ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2523"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้เรียบเรียง''' อลงกรณ์ อรรคแสง ---- '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบ...
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 9: บรรทัดที่ 9:
== พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2523 ==
== พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2523 ==


พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523 มีสาระสำคัญส่วนใหญ่อยู่ที่วิธีปฏิบัติหรือดำเนินการในการจัดการเลือกตั้งของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง โดยสรุป มีสาระสำคัญดังต่อไปนี้  
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523 มีสาระสำคัญส่วนใหญ่อยู่ที่วิธีปฏิบัติหรือดำเนินการในการจัดการเลือกตั้งของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง โดยสรุป มีสาระสำคัญดังต่อไปนี้ <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 97 ตอนที่ 33 ฉบับพิเศษ หน้า 1-18. ม.9</ref>


{| border="1" align="center"
{| border="1" align="center"
บรรทัดที่ 19: บรรทัดที่ 19:
|align="center"|1
|align="center"|1
|align="center" |-ไม่มี-
|align="center" |-ไม่มี-
| การโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งต้องไม่กระทำโดยวิธีการทา พ่น หรือระบายสีซึ่งมีข้อความ ภาพ หรือรูปรอยใดๆ ณ ที่รั้ว กำแพง ผนังอาคาร สะพาน เสาไฟฟ้า หรือต้นไม้ บรรดาซึ่งเป็นทรัพย์สินของทางราชการ หรือ ณ บริเวณที่เจ้าของหรือผู้ครองครองทรัพย์สินทำป้ายห้ามปิดประกาศ และต้องไม่กระทำโดยวิธีปิดประกาศ ณ ทรัพย์สินดังกล่าวของทางราชการที่อยู่ในเขตเทศบาลหรือสุขาภิบาล หรือบริเวณที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินทำป้ายห้ามปิดประกาศไว้  
| การโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งต้องไม่กระทำโดยวิธีการทา พ่น หรือระบายสีซึ่งมีข้อความ ภาพ หรือรูปรอยใดๆ ณ ที่รั้ว กำแพง ผนังอาคาร สะพาน เสาไฟฟ้า หรือต้นไม้ บรรดาซึ่งเป็นทรัพย์สินของทางราชการ หรือ ณ บริเวณที่เจ้าของหรือผู้ครองครองทรัพย์สินทำป้ายห้ามปิดประกาศ และต้องไม่กระทำโดยวิธีปิดประกาศ ณ ทรัพย์สินดังกล่าวของทางราชการที่อยู่ในเขตเทศบาลหรือสุขาภิบาล หรือบริเวณที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินทำป้ายห้ามปิดประกาศไว้ <ref>เพิ่งอ้าง, มาตรา 5.</ref>
|-
|-
|align="center"|2
|align="center"|2
|align="center" |-ไม่มี-
|align="center" |-ไม่มี-
|การห้ามมาให้มีสิ่งพิมพ์ แผ่นประกาศ หรือสิ่งโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งในที่เลือกตั้ง (หน่วยเลือกตั้ง)
|การห้ามมาให้มีสิ่งพิมพ์ แผ่นประกาศ หรือสิ่งโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งในที่เลือกตั้ง <ref>เรื่องเดียวกัน.</ref> (หน่วยเลือกตั้ง)
|-
|-
|align="center"|3
|align="center"|3
|align="center" |-ไม่มี-
|align="center" |-ไม่มี-
|นับตั้งแต่เวลา 18.00 น. ของวันก่อนการเลือกตั้งหนึ่งวันจนสิ้นสุดวันเลือกตั้ง ห้ามมิให้ผู้ใดทำการโฆษณาไม่ว่าวิธีใดอันเป็นคุณหรือโทษแก่ผู้สมัคร หรือทำด้วยประการใดอันเป็นการรบกวนหรือเป็นอุปสรรคแก่การเลือกตั้ง  
|นับตั้งแต่เวลา 18.00 น. ของวันก่อนการเลือกตั้งหนึ่งวันจนสิ้นสุดวันเลือกตั้ง ห้ามมิให้ผู้ใดทำการโฆษณาไม่ว่าวิธีใดอันเป็นคุณหรือโทษแก่ผู้สมัคร หรือทำด้วยประการใดอันเป็นการรบกวนหรือเป็นอุปสรรคแก่การเลือกตั้ง<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 7.</ref>
|-
|-
|align="center"|4
|align="center"|4
|align="center" |-ไม่มี-
|align="center" |-ไม่มี-
|นับตั้งแต่เวลา 18.00 น. ของวันก่อนการเลือกตั้งหนึ่งวันจนสิ้นสุดวันเลือกตั้ง ห้ามมิให้ผู้ใดขาย จำหน่าย จ่ายแจกหรือจัดเลี้ยงสุราทุกชนิดในเขตเลือกตั้ง  
|นับตั้งแต่เวลา 18.00 น. ของวันก่อนการเลือกตั้งหนึ่งวันจนสิ้นสุดวันเลือกตั้ง ห้ามมิให้ผู้ใดขาย จำหน่าย จ่ายแจกหรือจัดเลี้ยงสุราทุกชนิดในเขตเลือกตั้ง <ref>เรื่องเดียวกัน.</ref>
|-
|-
|align="center"|5
|align="center"|5
|align="center" |-ไม่มี-
|align="center" |-ไม่มี-
|ห้ามมิให้ผู้ใดเล่น หรือจัดให้มีการเล่นการพนันขันต่อ ว่าผู้สมัครแพ้หรือชนะหรือได้คะแนนเท่าใด และได้รับการเลือกตั้งหรือไม่ได้รับการเลือกตั้ง หรือได้รับการเลือกตั้งจำนวนเท่าใด  
|ห้ามมิให้ผู้ใดเล่น หรือจัดให้มีการเล่นการพนันขันต่อ ว่าผู้สมัครแพ้หรือชนะหรือได้คะแนนเท่าใด และได้รับการเลือกตั้งหรือไม่ได้รับการเลือกตั้ง หรือได้รับการเลือกตั้งจำนวนเท่าใด <ref>เรื่องเดียวกัน.</ref>
|-
|-
|align="center"|6
|align="center"|6
บรรทัดที่ 46: บรรทัดที่ 46:
3. เป็นหรือเคยเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี
3. เป็นหรือเคยเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี


4. เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการสุขาภิบาล กรรมการตำบล หรือผู้ใหญ่บ้าน  
4. เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการสุขาภิบาล กรรมการตำบล หรือผู้ใหญ่บ้าน <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 91 ตอนที่ 215 วันที่ 17 ธันวาคม 2517, น.34, มาตรา 6.</ref>


|กฎหมายไม่ได้ให้สิทธิเลือกตั้งแก่บุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ  โดยกฎหมายแก้ไขมาให้สิทธิเลือกตั้งแก่บุคคลที่มีสัญชาติไทยโดยการเกิด แต่มีบิดาเป็นคนต่างด้าว โดยบุคคลดังกล่าวจะมีสิทธิเลือกตั้งได้ต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
|กฎหมายไม่ได้ให้สิทธิเลือกตั้งแก่บุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ  โดยกฎหมายแก้ไขมาให้สิทธิเลือกตั้งแก่บุคคลที่มีสัญชาติไทยโดยการเกิด แต่มีบิดาเป็นคนต่างด้าว โดยบุคคลดังกล่าวจะมีสิทธิเลือกตั้งได้ต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
บรรทัดที่ 58: บรรทัดที่ 58:
4. ตนเองหรือคู่สมรสเสียหรือเคยเสียภาษีรายได้บุคคลธรรมดาหรือภาษีโรงเรือนแลที่ดิน หรือภาษีบำรุงท้องที่ตามกฎหมาย
4. ตนเองหรือคู่สมรสเสียหรือเคยเสียภาษีรายได้บุคคลธรรมดาหรือภาษีโรงเรือนแลที่ดิน หรือภาษีบำรุงท้องที่ตามกฎหมาย


5. มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรไทยติดต่อกันไม่น้อยกว่าสิบปี  
5. มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรไทยติดต่อกันไม่น้อยกว่าสิบปี <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 10.</ref>


|-
|-
|align="center"|7
|align="center"|7
|ผู้มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีถิ่นที่อยู่ในเขตจังหวัดเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกเดือนก่อนการวันเลือกตั้ง  
|ผู้มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีถิ่นที่อยู่ในเขตจังหวัดเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกเดือนก่อนการวันเลือกตั้ง <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2498, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 72 ตอนที่ 11 วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2498, น.203, มาตรา 16.</ref>
|ผู้มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้ง
|ผู้มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้ง<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 9.</ref>
|-
|-
|align="center"|8
|align="center"|8
|บุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
|บุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517, อ้างแล้ว, มาตรา 8.</ref>
|บุคคลที่มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิด  
|บุคคลที่มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิด <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 9.</ref>
|-
|-
|align="center"|9
|align="center"|9
|ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 23 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
|ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 23 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517, อ้างแล้ว, มาตรา 7.</ref>
|ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง  
|ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง <ref> พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 12.</ref>
|-
|-
|align="center" |10
|align="center" |10
|ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีขึ้นไป โดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงห้าปีในวันเลือกตั้ง เว้นแต่ความผิดอันได้กระทำโดยประมาท  
|ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีขึ้นไป โดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงห้าปีในวันเลือกตั้ง เว้นแต่ความผิดอันได้กระทำโดยประมาท <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517, อ้างแล้ว, มาตรา 9</ref>
|ไม่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้จำคุกตั้งแต่สองปีขึ้นไป โดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงห้าปีในวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทำโดยประมาท  
|ไม่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้จำคุกตั้งแต่สองปีขึ้นไป โดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงห้าปีในวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทำโดยประมาท <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 15.</ref>
|-
|-
|align="center" |11
|align="center" |11
|สมาชิกสภาจังหวัดต้องไม่เป็นสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาเทศบาล หรือ กรรมการสุขาภิบาล  
|สมาชิกสภาจังหวัดต้องไม่เป็นสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาเทศบาล หรือ กรรมการสุขาภิบาล <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517, อ้างแล้ว, มาตรา 7.</ref>
|สมาชิกสภาจังหวัดต้องไม่เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการสุขาภิบาล กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรกำนัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หรือแพทย์ประจำตำบล
|สมาชิกสภาจังหวัดต้องไม่เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการสุขาภิบาล กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรกำนัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หรือแพทย์ประจำตำบล <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 15.</ref>
|-
|-
|align="center" |12
|align="center" |12
|โดยปกติให้ใช้เขตตำบลหนึ่งเป็นหน่วยเลือกตั้งหนึ่ง ถ้าตำบลใดมีจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเกินกว่าสามพันคน ให้กำหนดหน่วยเลือกตั้งในตำบลเพิ่มขึ้นโดยถือเกณฑ์จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งหน่วยละไม่เกินสามพันคน  
|โดยปกติให้ใช้เขตตำบลหนึ่งเป็นหน่วยเลือกตั้งหนึ่ง ถ้าตำบลใดมีจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเกินกว่าสามพันคน ให้กำหนดหน่วยเลือกตั้งในตำบลเพิ่มขึ้นโดยถือเกณฑ์จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งหน่วยละไม่เกินสามพันคน <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517, อ้างแล้ว, มาตรา 10.</ref>
|โดยปกติให้ใช้เขตตำบลหนึ่งเป็นหน่วยเลือกตั้งหนึ่ง ให้ถือเกณฑ์จำนวนผู้เลือกตั้งหน่วยละหนึ่งพันคนเป็นประมาณ  (เป็นการเพิ่มจำนวนหน่วยเลือกตั้งให้มากขึ้น ประชาชนสะดวกขึ้น)
|โดยปกติให้ใช้เขตตำบลหนึ่งเป็นหน่วยเลือกตั้งหนึ่ง ให้ถือเกณฑ์จำนวนผู้เลือกตั้งหน่วยละหนึ่งพันคนเป็นประมาณ  <ref> พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 17. </ref> (เป็นการเพิ่มจำนวนหน่วยเลือกตั้งให้มากขึ้น ประชาชนสะดวกขึ้น)
