ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรรคการเมืองกับการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชน"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้เรียบเรียง''' นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ ---- '''ผู้ทรงคุณวุฒิป...
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
'''ผู้เรียบเรียง''' รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


----
----
บรรทัดที่ 10: บรรทัดที่ 10:




การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชน (Political education)  นับเป็นหน้าที่หนึ่งของพรรคการเมืองในฐานะที่เป็นสถาบันการเมืองอันเป็นตัวกลางในการเชื่อมประสานความต้องการ ความเข้าใจ และเป็นตัวแทน (Agent) ในการสะท้อนข้อเรียกร้องต่าง ๆ ระหว่างประชาชนผ่านไปยังสถาบันการเมืองระดับบน อาทิ ฝ่ายนิติบัญญัติฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการ องค์กรอิสระ ฯลฯ และส่งสารจากสถาบันทางการเมืองระดับบนมายังประชาชน  
'''การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชน (Political education)'''<ref>สรุปความจาก, Campbell, C. M., The  American Voter (New York: John Wiley, 1960).</ref> นับเป็นหน้าที่หนึ่งของพรรคการเมืองในฐานะที่เป็นสถาบันการเมืองอันเป็นตัวกลางในการเชื่อมประสานความต้องการ ความเข้าใจ และเป็นตัวแทน (Agent) ในการสะท้อนข้อเรียกร้องต่าง ๆ ระหว่างประชาชนผ่านไปยังสถาบันการเมืองระดับบน อาทิ ฝ่ายนิติบัญญัติฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการ องค์กรอิสระ ฯลฯ และส่งสารจากสถาบันทางการเมืองระดับบนมายังประชาชน  


