ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรงปรับเปลี่ยนพระราชพิธีให้เข้ากับยุคสมัย"
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
อาจกล่าวได้ว่ารัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]นั้น เป็นยุคสมัยที่ราชสำนักสยามปรับเปลี่ยนรูปแบบและขั้นตอนของการพระราชพิธีให้เหมาะสมแก่กาลสมัยยุคหนึ่ง | |||
เอกสารส่วนพระองค์ของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ระบุว่าทรงมีพระราชดำริให้ปรับปรุงรูปแบบการพระราชพิธีต่างๆ โดยตัดทอนรายละเอียด ขั้นตอน เพื่อลดเวลาลงแต่ยังคงดำรงพระเกียรติยศแห่งสถาบันพระมหากษัตริย์ | |||
นับตั้งแต่การพระราชพิธีพระบรมศพ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ซึ่งรวบรัดขั้นตอนและตัดทอนรายละเอียด แต่ยังคงถวายพระเกียรติยศโดยบริบูรณ์ เช่น ไม่มีนางร้องไห้ จัดแต่งรถปืนใหญ่ อัญเชิญพระบรมศพจัดเสือป่าและลูกเสือเข้าสมทบกระบวนแห่และมีแตรเดี่ยวเพลงนอนถวายพระเกียรติครั้งสุดท้ายในฐานะทรงเป็นทหารตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ รวมไปถึง[[พระราชพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา]]ที่ปฏิบัติสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา อันมีความผูกพันกับสถาบันพระมหากษัตริย์ใน[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]] | |||
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงปรับรูปแบบของพระราชพิธีที่เคยปฏิบัติมาให้มีความกระชับมากขึ้น โดยมิได้ลดความสำคัญของพระราชประเพณี ด้านพระราชพิธีเนื่องในศาสนาที่ถือปฏิบัติมาในรัชกาลก่อนทรงเรียบเรียงกำหนดการขึ้นใหม่เพื่อทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ไม่ว่าจะเป็นพิธีวิสาขบูชา พิธีแรกนาหรือพิธีเข้าพรรษา | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงปรับรูปแบบของพระราชพิธีที่เคยปฏิบัติมาให้มีความกระชับมากขึ้น โดยมิได้ลดความสำคัญของพระราชประเพณี ด้านพระราชพิธีเนื่องในศาสนาที่ถือปฏิบัติมาในรัชกาลก่อนทรงเรียบเรียงกำหนดการขึ้นใหม่เพื่อทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ไม่ว่าจะเป็นพิธีวิสาขบูชา พิธีแรกนาหรือพิธีเข้าพรรษา |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:32, 19 มกราคม 2559
อาจกล่าวได้ว่ารัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น เป็นยุคสมัยที่ราชสำนักสยามปรับเปลี่ยนรูปแบบและขั้นตอนของการพระราชพิธีให้เหมาะสมแก่กาลสมัยยุคหนึ่ง
เอกสารส่วนพระองค์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพระบุว่าทรงมีพระราชดำริให้ปรับปรุงรูปแบบการพระราชพิธีต่างๆ โดยตัดทอนรายละเอียด ขั้นตอน เพื่อลดเวลาลงแต่ยังคงดำรงพระเกียรติยศแห่งสถาบันพระมหากษัตริย์
นับตั้งแต่การพระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งรวบรัดขั้นตอนและตัดทอนรายละเอียด แต่ยังคงถวายพระเกียรติยศโดยบริบูรณ์ เช่น ไม่มีนางร้องไห้ จัดแต่งรถปืนใหญ่ อัญเชิญพระบรมศพจัดเสือป่าและลูกเสือเข้าสมทบกระบวนแห่และมีแตรเดี่ยวเพลงนอนถวายพระเกียรติครั้งสุดท้ายในฐานะทรงเป็นทหารตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ รวมไปถึงพระราชพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยาที่ปฏิบัติสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา อันมีความผูกพันกับสถาบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงปรับรูปแบบของพระราชพิธีที่เคยปฏิบัติมาให้มีความกระชับมากขึ้น โดยมิได้ลดความสำคัญของพระราชประเพณี ด้านพระราชพิธีเนื่องในศาสนาที่ถือปฏิบัติมาในรัชกาลก่อนทรงเรียบเรียงกำหนดการขึ้นใหม่เพื่อทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ไม่ว่าจะเป็นพิธีวิสาขบูชา พิธีแรกนาหรือพิธีเข้าพรรษา
การปรับเปลี่ยนรูปแบบของการพระราชพิธีเหล่านั้น ล้วนเป็นภาพสะท้อนความเปลี่ยนแปลงของสยาม ณ เวลานั้น
ที่มา
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