|-
|-
|align="center" |13
|align="center" |13
|ห้ามมิให้แต่งตั้งข้าราชการประจำการหรือพนักงานเทศบาล หรือผู้สมัคร หรือผู้แทนผู้สมัคร เป็นกรรมการตรวจคะแนนหรือกรรมการสำรอง
|ห้ามมิให้แต่งตั้งข้าราชการประจำการหรือพนักงานเทศบาล หรือผู้สมัคร หรือผู้แทนผู้สมัคร เป็นกรรมการตรวจคะแนนหรือกรรมการสำรอง<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พ.ศ.2482, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 56 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2482, น.1616, มาตรา 29.</ref>
|ห้ามมิให้แต่งตั้งข้าราชการ นายกเทศมนตรี เจ้าพนักงานท้องถิ่น ผู้สมัคร ตัวแทนผู้สมัคร กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล สารวัตรกำนัน หรือผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน เป็นกรรมการตรวจคะแนน  
|ห้ามมิให้แต่งตั้งข้าราชการ นายกเทศมนตรี เจ้าพนักงานท้องถิ่น ผู้สมัคร ตัวแทนผู้สมัคร กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล สารวัตรกำนัน หรือผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน เป็นกรรมการตรวจคะแนน<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 19.</ref>
|-
|-
|align="center" |14
|align="center" |14
|align="center" |-ไม่มี-
|align="center" |-ไม่มี-
| ให้มีการจัดทำประกาศบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งของแต่ละหน่วยเลือกตั้งไว้ ณ ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานเทศบาล ที่สาธารณะที่เห็นได้ง่าย และที่เลือกตั้ง หรือบริเวณใกล้เคียงกับที่เลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่าสามสิบวัน  
| ให้มีการจัดทำประกาศบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งของแต่ละหน่วยเลือกตั้งไว้ ณ ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานเทศบาล ที่สาธารณะที่เห็นได้ง่าย และที่เลือกตั้ง หรือบริเวณใกล้เคียงกับที่เลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่าสามสิบวัน <ref>เพิ่งอ้าง, มาตรา 21</ref>
|-
|-
|align="center" |15
|align="center" |15
|เปิดให้ลงคะแนนตั้งแต่เวลา 8.00 น. – 16.00 น.  
|เปิดให้ลงคะแนนตั้งแต่เวลา 8.00 น. – 16.00 น. <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พ.ศ.2482, อ้างแล้ว, มาตรา 42.</ref>
|เปิดให้ลงคะแนนตั้งแต่เวลา 8.00 น. – 15.00 น.  (ลดลง 1 ชั่วโมง)
|เปิดให้ลงคะแนนตั้งแต่เวลา 8.00 น. – 15.00 น.<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 23.</ref> (ลดลง 1 ชั่วโมง)
|-
|-
|align="center" |16
|align="center" |16
|ผู้มีสิทธิเลือกตั้งแสดงตนต่อกรรมการตรวจคะแนน เพื่อใช้สิทธิเลือกตั้ง
|ผู้มีสิทธิเลือกตั้งแสดงตนต่อกรรมการตรวจคะแนน เพื่อใช้สิทธิเลือกตั้ง<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พ.ศ.2482, อ้างแล้ว, มาตรา 46.</ref>
|ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไปแสดงตนต่อกรรมการตรวจคะแนนพร้อมบัตรประชาชนหรือหลักฐานอื่น เพื่อใช้สิทธิเลือกตั้ง และให้ลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือลงในบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งเป็นหลักฐาน  
|ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไปแสดงตนต่อกรรมการตรวจคะแนนพร้อมบัตรประชาชนหรือหลักฐานอื่น เพื่อใช้สิทธิเลือกตั้ง และให้ลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือลงในบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งเป็นหลักฐาน <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 24.</ref>
|-
|-
|align="center" |17
|align="center" |17
|ผู้สมัครหรือผู้ใดให้ หรือให้คำมั่นว่าจะให้ทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อย่างใดๆ แก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งคนใด โดยเจตนาจะจูงใจให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งนั้นลงคะแนนเลือกตั้งให้แก่ตนเองก็ดี หรือให้แก่ผู้อื่นก็ดี หรือให้งดเว้นมิให้ลงคะแนนให้แก่ผู้ใดก็ดี มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งปรับทั้งจำ และให้ศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมีกำหนดเวลาแปดปี
|ผู้สมัครหรือผู้ใดให้ หรือให้คำมั่นว่าจะให้ทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อย่างใดๆ แก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งคนใด โดยเจตนาจะจูงใจให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งนั้นลงคะแนนเลือกตั้งให้แก่ตนเองก็ดี หรือให้แก่ผู้อื่นก็ดี หรือให้งดเว้นมิให้ลงคะแนนให้แก่ผู้ใดก็ดี มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งปรับทั้งจำ และให้ศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมีกำหนดเวลาแปดปี<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พ.ศ.2482, อ้างแล้ว, มาตรา 63.</ref>
|เมื่อมีการประกาศให้เลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัดในเขตเลือกตั้งใดจนถึงวันเลือกตั้ง ผู้ใด เพื่อจูงใจให้เลือกตั้งลงคะแนนเลือกตั้ง หรือให้งดเว้นมิให้ลงคะแนนให้แก่ผู้สมัครใด กระทำการดังต่อไปนี้
|เมื่อมีการประกาศให้เลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัดในเขตเลือกตั้งใดจนถึงวันเลือกตั้ง ผู้ใด เพื่อจูงใจให้เลือกตั้งลงคะแนนเลือกตั้ง หรือให้งดเว้นมิให้ลงคะแนนให้แก่ผู้สมัครใด กระทำการดังต่อไปนี้