ด้วยบทบาทหน้าที่ของพรรคการเมืองในฐานะสถาบันทางการเมืองระดับกลางเช่นนี้ จึงส่งผลให้พรรคการเมืองจึงต้องเป็นตัวแทนในการขัดเกลาทางการเมืองให้แก่ประชาชนในสังคม (Political socialization) นับตั้งแต่วัยเด็กจนกระทั่งสูงอายุให้เขาสามารถมีความนึกคิดหรือมีจุดยืนทางการเมือง รู้จักสิทธิที่ตนพึงมี สามารถสะท้อนและวิพากษ์ทัศนคติของตนต่อระบบการเมือง ไปจนกระทั่งผลักดันให้ประชาชนรู้สึกผูกผันต่อการเมือง จนไปสู่กระบวนการของการมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political participation) ไม่ว่าจะเป็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยทางตรง เช่น การใช้สิทธิเลือกตั้ง การออกเสียงประชามติ การเสนอกฎหมาย การถอดถอนนักการเมือง การเป็นสมาชิกพรรคการเมือง หรือการลงรับสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎร การหรือการมีส่วนร่วมทางการเมืองทางอ้อม เช่น การบริจาคเงินให้พรรคการเมือง เป็นต้น  
ด้วยบทบาทหน้าที่ของพรรคการเมืองในฐานะสถาบันทางการเมืองระดับกลางเช่นนี้ จึงส่งผลให้พรรคการเมืองจึงต้องเป็นตัวแทนในการขัดเกลาทางการเมืองให้แก่ประชาชนในสังคม (Political socialization) นับตั้งแต่วัยเด็กจนกระทั่งสูงอายุให้เขาสามารถมีความนึกคิดหรือมีจุดยืนทางการเมือง รู้จักสิทธิที่ตนพึงมี สามารถสะท้อนและวิพากษ์ทัศนคติของตนต่อระบบการเมือง ไปจนกระทั่งผลักดันให้ประชาชนรู้สึกผูกผันต่อการเมือง จนไปสู่กระบวนการของการมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political participation) ไม่ว่าจะเป็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยทางตรง เช่น การใช้สิทธิเลือกตั้ง การออกเสียงประชามติ การเสนอกฎหมาย การถอดถอนนักการเมือง การเป็นสมาชิกพรรคการเมือง หรือการลงรับสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎร การหรือการมีส่วนร่วมทางการเมืองทางอ้อม เช่น การบริจาคเงินให้พรรคการเมือง เป็นต้น  
บรรทัดที่ 16: บรรทัดที่ 16:
อีกทั้งในสังคมประชาธิปไตย พรรคการเมืองจะทำหน้าที่เป็นโรงเรียนทางการเมือง ให้กับประชาชนผู้ที่สนใจได้เข้าไปศึกษา อบรม เรียนรู้กระบวนการ การทำงานทางเมืองของพรรค เพื่อให้ประชาชนผู้สนใจเป็นส่วนหนึ่งของพรรคการเมือง เนื่องจากมีการปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองของพรรคให้แก่ประชาชน จนกระทั่งเขาได้เติบโตจากการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองขึ้นไปสู่การเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นนักการเมือง และสามารถออกเป็นตัวแทนประชาชนในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รัฐมนตรี นักการเมืองท้องถิ่น ฯลฯ ในการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชนในลักษณะนี้จะเชื่อมโยงกับหน้าที่หลักสำคัญของพรรคการเมืองอีกหน้าที่หนึ่งก็คือการคัดสรรบุคลากรทางการเมือง (Political recruitment) เข้าสู่ระบบทางการเมืองได้อีกด้วย ซึ่งการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชนของพรรคการเมืองจะทำให้ประชาชนมีความรู้สึกผูกผันและมีอุดมการณ์ทางการเมืองเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับพรรคการเมือง อันจะส่งเสริมให้พรรคการเมืองเข้มแข็ง ขจัดปัญหานักการเมืองการย้ายพรรคเพราะไร้อุดมการณ์ทางการเมือง เพราะนักการเมืองของพรรคได้เติบโตจากการกล่อมเกลาทางการเมืองจากพรรคการเมืองแล้วนั้นเอง
อีกทั้งในสังคมประชาธิปไตย พรรคการเมืองจะทำหน้าที่เป็นโรงเรียนทางการเมือง ให้กับประชาชนผู้ที่สนใจได้เข้าไปศึกษา อบรม เรียนรู้กระบวนการ การทำงานทางเมืองของพรรค เพื่อให้ประชาชนผู้สนใจเป็นส่วนหนึ่งของพรรคการเมือง เนื่องจากมีการปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองของพรรคให้แก่ประชาชน จนกระทั่งเขาได้เติบโตจากการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองขึ้นไปสู่การเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นนักการเมือง และสามารถออกเป็นตัวแทนประชาชนในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รัฐมนตรี นักการเมืองท้องถิ่น ฯลฯ ในการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชนในลักษณะนี้จะเชื่อมโยงกับหน้าที่หลักสำคัญของพรรคการเมืองอีกหน้าที่หนึ่งก็คือการคัดสรรบุคลากรทางการเมือง (Political recruitment) เข้าสู่ระบบทางการเมืองได้อีกด้วย ซึ่งการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชนของพรรคการเมืองจะทำให้ประชาชนมีความรู้สึกผูกผันและมีอุดมการณ์ทางการเมืองเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับพรรคการเมือง อันจะส่งเสริมให้พรรคการเมืองเข้มแข็ง ขจัดปัญหานักการเมืองการย้ายพรรคเพราะไร้อุดมการณ์ทางการเมือง เพราะนักการเมืองของพรรคได้เติบโตจากการกล่อมเกลาทางการเมืองจากพรรคการเมืองแล้วนั้นเอง


