ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสด็จฯ เลียบมณฑลภูเก็ต จังหวัดพัทลุงและระนอง"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระน...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 4: บรรทัดที่ 4:


พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญกับบุคคลผู้ซึ่งสร้างคุณประโยชน์แก่บ้านเมือง  โดยระหว่างเสด็จประพาสเมืองระนองได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังสุสาน สกุล ณ ระนอง  เพื่อทรงวางพวงมาลา ณ ที่ฝังศพ ทั้งผู้เป็นต้นสกุลและผู้สืบเชื้อสายสกุล  
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญกับบุคคลผู้ซึ่งสร้างคุณประโยชน์แก่บ้านเมือง  โดยระหว่างเสด็จประพาสเมืองระนองได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังสุสาน สกุล ณ ระนอง  เพื่อทรงวางพวงมาลา ณ ที่ฝังศพ ทั้งผู้เป็นต้นสกุลและผู้สืบเชื้อสายสกุล  
“ณ ระนอง” เป็นสกุล ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ คอ ซู้ เจียง  ชาวจีนฟูเกี้ยนที่มาตั้งรกรากที่จังหวัดระนองและได้สร้างคุณประโยชน์ไว้มากมาย
 
“ณ ระนอง” เป็นสกุล ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ คอ ซู้ เจียง  ชาวจีนฟูเกี้ยนที่มาตั้งรกรากที่จังหวัดระนองและได้สร้างคุณประโยชน์ไว้มากมาย


'''ที่มา '''
'''ที่มา '''
บรรทัดที่ 10: บรรทัดที่ 11:
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖


[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]]
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ|ส]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:28, 17 สิงหาคม 2558

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินเยือนจังหวัดพัทลุง เสด็จประพาสวัดถ้ำคูหาสวรรค์ วัดเก่าแก่ที่อยู่คู่จังหวัดพัทลุงมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ตามรอยพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสักการะพระพุทธรูปในถ้ำ และทรงลงพระบรมนามาภิไธยย่อ ป.ป.ร. ไว้เป็นที่ระลึกเช่นเดียวกับสมเด็จพระบรมชนกนาถ

ครั้นใน พุทธศักราช ๒๕๐๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถก็ได้เสด็จพระราชดำเนินไปที่ถ้ำแห่งนี้พร้อมทั้งทรงลงพระบรมนามาภิไธยย่อไว้ ณ เพิงหินหน้าถ้ำเช่นเดียวกัน

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญกับบุคคลผู้ซึ่งสร้างคุณประโยชน์แก่บ้านเมือง โดยระหว่างเสด็จประพาสเมืองระนองได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังสุสาน สกุล ณ ระนอง เพื่อทรงวางพวงมาลา ณ ที่ฝังศพ ทั้งผู้เป็นต้นสกุลและผู้สืบเชื้อสายสกุล

“ณ ระนอง” เป็นสกุล ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ คอ ซู้ เจียง ชาวจีนฟูเกี้ยนที่มาตั้งรกรากที่จังหวัดระนองและได้สร้างคุณประโยชน์ไว้มากมาย

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