ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหภาพยุโรป"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
{{รอผู้ทรง}}
'''ผู้เรียบเรียง''' วัชรา ไชยสาร  
'''ผู้เรียบเรียง''' วัชรา ไชยสาร  


บรรทัดที่ 8: บรรทัดที่ 6:


----
----
== ความเป็นมาของสหภาพยุโรป ==


== ความเป็นมาของสหภาพยุโรป ==
สหภาพยุโรปเป็นการรวมตัวของกลุ่มประเทศประชาธิปไตยในยุโรปเพื่อให้เกิดสันติภาพและ ความเจริญรุ่งเรือง เดิมมีสมาชิกเพียง 6 ประเทศ ได้แก่ เยอรมัน ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี หลังจากนั้นสหภาพยุโรปได้รับรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยหลายครั้ง คือ


สหภาพยุโรปเป็นการรวมตัวของกลุ่มประเทศประชาธิปไตยในยุโรปเพื่อให้เกิดสันติภาพและ ความเจริญรุ่งเรือง เดิมมีสมาชิกเพียง 6 ประเทศ ได้แก่ เยอรมัน ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี หลังจากนั้นสหภาพยุโรปได้รับรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยหลายครั้ง คือ
- ค.ศ. 1973 เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร


- ค.ศ. 1973 เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร
- ค.ศ. 1981 กรีซ


- ค.ศ. 1981 กรีซ
- ค.ศ. 1986 สเปนและโปรตุเกส


- ค.ศ. 1986 สเปนและโปรตุเกส
- ค.ศ. 1995 ออสเตรีย ฟินแลนด์ และสวีเดน


- ค.ศ. 1995 ออสเตรีย ฟินแลนด์ และสวีเดน
- ค.ศ. 2004 ถือเป็นการขยายจำนวนสมาชิกครั้งใหญ่ที่สุดถึง 10 ประเทศ คือ ไซปรัส สาธารณรัฐเช็ค เอสโตเนีย ฮังการี ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลต้า โปแลนด์ สาธารณรัฐสโลวัก และสลีวีเนีย
Unity in diversity เป็นคำขวัญของสหภาพยุโรป แสดงถึงการรวมตัวบนความหลากหลาย ทั้งเชื้อชาติ วัฒนธรรม หรือภาษาของโดยแต่ละรัฐยังคงรักษาเอกลักษณ์ของตนเอง ด้วยเหตุนี้ สหภาพยุโรปจึงมีภาษาราชการถึง 19 ภาษา (โดยมิได้ให้ภาษาใดภาษาหนึ่งสำคัญกว่าดังเช่นประเทศที่ปกครองระบอบ[[สหพันธรัฐ]])


- ค.ศ. 2004 ถือเป็นการขยายจำนวนสมาชิกครั้งใหญ่ที่สุดถึง 10 ประเทศ คือ ไซปรัส สาธารณรัฐเช็ค เอสโตเนีย ฮังการี ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลต้า โปแลนด์ สาธารณรัฐสโลวัก และสลีวีเนีย
สหภาพยุโรปมีจุดเริ่มต้นมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ คือ การตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (European Coal and Steel Community) ค.ศ. 1951 และการตั้งประชาคมด้านปรมาณู (EURATOM) และเศรษฐกิจ (European Economic Community) ค.ศ. 1957 เป้าหมายสำคัญคือ การจัดตั้ง “ตลาดร่วม” ระหว่างประเทศสมาชิก มีการเคลื่อนย้ายของสินค้า บริการ เงินทุนและคนอย่างไม่มีอุปสรรคใดๆ
<center>[[ไฟล์:European_Union.png]]</center>


Unity in diversity เป็นคำขวัญของสหภาพยุโรป แสดงถึงการรวมตัวบนความหลากหลาย ทั้งเชื้อชาติ วัฒนธรรม หรือภาษาของโดยแต่ละรัฐยังคงรักษาเอกลักษณ์ของตนเอง ด้วยเหตุนี้ สหภาพยุโรปจึงมีภาษาราชการถึง 19 ภาษา (โดยมิได้ให้ภาษาใดภาษาหนึ่งสำคัญกว่าดังเช่นประเทศที่ปกครองระบอบสหพันธรัฐ)
<center>European Union</center>


สหภาพยุโรปมีจุดเริ่มต้นมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ คือ การตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (European Coal and Steel Community) ค.ศ. 1951 และการตั้งประชาคมด้านปรมาณู (EURATOM) และเศรษฐกิจ (European Economic Community) ค.ศ. 1957 เป้าหมายสำคัญคือ การจัดตั้ง “ตลาดร่วม” ระหว่างประเทศสมาชิก มีการเคลื่อนย้ายของสินค้า บริการ เงินทุนและคนอย่างไม่มีอุปสรรคใดๆ
==กลไกการบริหารจัดการของสหภาพยุโรป==