สำหรับประเทศไทย พบว่า พรรคการเมืองที่พยายามดำนินกิจกรรมการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชนอย่างเป็นระบบมาอย่างยาวนาน นั่นก็คือ พรรคประชาธิปัตย์ ด้วยการจัดตั้ง “โครงการอบรมยุวประชาธิปัตย์”  
สำหรับประเทศไทย พบว่า พรรคการเมืองที่พยายามดำนินกิจกรรมการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชนอย่างเป็นระบบมาอย่างยาวนาน นั่นก็คือ พรรคประชาธิปัตย์ ด้วยการจัดตั้ง “โครงการอบรมยุวประชาธิปัตย์”<ref>ยุวประชาธิปัตย์, พรรคประชาธิปัตย์, http://www.democrat.or.th.</ref>


ปัจจุบันภายหลังจากการปฏิรูปทางการเมืองภายใต้รัฐธรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ส่งผลให้มีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2541 (มาตรา 56) ได้มีการนำความคิดเรื่องการจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ขึ้นเป็นครั้งแรกโดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญหวังว่า กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ก.ก.ต.) จะทำหน้าที่เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้พรรคการเมืองสามารถดำเนินกิจการของพรรคการเมืองได้อย่างต่อเนื่อง ถึงแม้จะไม่มีการเลือกตั้งพรรคการเมืองต่าง ๆ สามารถดำเนินกิจกรรมทางการเมืองของพรรคได้เพื่อลดการพึ่งพิงผู้มีอิทธิพลทางการเงินของพรรคการเมือง ลดปัญหาการคอรัปชั่นเพื่อหาเงินมาอุดหนุนพรรค และเปิดโอกาสให้สมาชิกพรรคการเมืองสามารถเข้าร่วมการทำงานกับพรรคการเมืองได้มากยิ่งขึ้นเพื่อเสริมสร้างหลักการทำงานในระบบพรรคการเมืองให้เป็นประชาธิปไตย อีกทั้งยังส่งผลให้พรรคการเมืองได้เพิ่มกิจกรรมทางการเมืองมากขึ้น โดยมีการจัดตั้งพรรคการเมืองจำนวนมาก มีการเข้ามามีส่วนร่วมการดำเนินงานของพรรคการเมือง และมีการจัดตั้งสาขาพรรคการเมืองเพิ่มขึ้นจำนวนมาก ตลอดจนกองทุนฯ ยังมีเป้าหมายหลักให้พรรคการเมืองต้องดำเนินกิจการทางการเมืองโดยเปิดเผยต่อสาธารณะชนมากขึ้น เปิดโอกาสให้ประชาชนผู้สนใจติดตามการดำเนินงานของพรรคการเมืองได้อย่างกว้างขวางทั้งผ่านสื่อมวลชนและการดำเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองส่งผลให้ประชาชนเข้าร่วมเป็นสมาชิกพรรคการเมือง และตรวจสอบการดำเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองได้มากขึ้น ซึ่งจะพัฒนาไปสู่การเป็นพรรคการเมืองของมวลชนในอนาคตเพื่อให้พรรคการเมืองได้ทำหน้าที่ให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชน   
ปัจจุบันภายหลังจากการปฏิรูปทางการเมืองภายใต้รัฐธรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ส่งผลให้มีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2541 (มาตรา 56) ได้มีการนำความคิดเรื่องการจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ขึ้นเป็นครั้งแรกโดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญหวังว่า กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ก.ก.ต.) จะทำหน้าที่เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้พรรคการเมืองสามารถดำเนินกิจการของพรรคการเมืองได้อย่างต่อเนื่อง ถึงแม้จะไม่มีการเลือกตั้งพรรคการเมืองต่าง ๆ สามารถดำเนินกิจกรรมทางการเมืองของพรรคได้เพื่อลดการพึ่งพิงผู้มีอิทธิพลทางการเงินของพรรคการเมือง ลดปัญหาการคอรัปชั่นเพื่อหาเงินมาอุดหนุนพรรค และเปิดโอกาสให้สมาชิกพรรคการเมืองสามารถเข้าร่วมการทำงานกับพรรคการเมืองได้มากยิ่งขึ้นเพื่อเสริมสร้างหลักการทำงานในระบบพรรคการเมืองให้เป็นประชาธิปไตย อีกทั้งยังส่งผลให้พรรคการเมืองได้เพิ่มกิจกรรมทางการเมืองมากขึ้น โดยมีการจัดตั้งพรรคการเมืองจำนวนมาก มีการเข้ามามีส่วนร่วมการดำเนินงานของพรรคการเมือง และมีการจัดตั้งสาขาพรรคการเมืองเพิ่มขึ้นจำนวนมาก ตลอดจนกองทุนฯ ยังมีเป้าหมายหลักให้พรรคการเมืองต้องดำเนินกิจการทางการเมืองโดยเปิดเผยต่อสาธารณะชนมากขึ้น เปิดโอกาสให้ประชาชนผู้สนใจติดตามการดำเนินงานของพรรคการเมืองได้อย่างกว้างขวางทั้งผ่านสื่อมวลชนและการดำเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองส่งผลให้ประชาชนเข้าร่วมเป็นสมาชิกพรรคการเมือง และตรวจสอบการดำเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองได้มากขึ้น ซึ่งจะพัฒนาไปสู่การเป็นพรรคการเมืองของมวลชนในอนาคตเพื่อให้พรรคการเมืองได้ทำหน้าที่ให้'''การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชน'''<ref>กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง, คณะกรรมการการเลือกตั้ง, http://www.ect.go.th.,