บรรทัดที่ 113: บรรทัดที่ 113:
4. ทำสิ่งอันเป็นสาธารณประโยชน์หรือสิ่งอื่นใดเพื่อประโยชน์ของบุคคล ชุมชน สมาคม มูลนิธิ วัด สถานการศึกษา หรือสถาบันอื่นใด ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมหรือไม่ก็ตาม
4. ทำสิ่งอันเป็นสาธารณประโยชน์หรือสิ่งอื่นใดเพื่อประโยชน์ของบุคคล ชุมชน สมาคม มูลนิธิ วัด สถานการศึกษา หรือสถาบันอื่นใด ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมหรือไม่ก็ตาม


5. เลี้ยงหรือรับจะจัดเลี้ยงผู้ใด
5. เลี้ยงหรือรับจะจัดเลี้ยงผู้ใด มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งปรับทั้งจำ และให้ศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมีกำหนดเวลาแปดปี <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 26.</ref>
 
มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งปรับทั้งจำ และให้ศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมีกำหนดเวลาแปดปี  


|-
|-
|}
|}
== ที่มา ==
'''พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พ.ศ.2482''', ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 56 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2482, น.1604-1636.
'''พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2498''', ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 72 ตอนที่ 11 วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2498, น.200-207.
'''พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517'''. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 91 ตอนที่ 215 วันที่ 17 ธันวาคม 2517, ฉบับพิเศษ น.32-40.
'''พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523''', ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 97 ตอนที่ 33 วันที่ 2 มีนาคม 2523, ฉบับพิเศษ น.1-18.
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
<references/>
<references/>
[[หมวดหมู่:กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง]]
[[หมวดหมู่:กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:53, 8 ตุลาคม 2553

