ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลาเฉลิมกรุง"
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
ก่อนพุทธศักราช ๒๔๗๕ โรงภาพยนตร์เกือบทั้งหมดในพระนครหรือในสยามก็ยังคงเป็นอาคารโรงไม้หลังคามุงสังกะสี ดูเหมือนว่าความคิดที่จะสร้างโรงมหรสพ หรือโรงภาพยนตร์ให้โอ่โถง งดงาม เป็นศรีสง่าแก่พระนคร จะมีมาก่อนหน้านี้ แต่ก็ไม่เกิดขึ้นจริงสักที | ก่อนพุทธศักราช ๒๔๗๕ โรงภาพยนตร์เกือบทั้งหมดในพระนครหรือในสยามก็ยังคงเป็นอาคารโรงไม้หลังคามุงสังกะสี ดูเหมือนว่าความคิดที่จะสร้างโรงมหรสพ หรือโรงภาพยนตร์ให้โอ่โถง งดงาม เป็นศรีสง่าแก่พระนคร จะมีมาก่อนหน้านี้ แต่ก็ไม่เกิดขึ้นจริงสักที | ||
ปรากฏพระราชหัตถเลขาเมื่อครั้งเสด็จประพาสชวา เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๗๒ และได้เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรภาพยนตร์ที่นั่น ว่า “สยามยังไม่มีโรงภาพยนตร์ที่ได้มาตรฐาน” จนกระทั่ง พุทธศักราช ๒๔๗๓ | ปรากฏพระราชหัตถเลขาเมื่อครั้งเสด็จประพาสชวา เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๗๒ และได้เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรภาพยนตร์ที่นั่น ว่า “สยามยังไม่มีโรงภาพยนตร์ที่ได้มาตรฐาน” จนกระทั่ง พุทธศักราช ๒๔๗๓ [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระราชดำริให้สร้างโรงภาพยนตร์ที่ทันสมัยแห่งแรกของสยาม ในโอกาสฉลองพระนคร ๑๕๐ ปี ปรากฏเป็นข่าวหนังสือพิมพ์ | ||
โรงภาพยนตร์แห่งใหม่เป็นอาคาร ๒ ชั้นที่ผสานลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกกับศิลปะไทย ออกแบบโดยหม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร สถาปนิกที่จบการศึกษามาจากฝรั่งเศส ได้รับพระราชทานนามว่า | โรงภาพยนตร์แห่งใหม่เป็นอาคาร ๒ ชั้นที่ผสานลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกกับศิลปะไทย ออกแบบโดยหม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร สถาปนิกที่จบการศึกษามาจากฝรั่งเศส ได้รับพระราชทานนามว่า “[[ศาลาเฉลิมกรุง]]” | ||
การก่อสร้างใช้เวลาประมาณ ๓ ปี จนเมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๔๗๖ ได้มีพิธีเปิด ภาพยนตร์เรื่องแรกที่ฉายในวันเปิด คือ | การก่อสร้างใช้เวลาประมาณ ๓ ปี จนเมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๔๗๖ ได้มีพิธีเปิด ภาพยนตร์เรื่องแรกที่ฉายในวันเปิด คือ “[[มหาภัยใต้ทะเล]]” รายได้ทั้งหมดในวันนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้นำไปบำรุงสภากาชาดสยาม โดยไม่มีการหักค่าใช้จ่าย | ||
ด้วยสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป พร้อมๆกับเทคโนโลยีที่เริ่มพ้นสมัย ศาลาเฉลิมกรุง ของขวัญที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยให้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจที่ทันสมัย ได้หยุดกิจการไปเมื่อ พุทธศักราช ๒๕๓๔ และเปิดดำเนินการอีกครั้งเมื่อ พุทธศักราช ๒๕๓๖ ทำหน้าที่โรงมหรสพหลวงสร้างความบันเทิงหลากหลายมาจนปัจจุบัน | ด้วยสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป พร้อมๆกับเทคโนโลยีที่เริ่มพ้นสมัย ศาลาเฉลิมกรุง ของขวัญที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยให้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจที่ทันสมัย ได้หยุดกิจการไปเมื่อ พุทธศักราช ๒๕๓๔ และเปิดดำเนินการอีกครั้งเมื่อ พุทธศักราช ๒๕๓๖ ทำหน้าที่โรงมหรสพหลวงสร้างความบันเทิงหลากหลายมาจนปัจจุบัน |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:18, 9 กุมภาพันธ์ 2559
ก่อนพุทธศักราช ๒๔๗๕ โรงภาพยนตร์เกือบทั้งหมดในพระนครหรือในสยามก็ยังคงเป็นอาคารโรงไม้หลังคามุงสังกะสี ดูเหมือนว่าความคิดที่จะสร้างโรงมหรสพ หรือโรงภาพยนตร์ให้โอ่โถง งดงาม เป็นศรีสง่าแก่พระนคร จะมีมาก่อนหน้านี้ แต่ก็ไม่เกิดขึ้นจริงสักที
ปรากฏพระราชหัตถเลขาเมื่อครั้งเสด็จประพาสชวา เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๗๒ และได้เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรภาพยนตร์ที่นั่น ว่า “สยามยังไม่มีโรงภาพยนตร์ที่ได้มาตรฐาน” จนกระทั่ง พุทธศักราช ๒๔๗๓ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้สร้างโรงภาพยนตร์ที่ทันสมัยแห่งแรกของสยาม ในโอกาสฉลองพระนคร ๑๕๐ ปี ปรากฏเป็นข่าวหนังสือพิมพ์
โรงภาพยนตร์แห่งใหม่เป็นอาคาร ๒ ชั้นที่ผสานลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกกับศิลปะไทย ออกแบบโดยหม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร สถาปนิกที่จบการศึกษามาจากฝรั่งเศส ได้รับพระราชทานนามว่า “ศาลาเฉลิมกรุง”
การก่อสร้างใช้เวลาประมาณ ๓ ปี จนเมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๔๗๖ ได้มีพิธีเปิด ภาพยนตร์เรื่องแรกที่ฉายในวันเปิด คือ “มหาภัยใต้ทะเล” รายได้ทั้งหมดในวันนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้นำไปบำรุงสภากาชาดสยาม โดยไม่มีการหักค่าใช้จ่าย
ด้วยสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป พร้อมๆกับเทคโนโลยีที่เริ่มพ้นสมัย ศาลาเฉลิมกรุง ของขวัญที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยให้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจที่ทันสมัย ได้หยุดกิจการไปเมื่อ พุทธศักราช ๒๕๓๔ และเปิดดำเนินการอีกครั้งเมื่อ พุทธศักราช ๒๕๓๖ ทำหน้าที่โรงมหรสพหลวงสร้างความบันเทิงหลากหลายมาจนปัจจุบัน
ที่มา
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