อีกทั้งในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 (มาตรา 87) ได้มีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง  อีกกองทุนหนึ่งเพิ่มขึ้น เพื่อช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณะของชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการของกลุ่มประชาชนที่รวมตัวกัน ในลักษณะของเครือข่ายทุกรูปแบบให้สามารถแสดงความคิดเห็น และเสนอความต้องการของชุมชนในพื้นที่ ซึ่งมีกิจกรรมที่มีลักษณะดังต่อไปนี้
          นางสดศรี สัตยธรรม กรรมการการเลือกตั้ง ได้เปิดเผยถึง แนวทางการจัดสรรเงินสนับสนุนพรรคการเมืองประจำปี 2552 ตามบทบัญญัติมาตรา 75 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2550 ที่กำหนดให้มีการจัดสรรเงินสนับสนุนเป็นรายปี แก่พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งหลังสุด โดยจะต้องได้รับคะแนนเสียงจากการเลือกตั้งแบบสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของคะแนนเสียงที่พรรคการเมืองทุกพรรคได้รับในการเลือกตั้งแบบสัดส่วนรวมกัน หรือได้รับคะแนนเสียงจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของคะแนนเสียงที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งทุกคนได้รับในการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งรวมกันทั้งประเทศ
 
          การจัดสรรเงินสนับสนุนพรรคการเมือง ประจำปี 2552 คณะกรรมการกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ได้มีมติการประชุม ครั้งที่ 1/2552 (102) เมื่อวันที่ 23 ม.ค.2552 เห็นชอบแผนการดำเนินงานของพรรคการเมือง ประจำปี 2552 จำนวน 5 พรรค รวม 45 โครงการ เป็นวงเงิน 47,868,500บาท ดังนี้ 1.พรรคประชาธิปัตย์ จำนวน 8 โครงการ วงเงิน 33,000,000 บาท 2.พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา จำนวน 12 โครงการ วงเงิน 7,263,800 บาท 3. พรรคประชาราช จำนวน 13 โครงการ วงเงิน 3,890,500 บาท 4. พรรคความหวังใหม่ จำนวน 7 โครงการ วงเงิน 1,885,000 บาท 5. พรรคเครือข่ายชาวนาฯจำนวน 5 โครงการ วงเงิน1,829,200 บาทส่วนพรรคเพื่อไทย พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคภูมิใจไทย ไม่ได้รับการจัดสรรเงินกองทุน เนื่องจากไม่ได้ส่งผู้สมัครลงเลือกตั้งเมื่อ 23 ธ.ค.2550 และเพิ่งตั้งขึ้นใหม่ หลังจากพรรคเดิมถูกยุบ.
</ref>
 
