ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พฤฒสภา : สารานุกรมการเมืองไทย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 3: บรรทัดที่ 3:
----
----


พฤฒสภา เป็นสภาผู้อาวุโสที่กำหนดขึ้นมาในรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 3 (พ..2489)  รัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้เปลี่ยนแปลงให้เมืองไทยใช้ระบบสภาคู่  คือมีทั้ง พฤฒสภา และสภาผู้แทนราษฎร  แต่ก็กำหนดให้ราษฎรได้เป็นผู้เลือกสมาชิกของทั้งสองสภา โดยให้ราษฎรเลือกสมาชิกพฤฒสภาทางอ้อม และเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทางตรง
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต


แต่สมาชิกพฤฒสภาชุดแรกนั้น ราษฎรก็ยังไม่ได้มีส่วนในการเลือก เพราะบทเฉพาะกาลได้กำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีอยู่ในวันที่ใช้รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2489 เป็นผู้เลือกแทน และพฤฒสภาก็มีอายุสั้นมากตาม รัฐธรรมนูญฉบับนี้ เพราะประมาณปีกว่า ๆ คณะรัฐประหารก็ใช้กำลังเข้ายึดอำนาจ ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับนี้ เท่ากับยกเลิกพฤฒสภาไปด้วย
----
 
พฤฒสภา เป็นสภาผู้อาวุโสที่กำหนดขึ้นมาใน[[รัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 3]] (พ.ศ.2489)  [[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับนี้ได้เปลี่ยนแปลงให้เมืองไทยใช้ระบบ[[สภาคู่]]  คือมีทั้ง พฤฒสภา และ[[สภาผู้แทนราษฎร]]  แต่ก็กำหนดให้ราษฎรได้เป็นผู้เลือกสมาชิกของทั้งสองสภา โดยให้ราษฎรเลือกสมาชิกพฤฒสภาทางอ้อม และเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทางตรง
 
แต่สมาชิกพฤฒสภาชุดแรกนั้น ราษฎรก็ยังไม่ได้มีส่วนในการเลือก เพราะบทเฉพาะกาลได้กำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีอยู่ในวันที่ใช้[[รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2489]] เป็นผู้เลือกแทน และพฤฒสภาก็มีอายุสั้นมากตาม รัฐธรรมนูญฉบับนี้ เพราะประมาณปีกว่า ๆ คณะรัฐประหารก็ใช้กำลังเข้ายึดอำนาจ ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับนี้ เท่ากับยกเลิกพฤฒสภาไปด้วย


หน้าที่ของพฤฒสภานั้นจะต่างกับสภาผู้แทนราษฎรก็ตรงที่ให้พฤฒสภาเป็นสภาที่ทำหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายเท่านั้นเอง และต่อมาแม้จะมีระบบสองสภาในประเทศไทย ก็มิได้ใช้ชื่อสภากลั่นกรองว่า พฤฒสภา อีกเลย
หน้าที่ของพฤฒสภานั้นจะต่างกับสภาผู้แทนราษฎรก็ตรงที่ให้พฤฒสภาเป็นสภาที่ทำหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายเท่านั้นเอง และต่อมาแม้จะมีระบบสองสภาในประเทศไทย ก็มิได้ใช้ชื่อสภากลั่นกรองว่า พฤฒสภา อีกเลย
[[หมวดหมู่:สารานุกรมการเมืองไทย]]
[[category:สมาชิกวุฒิสภา]]
[[category:สมาชิกวุฒิสภา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:42, 7 พฤษภาคม 2563

ผู้เรียบเรียง รศ.นรนิติ เศรษฐบุตร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต


พฤฒสภา เป็นสภาผู้อาวุโสที่กำหนดขึ้นมาในรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2489) รัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้เปลี่ยนแปลงให้เมืองไทยใช้ระบบสภาคู่ คือมีทั้ง พฤฒสภา และสภาผู้แทนราษฎร แต่ก็กำหนดให้ราษฎรได้เป็นผู้เลือกสมาชิกของทั้งสองสภา โดยให้ราษฎรเลือกสมาชิกพฤฒสภาทางอ้อม และเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทางตรง

แต่สมาชิกพฤฒสภาชุดแรกนั้น ราษฎรก็ยังไม่ได้มีส่วนในการเลือก เพราะบทเฉพาะกาลได้กำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีอยู่ในวันที่ใช้รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2489 เป็นผู้เลือกแทน และพฤฒสภาก็มีอายุสั้นมากตาม รัฐธรรมนูญฉบับนี้ เพราะประมาณปีกว่า ๆ คณะรัฐประหารก็ใช้กำลังเข้ายึดอำนาจ ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับนี้ เท่ากับยกเลิกพฤฒสภาไปด้วย

หน้าที่ของพฤฒสภานั้นจะต่างกับสภาผู้แทนราษฎรก็ตรงที่ให้พฤฒสภาเป็นสภาที่ทำหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายเท่านั้นเอง และต่อมาแม้จะมีระบบสองสภาในประเทศไทย ก็มิได้ใช้ชื่อสภากลั่นกรองว่า พฤฒสภา อีกเลย