ผู้เรียบเรียง อลงกรณ์ อรรคแสง


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2523

พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523 มีสาระสำคัญส่วนใหญ่อยู่ที่วิธีปฏิบัติหรือดำเนินการในการจัดการเลือกตั้งของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง โดยสรุป มีสาระสำคัญดังต่อไปนี้ [1]

ลำดับ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัดฉบับก่อนหน้า พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523
1 -ไม่มี- การโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งต้องไม่กระทำโดยวิธีการทา พ่น หรือระบายสีซึ่งมีข้อความ ภาพ หรือรูปรอยใดๆ ณ ที่รั้ว กำแพง ผนังอาคาร สะพาน เสาไฟฟ้า หรือต้นไม้ บรรดาซึ่งเป็นทรัพย์สินของทางราชการ หรือ ณ บริเวณที่เจ้าของหรือผู้ครองครองทรัพย์สินทำป้ายห้ามปิดประกาศ และต้องไม่กระทำโดยวิธีปิดประกาศ ณ ทรัพย์สินดังกล่าวของทางราชการที่อยู่ในเขตเทศบาลหรือสุขาภิบาล หรือบริเวณที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินทำป้ายห้ามปิดประกาศไว้ [2]
2 -ไม่มี- การห้ามมาให้มีสิ่งพิมพ์ แผ่นประกาศ หรือสิ่งโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งในที่เลือกตั้ง [3] (หน่วยเลือกตั้ง)
3 -ไม่มี- นับตั้งแต่เวลา 18.00 น. ของวันก่อนการเลือกตั้งหนึ่งวันจนสิ้นสุดวันเลือกตั้ง ห้ามมิให้ผู้ใดทำการโฆษณาไม่ว่าวิธีใดอันเป็นคุณหรือโทษแก่ผู้สมัคร หรือทำด้วยประการใดอันเป็นการรบกวนหรือเป็นอุปสรรคแก่การเลือกตั้ง[4]
4 -ไม่มี- นับตั้งแต่เวลา 18.00 น. ของวันก่อนการเลือกตั้งหนึ่งวันจนสิ้นสุดวันเลือกตั้ง ห้ามมิให้ผู้ใดขาย จำหน่าย จ่ายแจกหรือจัดเลี้ยงสุราทุกชนิดในเขตเลือกตั้ง [5]
5 -ไม่มี- ห้ามมิให้ผู้ใดเล่น หรือจัดให้มีการเล่นการพนันขันต่อ ว่าผู้สมัครแพ้หรือชนะหรือได้คะแนนเท่าใด และได้รับการเลือกตั้งหรือไม่ได้รับการเลือกตั้ง หรือได้รับการเลือกตั้งจำนวนเท่าใด [6]
6 บุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้งได้ แต่ต้องมีเงื่อนไขตามกฎหมายกำหนด ได้แก่ ต้องมีภูมิลำเนาในราชอาณาจักรไทยติดต่อกันนับแต่ได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่าสิบปี และต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้

1.สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าชันมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรของกระทรวง ศึกษาธิการหรือความรู้ที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่า

2. รับหรือเคยรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร

3. เป็นหรือเคยเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี

4. เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการสุขาภิบาล กรรมการตำบล หรือผู้ใหญ่บ้าน [7]

กฎหมายไม่ได้ให้สิทธิเลือกตั้งแก่บุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ โดยกฎหมายแก้ไขมาให้สิทธิเลือกตั้งแก่บุคคลที่มีสัญชาติไทยโดยการเกิด แต่มีบิดาเป็นคนต่างด้าว โดยบุคคลดังกล่าวจะมีสิทธิเลือกตั้งได้ต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้

1. สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าระดับการศึกษาภาคบังคับตามกฎหมายที่ใช้อยู่ในขณะที่ผู้นั้นพ้นเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ

2. รับหรือเคยรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร

3. เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการสุขาภิบาล กรรมการสภาตำบล กำนันหรือผู้ใหญ่บ้าน

4. ตนเองหรือคู่สมรสเสียหรือเคยเสียภาษีรายได้บุคคลธรรมดาหรือภาษีโรงเรือนแลที่ดิน หรือภาษีบำรุงท้องที่ตามกฎหมาย

5. มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรไทยติดต่อกันไม่น้อยกว่าสิบปี [8]

7 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีถิ่นที่อยู่ในเขตจังหวัดเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกเดือนก่อนการวันเลือกตั้ง [9] ผู้มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้ง[10]
8 บุคคลที่ได้สัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง[11] บุคคลที่มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิด [12]
9 ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 23 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง[13] ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง [14]
10 ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีขึ้นไป โดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงห้าปีในวันเลือกตั้ง เว้นแต่ความผิดอันได้กระทำโดยประมาท [15] ไม่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้จำคุกตั้งแต่สองปีขึ้นไป โดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงห้าปีในวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทำโดยประมาท [16]
11 สมาชิกสภาจังหวัดต้องไม่เป็นสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาเทศบาล หรือ กรรมการสุขาภิบาล [17] สมาชิกสภาจังหวัดต้องไม่เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการสุขาภิบาล กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรกำนัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หรือแพทย์ประจำตำบล [18]
12 โดยปกติให้ใช้เขตตำบลหนึ่งเป็นหน่วยเลือกตั้งหนึ่ง ถ้าตำบลใดมีจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเกินกว่าสามพันคน ให้กำหนดหน่วยเลือกตั้งในตำบลเพิ่มขึ้นโดยถือเกณฑ์จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งหน่วยละไม่เกินสามพันคน [19] โดยปกติให้ใช้เขตตำบลหนึ่งเป็นหน่วยเลือกตั้งหนึ่ง ให้ถือเกณฑ์จำนวนผู้เลือกตั้งหน่วยละหนึ่งพันคนเป็นประมาณ [20] (เป็นการเพิ่มจำนวนหน่วยเลือกตั้งให้มากขึ้น ประชาชนสะดวกขึ้น)
13 ห้ามมิให้แต่งตั้งข้าราชการประจำการหรือพนักงานเทศบาล หรือผู้สมัคร หรือผู้แทนผู้สมัคร เป็นกรรมการตรวจคะแนนหรือกรรมการสำรอง[21] ห้ามมิให้แต่งตั้งข้าราชการ นายกเทศมนตรี เจ้าพนักงานท้องถิ่น ผู้สมัคร ตัวแทนผู้สมัคร กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล สารวัตรกำนัน หรือผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน เป็นกรรมการตรวจคะแนน[22]
14 -ไม่มี- ให้มีการจัดทำประกาศบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งของแต่ละหน่วยเลือกตั้งไว้ ณ ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานเทศบาล ที่สาธารณะที่เห็นได้ง่าย และที่เลือกตั้ง หรือบริเวณใกล้เคียงกับที่เลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่าสามสิบวัน [23]
15 เปิดให้ลงคะแนนตั้งแต่เวลา 8.00 น. – 16.00 น. [24] เปิดให้ลงคะแนนตั้งแต่เวลา 8.00 น. – 15.00 น.[25] (ลดลง 1 ชั่วโมง)
16 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งแสดงตนต่อกรรมการตรวจคะแนน เพื่อใช้สิทธิเลือกตั้ง[26] ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไปแสดงตนต่อกรรมการตรวจคะแนนพร้อมบัตรประชาชนหรือหลักฐานอื่น เพื่อใช้สิทธิเลือกตั้ง และให้ลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือลงในบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งเป็นหลักฐาน [27]
17 ผู้สมัครหรือผู้ใดให้ หรือให้คำมั่นว่าจะให้ทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อย่างใดๆ แก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งคนใด โดยเจตนาจะจูงใจให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งนั้นลงคะแนนเลือกตั้งให้แก่ตนเองก็ดี หรือให้แก่ผู้อื่นก็ดี หรือให้งดเว้นมิให้ลงคะแนนให้แก่ผู้ใดก็ดี มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งปรับทั้งจำ และให้ศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมีกำหนดเวลาแปดปี[28] เมื่อมีการประกาศให้เลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัดในเขตเลือกตั้งใดจนถึงวันเลือกตั้ง ผู้ใด เพื่อจูงใจให้เลือกตั้งลงคะแนนเลือกตั้ง หรือให้งดเว้นมิให้ลงคะแนนให้แก่ผู้สมัครใด กระทำการดังต่อไปนี้