อีกทั้งในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 (มาตรา 87) ได้มีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง<ref>กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง, สภาพัฒนาการเมือง,http://www.pdc.go.th.</ref> อีกกองทุนหนึ่งเพิ่มขึ้น เพื่อช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณะของชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการของกลุ่มประชาชนที่รวมตัวกัน ในลักษณะของเครือข่ายทุกรูปแบบให้สามารถแสดงความคิดเห็น และเสนอความต้องการของชุมชนในพื้นที่ ซึ่งมีกิจกรรมที่มีลักษณะดังต่อไปนี้


1. กิจกรรมที่มีลักษณะการดำเนินงานที่เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง การพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตย และสถาบันทางการเมือง รวมทั้งสถาบันอื่นที่เกี่ยวข้อง
1. กิจกรรมที่มีลักษณะการดำเนินงานที่เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง การพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตย และสถาบันทางการเมือง รวมทั้งสถาบันอื่นที่เกี่ยวข้อง
บรรทัดที่ 30: บรรทัดที่ 35:
4. การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ (1) (2) และ (3)
4. การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ (1) (2) และ (3)
ทั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมืองและกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง ต่างมีเป้าประสงค์เดียวกันคือให้ประชาชนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทางการเมืองในรูปแบบต่าง ๆ
ทั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมืองและกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง ต่างมีเป้าประสงค์เดียวกันคือให้ประชาชนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทางการเมืองในรูปแบบต่าง ๆ
==อ้างอิง==
<references/>
[[หมวดหมู่:รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:52, 4 ตุลาคม 2554

ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


พรรคการเมืองกับการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชน

การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชน (Political education)[1] นับเป็นหน้าที่หนึ่งของพรรคการเมืองในฐานะที่เป็นสถาบันการเมืองอันเป็นตัวกลางในการเชื่อมประสานความต้องการ ความเข้าใจ และเป็นตัวแทน (Agent) ในการสะท้อนข้อเรียกร้องต่าง ๆ ระหว่างประชาชนผ่านไปยังสถาบันการเมืองระดับบน อาทิ ฝ่ายนิติบัญญัติฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการ องค์กรอิสระ ฯลฯ และส่งสารจากสถาบันทางการเมืองระดับบนมายังประชาชน

ด้วยบทบาทหน้าที่ของพรรคการเมืองในฐานะสถาบันทางการเมืองระดับกลางเช่นนี้ จึงส่งผลให้พรรคการเมืองจึงต้องเป็นตัวแทนในการขัดเกลาทางการเมืองให้แก่ประชาชนในสังคม (Political socialization) นับตั้งแต่วัยเด็กจนกระทั่งสูงอายุให้เขาสามารถมีความนึกคิดหรือมีจุดยืนทางการเมือง รู้จักสิทธิที่ตนพึงมี สามารถสะท้อนและวิพากษ์ทัศนคติของตนต่อระบบการเมือง ไปจนกระทั่งผลักดันให้ประชาชนรู้สึกผูกผันต่อการเมือง จนไปสู่กระบวนการของการมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political participation) ไม่ว่าจะเป็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยทางตรง เช่น การใช้สิทธิเลือกตั้ง การออกเสียงประชามติ การเสนอกฎหมาย การถอดถอนนักการเมือง การเป็นสมาชิกพรรคการเมือง หรือการลงรับสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎร การหรือการมีส่วนร่วมทางการเมืองทางอ้อม เช่น การบริจาคเงินให้พรรคการเมือง เป็นต้น

