ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บกพร่องโดยสุจริต"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 3: บรรทัดที่ 3:
----
----


'''บกพร่องโดยสุจริต'''
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์


บกพร่องโดยสุจริต เป็นข้อต่อสู้ของนักการเมืองที่มีหน้าที่ในการแสดงบัญชีทรัพย์สินต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)  เมื่อได้ยื่นแสดงบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อ ป.ป.ช. แล้ว  ป.ป.ช. ตรวจสอบพบข้อพิรุธว่าจงใจยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินโดยปกปิดทรัพย์สินของตน  จึงได้ยื่นเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ  ตามมาตรา 295 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540  
----
 
'''บกพร่องโดยสุจริต''' เป็นข้อต่อสู้ของนักการเมืองที่มีหน้าที่ในการแสดงบัญชีทรัพย์สินต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)  เมื่อได้ยื่นแสดงบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อ ป.ป.ช. แล้ว  ป.ป.ช. ตรวจสอบพบข้อพิรุธว่าจงใจยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินโดยปกปิดทรัพย์สินของตน  จึงได้ยื่นเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ  ตามมาตรา 295 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540  


เพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญสั่งให้ผู้นั้นพ้นจากตำแหน่ง และมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี  นักการเมืองผู้นั้นต่อสู้คดีว่า มิได้จงใจยื่นบัญชีทรัพย์สินหนี้สินอันเป็นเท็จ  แต่ผู้ช่วยหรือเลขานุการของตนเองเป็นผู้ดำเนินการแทน  หากมีการผิดพลาดในการยื่นแสดงบัญชีทรัพย์สินหนี้สินที่ไม่ถูกต้อง ก็เป็นเพียงความบกพร่องของตนเองโดยมิได้มีเจตนาทุจริตแต่อย่างใด  สาเหตุเกิดขึ้นจากการ “บกพร่องโดยสุจริต” ของตน  ไม่ควรต้องถูกลงโทษตามรัฐธรรมนูญ  ในที่สุดศาลรัฐธรรมนูญก็ได้ตัดสินว่า นักการเมืองผู้นั้นไม่ผิดด้วยคะแนนเสียง 8 : 7 ทั้งนี้ตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 20/2544
เพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญสั่งให้ผู้นั้นพ้นจากตำแหน่ง และมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี  นักการเมืองผู้นั้นต่อสู้คดีว่า มิได้จงใจยื่นบัญชีทรัพย์สินหนี้สินอันเป็นเท็จ  แต่ผู้ช่วยหรือเลขานุการของตนเองเป็นผู้ดำเนินการแทน  หากมีการผิดพลาดในการยื่นแสดงบัญชีทรัพย์สินหนี้สินที่ไม่ถูกต้อง ก็เป็นเพียงความบกพร่องของตนเองโดยมิได้มีเจตนาทุจริตแต่อย่างใด  สาเหตุเกิดขึ้นจากการ “บกพร่องโดยสุจริต” ของตน  ไม่ควรต้องถูกลงโทษตามรัฐธรรมนูญ  ในที่สุดศาลรัฐธรรมนูญก็ได้ตัดสินว่า นักการเมืองผู้นั้นไม่ผิดด้วยคะแนนเสียง 8 : 7 ทั้งนี้ตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 20/2544
[[หมวดหมู่:สารานุกรมการเมืองไทย]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:28, 28 พฤษภาคม 2555

ผู้เรียบเรียง รศ.ดร.กมลชัย รัตนสกาววงศ์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์


บกพร่องโดยสุจริต เป็นข้อต่อสู้ของนักการเมืองที่มีหน้าที่ในการแสดงบัญชีทรัพย์สินต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เมื่อได้ยื่นแสดงบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อ ป.ป.ช. แล้ว ป.ป.ช. ตรวจสอบพบข้อพิรุธว่าจงใจยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินโดยปกปิดทรัพย์สินของตน จึงได้ยื่นเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ ตามมาตรา 295 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540

เพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญสั่งให้ผู้นั้นพ้นจากตำแหน่ง และมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี นักการเมืองผู้นั้นต่อสู้คดีว่า มิได้จงใจยื่นบัญชีทรัพย์สินหนี้สินอันเป็นเท็จ แต่ผู้ช่วยหรือเลขานุการของตนเองเป็นผู้ดำเนินการแทน หากมีการผิดพลาดในการยื่นแสดงบัญชีทรัพย์สินหนี้สินที่ไม่ถูกต้อง ก็เป็นเพียงความบกพร่องของตนเองโดยมิได้มีเจตนาทุจริตแต่อย่างใด สาเหตุเกิดขึ้นจากการ “บกพร่องโดยสุจริต” ของตน ไม่ควรต้องถูกลงโทษตามรัฐธรรมนูญ ในที่สุดศาลรัฐธรรมนูญก็ได้ตัดสินว่า นักการเมืองผู้นั้นไม่ผิดด้วยคะแนนเสียง 8 : 7 ทั้งนี้ตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 20/2544