ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชดำริเรื่องการปกครองท้องถิ่น"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์อันแรงกล้าที่จะให้ประชาชนได้ฝึกฝนและตื่นตัวที่จะมีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับท้องถิ่น  
[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระราชประสงค์อันแรงกล้าที่จะให้ประชาชนได้ฝึกฝนและตื่นตัวที่จะมีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับท้องถิ่น  
 
 
การปกครองท้องถิ่นในรูปเทศบาลของรัชกาลที่ ๗ คือการที่ชุมชน บริหารกิจการต่างๆของชุมชนด้วยตนเอง เช่น การรักษาความสะอาด ถนนหนทาง ไฟฟ้า และเสริมสร้างความปลอดภัย การศึกษา และการสาธารณสุข โดยใช้เงินภาษีที่จัดเก็บในท้องถิ่นมาดำเนินการเอง ผู้บริหารมาจากการเลือกตั้งของประชาชนในชุมชนนั้นๆ ทรงเห็นว่าการจัดตั้งเทศบาล จะสอนให้ประชาชนรู้จักใช้สิทธิเลือกตั้ง และเป็นการให้ความรู้ไปในตัว ทรงเห็นว่าเป็นเรื่องดีที่ราษฎรได้บริหารกิจการท้องถิ่นด้วยตนเอง ก่อนที่เข้าจะสู่ระบบรัฐสภา
[[การปกครองท้องถิ่น]]ในรูป[[เทศบาล]]ของ[[รัชกาลที่ ]] คือการที่ชุมชน บริหารกิจการต่างๆของชุมชนด้วยตนเอง เช่น การรักษาความสะอาด ถนนหนทาง ไฟฟ้า และเสริมสร้างความปลอดภัย การศึกษา และการสาธารณสุข โดยใช้เงินภาษีที่จัดเก็บในท้องถิ่นมาดำเนินการเอง ผู้บริหารมาจากการเลือกตั้งของประชาชนในชุมชนนั้นๆ ทรงเห็นว่าการจัดตั้งเทศบาล จะสอนให้ประชาชนรู้จักใช้[[สิทธิเลือกตั้ง]] และเป็นการให้ความรู้ไปในตัว ทรงเห็นว่าเป็นเรื่องดีที่ราษฎรได้บริหารกิจการท้องถิ่นด้วยตนเอง ก่อนที่เข้าจะสู่[[ระบบรัฐสภา]]


ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ดำเนินการศึกษาเรื่องดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง และในที่สุดก็ได้ข้อสรุปว่าการปกครองแบบเทศบาลนั้นจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายส่วนราชการ และควรร่างเป็นกฎหมายพระราชบัญญัติเทศบาลขึ้นก่อน
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ดำเนินการศึกษาเรื่องดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง และในที่สุดก็ได้ข้อสรุปว่าการปกครองแบบเทศบาลนั้นจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายส่วนราชการ และควรร่างเป็นกฎหมาย[[พระราชบัญญัติเทศบาล]]ขึ้นก่อน
   
   
โดยมีหม่อมเจ้าสกลวรรณากร วรวรรณ เป็นประธานร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว และสำเร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐แต่เพราะต้องผ่านการพิจารณาหลายขั้นตอน มีการแก้ไขเพิ่มเติมหลายครั้ง แม้จะทรงเร่งรัดและแสดงพระราชประสงค์ที่จะให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัตินี้เสร็จสิ้นโดยเร็ว แต่ก็ไม่ทันได้ประกาศใช้เนื่องจากเปลี่ยนแปลงการปกครองเสียก่อน
โดยมี[[หม่อมเจ้าสกลวรรณากร วรวรรณ]] เป็นประธานร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว และสำเร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐แต่เพราะต้องผ่านการพิจารณาหลายขั้นตอน มีการแก้ไขเพิ่มเติมหลายครั้ง แม้จะทรงเร่งรัดและแสดงพระราชประสงค์ที่จะให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัตินี้เสร็จสิ้นโดยเร็ว แต่ก็ไม่ทันได้ประกาศใช้เนื่องจาก[[เปลี่ยนแปลงการปกครอง]]เสียก่อน


'''ที่มา '''
'''ที่มา '''

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:16, 10 กุมภาพันธ์ 2559

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์อันแรงกล้าที่จะให้ประชาชนได้ฝึกฝนและตื่นตัวที่จะมีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับท้องถิ่น

การปกครองท้องถิ่นในรูปเทศบาลของรัชกาลที่ ๗ คือการที่ชุมชน บริหารกิจการต่างๆของชุมชนด้วยตนเอง เช่น การรักษาความสะอาด ถนนหนทาง ไฟฟ้า และเสริมสร้างความปลอดภัย การศึกษา และการสาธารณสุข โดยใช้เงินภาษีที่จัดเก็บในท้องถิ่นมาดำเนินการเอง ผู้บริหารมาจากการเลือกตั้งของประชาชนในชุมชนนั้นๆ ทรงเห็นว่าการจัดตั้งเทศบาล จะสอนให้ประชาชนรู้จักใช้สิทธิเลือกตั้ง และเป็นการให้ความรู้ไปในตัว ทรงเห็นว่าเป็นเรื่องดีที่ราษฎรได้บริหารกิจการท้องถิ่นด้วยตนเอง ก่อนที่เข้าจะสู่ระบบรัฐสภา

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ดำเนินการศึกษาเรื่องดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง และในที่สุดก็ได้ข้อสรุปว่าการปกครองแบบเทศบาลนั้นจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายส่วนราชการ และควรร่างเป็นกฎหมายพระราชบัญญัติเทศบาลขึ้นก่อน

โดยมีหม่อมเจ้าสกลวรรณากร วรวรรณ เป็นประธานร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว และสำเร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐แต่เพราะต้องผ่านการพิจารณาหลายขั้นตอน มีการแก้ไขเพิ่มเติมหลายครั้ง แม้จะทรงเร่งรัดและแสดงพระราชประสงค์ที่จะให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัตินี้เสร็จสิ้นโดยเร็ว แต่ก็ไม่ทันได้ประกาศใช้เนื่องจากเปลี่ยนแปลงการปกครองเสียก่อน

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