1. จัดทำ ให้ เสนอให้ หรือสัญญาว่าจะให้ทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใดอันอาจคำนวณเป็นเงินได้แก้ผู้ใด

2. ให้ เสนอให้ หรือสัญญาว่าจะให้เงินหรือทรัพย์สินอื่นไม่ว่าโดยตรงหรือทางอ้อม แก่สมาคม มูลนิธิ วัด สถาบันการศึกษา หรือสถานสงเคราะห์อื่นใด

3. ทำการโฆษณาหาเสียงด้วยการจัดมหรสพและการรื่นเริงต่างๆ

4. ทำสิ่งอันเป็นสาธารณประโยชน์หรือสิ่งอื่นใดเพื่อประโยชน์ของบุคคล ชุมชน สมาคม มูลนิธิ วัด สถานการศึกษา หรือสถาบันอื่นใด ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมหรือไม่ก็ตาม

5. เลี้ยงหรือรับจะจัดเลี้ยงผู้ใด มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งปรับทั้งจำ และให้ศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมีกำหนดเวลาแปดปี [29]

ที่มา

พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พ.ศ.2482, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 56 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2482, น.1604-1636.

พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2498, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 72 ตอนที่ 11 วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2498, น.200-207.

พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 91 ตอนที่ 215 วันที่ 17 ธันวาคม 2517, ฉบับพิเศษ น.32-40.

พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 97 ตอนที่ 33 วันที่ 2 มีนาคม 2523, ฉบับพิเศษ น.1-18.

อ้างอิง

  1. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 97 ตอนที่ 33 ฉบับพิเศษ หน้า 1-18. ม.9
  2. เพิ่งอ้าง, มาตรา 5.
  3. เรื่องเดียวกัน.
  4. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 7.
  5. เรื่องเดียวกัน.
  6. เรื่องเดียวกัน.
  7. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 91 ตอนที่ 215 วันที่ 17 ธันวาคม 2517, น.34, มาตรา 6.
  8. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 10.
  9. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2498, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 72 ตอนที่ 11 วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2498, น.203, มาตรา 16.
  10. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 9.
  11. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517, อ้างแล้ว, มาตรา 8.
  12. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 9.
  13. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517, อ้างแล้ว, มาตรา 7.
  14. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 12.
  15. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517, อ้างแล้ว, มาตรา 9
  16. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 15.
  17. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517, อ้างแล้ว, มาตรา 7.
  18. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 15.
  19. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2517, อ้างแล้ว, มาตรา 10.
  20. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 17.
  21. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พ.ศ.2482, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 56 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2482, น.1616, มาตรา 29.
  22. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 19.
  23. เพิ่งอ้าง, มาตรา 21
  24. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พ.ศ.2482, อ้างแล้ว, มาตรา 42.
  25. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 23.
  26. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พ.ศ.2482, อ้างแล้ว, มาตรา 46.
  27. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 24.
  28. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด พ.ศ.2482, อ้างแล้ว, มาตรา 63.
  29. พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, อ้างแล้ว, มาตรา 26.