== กลไกการบริหารจัดการของสหภาพยุโรป ==
สหภาพยุโรปมีกลไกการบริหารจัดการ ดังนี้
   
   
สหภาพยุโรปมีกลไกการบริหารจัดการ ดังนี้
1. คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) เป็นองค์กรฝ่ายบริหาร ดูแลประโยชน์ของประชาคมโดยส่วนรวม มีความเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อรัฐใดรัฐหนึ่ง


1. คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) เป็นองค์กรฝ่ายบริหาร ดูแลประโยชน์ของประชาคมโดยส่วนรวม มีความเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อรัฐใดรัฐหนึ่ง
2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วย ตัวแทนจากรัฐสมาชิก


2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วย ตัวแทนจากรัฐสมาชิก
3. ศาลตุลาการยุโรป (European Court of Justice)  


3. ศาลตุลาการยุโรป (European Court of Justice)  
4. สภายุโรป (European Parliament) ประกอบด้วย สมาชิกสภายุโรปจำนวน 731 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงทุก ๆ 5 ปี โดยสมาชิกสภายุโรปเหล่านี้มิได้แบ่งตามประเทศ แต่สังกัดอยู่กับพรรคการเมืองในระดับยุโรปที่มีแนวคิดทางการเมืองสอดคล้องกับพรรคการเมืองในระดับประเทศที่ตนสังกัดมากที่สุด ยังมีสมาชิกสภายุโรปบางส่วนที่ไม่ได้สังกัดพรรคการเมืองใด ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า สภายุโรป คือ เสียงแห่งประชาธิปไตยของประชาชนยุโรป ทั้งนี้ ประธานสภายุโรป ณ พฤษภาคม 2006 คือ นาย Josep Borell


4. สภายุโรป (European Parliament) ประกอบด้วย เป็นเสียงแห่งประชาธิปไตยของ ประชาชนยุโรป สมาชิกสภายุโรปจำนวน 731 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงทุก ๆ 5 ปี โดยสมาชิกสภายุโรปเหล่านี้มิได้แบ่งตามประเทศ แต่สังกัดอยู่กับพรรคการเมืองในระดับยุโรปที่มีแนวคิดทางการเมืองสอดคล้องกับพรรคการเมืองในระดับประเทศที่ตนสังกัดมากที่สุด นอกจากนี้ ยังมีสมาชิกสภายุโรปบางส่วนที่ไม่ได้สังกัดพรรคการเมืองใด ทั้งนี้ ประธานสภายุโรป ณ พฤษภาคม 2549 คือ นาย Josep Borell
==ลักษณะความร่วมมือของสหภาพยุโรป==


== ลักษณะความร่วมมือของสหภาพยุโรป ==
การลงนามในสนธิสัญญาก่อตั้งสหภาพยุโรป (Treaty of the European Union) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สนธิสัญญามาสทริกท์ (Maastricht Treaty) เรียกชื่อใหม่ว่า สหภาพยุโรป (European Union – EU) มีเสาหลัก 3 ประการ คือ (1) ประชาคมยุโรป (2) นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง และ (3) ความร่วมมือด้านกิจการยุติธรรมและกิจการภายในขยายความร่วมมือนอกเหนือความ ร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ (ในรูปแบบประชาคม) ระหว่างรัฐสมาชิกไปอีกสองด้าน คือ ความร่วมมือด้านการต่างประเทศและความมั่นคง และความร่วมมือด้านมหาดไทยและยุติธรรม อย่างไรก็ดี เนื่องจากทั้งสองด้านดังกล่าว เป็นเรื่องที่บางรัฐสมาชิกมีความกังวลเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตย จึงมิใช่ความร่วมมือในลักษณะ “ประชาคม” (หมายถึงการแบ่งอำนาจอธิปไตยมาบริหารร่วมกัน) แต่เป็นเพียงความร่วมมือหรือประสานนโยบายระหว่างรัฐบาล (Inter-Governmental Cooperation)<ref>1. วัชรา ไชยสาร. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส และสมาคมที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม และสถาบันในลักษณะเดียวกัน (AICESIS) พร้อมด้วยองค์กรสภาที่ปรึกษา ในประเทศเบลเยี่ยม. วารสารสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2549.</ref>
 