อีกทั้งในสังคมประชาธิปไตย พรรคการเมืองจะทำหน้าที่เป็นโรงเรียนทางการเมือง ให้กับประชาชนผู้ที่สนใจได้เข้าไปศึกษา อบรม เรียนรู้กระบวนการ การทำงานทางเมืองของพรรค เพื่อให้ประชาชนผู้สนใจเป็นส่วนหนึ่งของพรรคการเมือง เนื่องจากมีการปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองของพรรคให้แก่ประชาชน จนกระทั่งเขาได้เติบโตจากการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองขึ้นไปสู่การเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นนักการเมือง และสามารถออกเป็นตัวแทนประชาชนในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รัฐมนตรี นักการเมืองท้องถิ่น ฯลฯ ในการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชนในลักษณะนี้จะเชื่อมโยงกับหน้าที่หลักสำคัญของพรรคการเมืองอีกหน้าที่หนึ่งก็คือการคัดสรรบุคลากรทางการเมือง (Political recruitment) เข้าสู่ระบบทางการเมืองได้อีกด้วย ซึ่งการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชนของพรรคการเมืองจะทำให้ประชาชนมีความรู้สึกผูกผันและมีอุดมการณ์ทางการเมืองเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับพรรคการเมือง อันจะส่งเสริมให้พรรคการเมืองเข้มแข็ง ขจัดปัญหานักการเมืองการย้ายพรรคเพราะไร้อุดมการณ์ทางการเมือง เพราะนักการเมืองของพรรคได้เติบโตจากการกล่อมเกลาทางการเมืองจากพรรคการเมืองแล้วนั้นเอง

สำหรับประเทศไทย พบว่า พรรคการเมืองที่พยายามดำนินกิจกรรมการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชนอย่างเป็นระบบมาอย่างยาวนาน นั่นก็คือ พรรคประชาธิปัตย์ ด้วยการจัดตั้ง “โครงการอบรมยุวประชาธิปัตย์”[2]

ปัจจุบันภายหลังจากการปฏิรูปทางการเมืองภายใต้รัฐธรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ส่งผลให้มีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2541 (มาตรา 56) ได้มีการนำความคิดเรื่องการจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ขึ้นเป็นครั้งแรกโดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญหวังว่า กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ก.ก.ต.) จะทำหน้าที่เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้พรรคการเมืองสามารถดำเนินกิจการของพรรคการเมืองได้อย่างต่อเนื่อง ถึงแม้จะไม่มีการเลือกตั้งพรรคการเมืองต่าง ๆ สามารถดำเนินกิจกรรมทางการเมืองของพรรคได้เพื่อลดการพึ่งพิงผู้มีอิทธิพลทางการเงินของพรรคการเมือง ลดปัญหาการคอรัปชั่นเพื่อหาเงินมาอุดหนุนพรรค และเปิดโอกาสให้สมาชิกพรรคการเมืองสามารถเข้าร่วมการทำงานกับพรรคการเมืองได้มากยิ่งขึ้นเพื่อเสริมสร้างหลักการทำงานในระบบพรรคการเมืองให้เป็นประชาธิปไตย อีกทั้งยังส่งผลให้พรรคการเมืองได้เพิ่มกิจกรรมทางการเมืองมากขึ้น โดยมีการจัดตั้งพรรคการเมืองจำนวนมาก มีการเข้ามามีส่วนร่วมการดำเนินงานของพรรคการเมือง และมีการจัดตั้งสาขาพรรคการเมืองเพิ่มขึ้นจำนวนมาก ตลอดจนกองทุนฯ ยังมีเป้าหมายหลักให้พรรคการเมืองต้องดำเนินกิจการทางการเมืองโดยเปิดเผยต่อสาธารณะชนมากขึ้น เปิดโอกาสให้ประชาชนผู้สนใจติดตามการดำเนินงานของพรรคการเมืองได้อย่างกว้างขวางทั้งผ่านสื่อมวลชนและการดำเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองส่งผลให้ประชาชนเข้าร่วมเป็นสมาชิกพรรคการเมือง และตรวจสอบการดำเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองได้มากขึ้น ซึ่งจะพัฒนาไปสู่การเป็นพรรคการเมืองของมวลชนในอนาคตเพื่อให้พรรคการเมืองได้ทำหน้าที่ให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชน[3]

