประเทศเป็นผู้ร่าง นายสตีเวนส์นั้นเป็นนักกฎหมายและอดีตสมาชิกสภาผู้แทนของสหรัฐอเมริกา ส่วนพระยาศรีวิสารวาจาสำเร็จเนติบัณฑิตจากประเทศอังกฤษ

ร่างรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นภาษาอังกฤษนี้ทูลเกล้าฯ ถวายเมื่อวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๔ (ซึ่งก็คือต้น พ.ศ. ๒๔๗๕ ตามปฏิทินปัจจุบัน) ในช่วงเวลาซึ่งระลอกสุดท้ายของความขัดแย้งในเรื่องนโยบายเศรษฐกิจกำลังเริ่มขึ้น และนายสตีเวนส์เป็นบุคคลหนึ่งที่ทรงปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องนั้น

          เมื่อนำสภาพการณ์ดังกล่าวซึ่งกำลังบั่นทอนความน่าเชื่อถือของรัฐบาลของพระองค์อยู่ ดังปรากฎเป็นบทวิจารณ์ในหน้าหนังสือพิมพ์ และการที่เมื่อเสด็จฯ ถึงสหรัฐอเมริกา พระองค์ได้พระราชทานสัมภาษณ์นักหนังสือพิมพ์อเมริกันว่ากำลังจะมีกฎหมายให้สิทธิเลือกตั้งในระดับเทศบาลแก่ราษฎรมาพิจารณาด้วยแล้ว เห็นได้ว่าต้องพระราชประสงค์ที่จะเร่งกระบวนการของการที่จะทรงจัดให้มีการปกครองโดยตัวแทน (representative government) เกิดขึ้น ก่อนที่อาจมีการก่อการเปลี่ยนแปลงจากเบื้องล่างซึ่งก็ได้รับสั่งเล่าทำนองนี้พระราชทานพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ประธานคณะกรรมการราษฎรและผู้แทนคณะราษฎรที่เข้าเฝ้าฯ เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ (๖ วันหลังการยึดอำนาจของคณะราษฎร) ดังข้อความใน'“บันทึกลับ”การเข้าเฝ้าฯ ครั้งนั้นของเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) ราชเลขาธิการ ที่ว่า “ทรงเห็นว่าควรจะต้องให้'Constitution มาตั้งแต่รัชกาลที่ ๖ แล้ว และเมื่อได้ทรงรับราชสมบัติ ก็มั่นพระราชหฤทัยว่า เป็นหน้าที่ของพระองค์ที่จะให้ Constitution แก่สยามประเทศ” และ “เมื่อเสด็จกลับมา (จากสหรัฐอเมริกา –ผู้เขียน) ยิ่งรู้สึกแน่ใจว่าจะกักไว้อีกไม่สมควรเป็นแท้...<a href="#_ftn1">[1]</a>

 

สาระของร่าง

          เอกสารของนายสตีเวนส์และพระยาศรีวิสารวาจา<a href="#_ftn2">[2]</a> เกริ่นนำว่าเป็น เค้าโครงของรัฐธรรมนูญใหม่ “ซึ่งทูลเกล้าฯ ถวาย “ตามพระราชประสงค์”  เพื่อเป็น “จุดเริ่มต้นของรูปแบบการปกครองในระบบรัฐสภา” แม้ว่า “ในทางทฤษฎีพระมหากษัตริย์จะยังคงทรงเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารและผู้ทรงนิติบัญญัติ” แต่พระองค์จักได้ทรงเลือกและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีผู้ซึ่งต้องรับผิดชอบต่อพระองค์ และพระองค์ทรงถอดออกจากตำแหน่งได้ นายกรัฐมนตรีจักเลือกรัฐมนตรีของเขาเองเป็นคณะรัฐมนตรีใช้อำนาจบริหาร แต่ก็โดยมีสภานิติบัญญัติใช้อำนาจบางประการกำกับอยู่ ในทำนองระบบรัฐสภา

          สภาใหม่นี้ ในระยะเริ่มแรก ควรมีสมาชิกประเภทแต่งตั้งและประเภทเลือกตั้งจำนวนเท่ากัน ที่น่าสนใจคือ ในประเภทแต่งตั้ง จะมีข้าราชการประจำเกินกึ่งหนึ่งไม่ได้ เท่ากับว่าร่างนี้ แม้ว่าจะเห็นว่าสมาชิกประเภทเลือกตั้งจะยังต้องมี “พี่เลี้ยง” แต่ก็ต้องการจะป้องกันมิให้ข้าราชการครอบงำ ลักษณะเช่นนี้แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. ๒๔๗๕ (๒๗ มิถุนายน)

 

<a href="#_ftnref1">[1]</a>สนธิ เตชานันท์ (รวบรวม) ๒๕๔๕. แผนพัฒนาการเมืองไปสู่การปกครองระบอบ ประชาธิปไตย ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, หน้า ๓๑๔-๓๑๕.

<a href="#_ftnref2">[2]</a>เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๙๘-๒๐๕.


<a href="#_ftnref1">[1]</a> ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก เรื่อง การเสด็จประพาสสหรัฐอเมริกาและแคนาดา และ เรื่อง สู่การปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น

 

หมวดหมู่:พระปกเกล้าศึกษา