การลงนามในสนธิก่อตั้งสหภาพยุโรป (Treaty of the European Union) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สนธิสัญญามาสทริกท์ (Maastricht Treaty) เรียกชื่อใหม่ว่า สหภาพยุโรป (European Union – EU) มีเสาหลัก 3 ประการ คือ (1) ประชาคมยุโรป (2) นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง และ (3) ความร่วมมือด้านกิจการยุติธรรมและกิจการภายในขยายความร่วมมือนอกเหนือความ ร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ (ในรูปแบบประชาคม) ระหว่างรัฐสมาชิกไปอีกสองด้าน คือ ความร่วมมือด้านการต่างประเทศและความมั่นคง และความร่วมมือด้านมหาดไทยและยุติธรรม อย่างไรก็ดี เนื่องจากทั้งสองด้านดังกล่าว เป็นเรื่องที่บางรัฐสมาชิกมีความกังวลเกี่ยวอำนาจอธิปไตย จึงมิใช่ความร่วมมือในลักษณะ “ประชาคม” (หมายถึงการแบ่งอำนาจอธิปไตยมาบริหารร่วมกัน) แต่เป็นเพียงความร่วมมือหรือประสานนโยบายระหว่างรัฐบาล (Inter-Governmental Cooperation) <ref>วัชรา ไชยสาร. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส และสมาคมที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม และสถาบันในลักษณะเดียวกัน (AICESIS) พร้อมด้วยองค์กรสภาที่ปรึกษา   ในประเทศเบลเยี่ยม. วารสารสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2549.</ref>  


== ที่มา ==
== ที่มา ==
บรรทัดที่ 47: บรรทัดที่ 47:
วัชรา ไชยสาร. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส และสมาคมที่ปรึกษาเศรษฐกิจ และสังคม และสถาบันในลักษณะเดียวกัน (AICESIS) พร้อมด้วยองค์กรสภาที่ปรึกษา ในประเทศเบลเยี่ยม. วารสารสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2549.
วัชรา ไชยสาร. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส และสมาคมที่ปรึกษาเศรษฐกิจ และสังคม และสถาบันในลักษณะเดียวกัน (AICESIS) พร้อมด้วยองค์กรสภาที่ปรึกษา ในประเทศเบลเยี่ยม. วารสารสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2549.


สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. รายงานการเดินทางไปปฏิบัติภารกิจด้านวิเทศ
สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. รายงานการเดินทางไปปฏิบัติภารกิจด้านวิเทศสัมพันธ์และศึกษาดูงาน ณ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 11-20 พฤษภาคม 2549.
 
สัมพันธ์และศึกษาดูงาน ณ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประเทศสาธารณรัฐ
 
ฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 11-20 พฤษภาคม 2549.
   
   
== ดูเพิ่มเติม ==
== ดูเพิ่มเติม ==
บรรทัดที่ 68: บรรทัดที่ 64:
<references/>
<references/>
[[หมวดหมู่ : สหภาพยุโรป]]
[[หมวดหมู่ : สหภาพยุโรป]]
[[หมวดหมู่:วัชรา ไชยสาร]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:55, 5 ตุลาคม 2554

ผู้เรียบเรียง วัชรา ไชยสาร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ พรรณราย ขันธกิจ


ความเป็นมาของสหภาพยุโรป

สหภาพยุโรปเป็นการรวมตัวของกลุ่มประเทศประชาธิปไตยในยุโรปเพื่อให้เกิดสันติภาพและ ความเจริญรุ่งเรือง เดิมมีสมาชิกเพียง 6 ประเทศ ได้แก่ เยอรมัน ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี หลังจากนั้นสหภาพยุโรปได้รับรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยหลายครั้ง คือ

- ค.ศ. 1973 เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร

- ค.ศ. 1981 กรีซ

- ค.ศ. 1986 สเปนและโปรตุเกส

- ค.ศ. 1995 ออสเตรีย ฟินแลนด์ และสวีเดน

- ค.ศ. 2004 ถือเป็นการขยายจำนวนสมาชิกครั้งใหญ่ที่สุดถึง 10 ประเทศ คือ ไซปรัส สาธารณรัฐเช็ค เอสโตเนีย ฮังการี ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลต้า โปแลนด์ สาธารณรัฐสโลวัก และสลีวีเนีย Unity in diversity เป็นคำขวัญของสหภาพยุโรป แสดงถึงการรวมตัวบนความหลากหลาย ทั้งเชื้อชาติ วัฒนธรรม หรือภาษาของโดยแต่ละรัฐยังคงรักษาเอกลักษณ์ของตนเอง ด้วยเหตุนี้ สหภาพยุโรปจึงมีภาษาราชการถึง 19 ภาษา (โดยมิได้ให้ภาษาใดภาษาหนึ่งสำคัญกว่าดังเช่นประเทศที่ปกครองระบอบสหพันธรัฐ)