อีกทั้งในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 (มาตรา 87) ได้มีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง[4] อีกกองทุนหนึ่งเพิ่มขึ้น เพื่อช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณะของชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการของกลุ่มประชาชนที่รวมตัวกัน ในลักษณะของเครือข่ายทุกรูปแบบให้สามารถแสดงความคิดเห็น และเสนอความต้องการของชุมชนในพื้นที่ ซึ่งมีกิจกรรมที่มีลักษณะดังต่อไปนี้

1. กิจกรรมที่มีลักษณะการดำเนินงานที่เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง การพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตย และสถาบันทางการเมือง รวมทั้งสถาบันอื่นที่เกี่ยวข้อง

2. กิจกรรมที่เป็นการสนับสนุนหรือส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการเมือง สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของประชาชนที่พึงมีภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

3. กิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของประชาชน ชุมชน หรือองค์กรภาคประชาสังคม โดยเฉพาะบทบาทของประชาชน ชุมชน หรือองค์กรภาคประชาสังคมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรท้องถิ่นและภูมิปัญญาท้องถิ่น

4. การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ (1) (2) และ (3) ทั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมืองและกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง ต่างมีเป้าประสงค์เดียวกันคือให้ประชาชนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทางการเมืองในรูปแบบต่าง ๆ

อ้างอิง

  1. สรุปความจาก, Campbell, C. M., The American Voter (New York: John Wiley, 1960).
  2. ยุวประชาธิปัตย์, พรรคประชาธิปัตย์, http://www.democrat.or.th.
  3. กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง, คณะกรรมการการเลือกตั้ง, http://www.ect.go.th., นางสดศรี สัตยธรรม กรรมการการเลือกตั้ง ได้เปิดเผยถึง แนวทางการจัดสรรเงินสนับสนุนพรรคการเมืองประจำปี 2552 ตามบทบัญญัติมาตรา 75 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2550 ที่กำหนดให้มีการจัดสรรเงินสนับสนุนเป็นรายปี แก่พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งหลังสุด โดยจะต้องได้รับคะแนนเสียงจากการเลือกตั้งแบบสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของคะแนนเสียงที่พรรคการเมืองทุกพรรคได้รับในการเลือกตั้งแบบสัดส่วนรวมกัน หรือได้รับคะแนนเสียงจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของคะแนนเสียงที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งทุกคนได้รับในการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งรวมกันทั้งประเทศ การจัดสรรเงินสนับสนุนพรรคการเมือง ประจำปี 2552 คณะกรรมการกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ได้มีมติการประชุม ครั้งที่ 1/2552 (102) เมื่อวันที่ 23 ม.ค.2552 เห็นชอบแผนการดำเนินงานของพรรคการเมือง ประจำปี 2552 จำนวน 5 พรรค รวม 45 โครงการ เป็นวงเงิน 47,868,500บาท ดังนี้ 1.พรรคประชาธิปัตย์ จำนวน 8 โครงการ วงเงิน 33,000,000 บาท 2.พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา จำนวน 12 โครงการ วงเงิน 7,263,800 บาท 3. พรรคประชาราช จำนวน 13 โครงการ วงเงิน 3,890,500 บาท 4. พรรคความหวังใหม่ จำนวน 7 โครงการ วงเงิน 1,885,000 บาท 5. พรรคเครือข่ายชาวนาฯจำนวน 5 โครงการ วงเงิน1,829,200 บาทส่วนพรรคเพื่อไทย พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคภูมิใจไทย ไม่ได้รับการจัดสรรเงินกองทุน เนื่องจากไม่ได้ส่งผู้สมัครลงเลือกตั้งเมื่อ 23 ธ.ค.2550 และเพิ่งตั้งขึ้นใหม่ หลังจากพรรคเดิมถูกยุบ.
  4. กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง, สภาพัฒนาการเมือง,http://www.pdc.go.th.