สหภาพยุโรปมีจุดเริ่มต้นมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ คือ การตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (European Coal and Steel Community) ค.ศ. 1951 และการตั้งประชาคมด้านปรมาณู (EURATOM) และเศรษฐกิจ (European Economic Community) ค.ศ. 1957 เป้าหมายสำคัญคือ การจัดตั้ง “ตลาดร่วม” ระหว่างประเทศสมาชิก มีการเคลื่อนย้ายของสินค้า บริการ เงินทุนและคนอย่างไม่มีอุปสรรคใดๆ

European Union

กลไกการบริหารจัดการของสหภาพยุโรป

สหภาพยุโรปมีกลไกการบริหารจัดการ ดังนี้

1. คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) เป็นองค์กรฝ่ายบริหาร ดูแลประโยชน์ของประชาคมโดยส่วนรวม มีความเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อรัฐใดรัฐหนึ่ง

2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วย ตัวแทนจากรัฐสมาชิก

3. ศาลตุลาการยุโรป (European Court of Justice)

4. สภายุโรป (European Parliament) ประกอบด้วย สมาชิกสภายุโรปจำนวน 731 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงทุก ๆ 5 ปี โดยสมาชิกสภายุโรปเหล่านี้มิได้แบ่งตามประเทศ แต่สังกัดอยู่กับพรรคการเมืองในระดับยุโรปที่มีแนวคิดทางการเมืองสอดคล้องกับพรรคการเมืองในระดับประเทศที่ตนสังกัดมากที่สุด ยังมีสมาชิกสภายุโรปบางส่วนที่ไม่ได้สังกัดพรรคการเมืองใด ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า สภายุโรป คือ เสียงแห่งประชาธิปไตยของประชาชนยุโรป ทั้งนี้ ประธานสภายุโรป ณ พฤษภาคม 2006 คือ นาย Josep Borell

ลักษณะความร่วมมือของสหภาพยุโรป

การลงนามในสนธิสัญญาก่อตั้งสหภาพยุโรป (Treaty of the European Union) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สนธิสัญญามาสทริกท์ (Maastricht Treaty) เรียกชื่อใหม่ว่า สหภาพยุโรป (European Union – EU) มีเสาหลัก 3 ประการ คือ (1) ประชาคมยุโรป (2) นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง และ (3) ความร่วมมือด้านกิจการยุติธรรมและกิจการภายในขยายความร่วมมือนอกเหนือความ ร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ (ในรูปแบบประชาคม) ระหว่างรัฐสมาชิกไปอีกสองด้าน คือ ความร่วมมือด้านการต่างประเทศและความมั่นคง และความร่วมมือด้านมหาดไทยและยุติธรรม อย่างไรก็ดี เนื่องจากทั้งสองด้านดังกล่าว เป็นเรื่องที่บางรัฐสมาชิกมีความกังวลเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตย จึงมิใช่ความร่วมมือในลักษณะ “ประชาคม” (หมายถึงการแบ่งอำนาจอธิปไตยมาบริหารร่วมกัน) แต่เป็นเพียงความร่วมมือหรือประสานนโยบายระหว่างรัฐบาล (Inter-Governmental Cooperation)[1]

ที่มา

วัชรา ไชยสาร. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส และสมาคมที่ปรึกษาเศรษฐกิจ และสังคม และสถาบันในลักษณะเดียวกัน (AICESIS) พร้อมด้วยองค์กรสภาที่ปรึกษา ในประเทศเบลเยี่ยม. วารสารสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2549.

สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. รายงานการเดินทางไปปฏิบัติภารกิจด้านวิเทศสัมพันธ์และศึกษาดูงาน ณ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 11-20 พฤษภาคม 2549.

ดูเพิ่มเติม

http://www.nesac.go.th/document/show11.php?did=07080001

http://www.nesac.go.th/France/

http://www.eesc.europa.eu/

http://www.cnt-nar.be/E1I.htm

http://www.eesc.europa.eu/...cnt.../cnt.../cnt-nar-national-labour-council-en.html

อ้างอิง

  1. 1. วัชรา ไชยสาร. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส และสมาคมที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม และสถาบันในลักษณะเดียวกัน (AICESIS) พร้อมด้วยองค์กรสภาที่ปรึกษา ในประเทศเบลเยี่ยม. วารสารสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2549.