ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขบวนการคนใจบุญ (พ.ศ. 2500)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''พรรคขบวนการคนใจบุญ''' พรรคขบวนการคนใจบุญได้รับการจดทะ...
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
----
'''พรรคขบวนการคนใจบุญ'''
'''พรรคขบวนการคนใจบุญ'''


พรรคขบวนการคนใจบุญได้รับการจดทะเบียนพรรคการเมืองเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอนที่ 66 หน้า 1901</ref>  โดยมีนายจารุกข์ เรืองสุวรรณ <ref>เพิ่งอ้าง,หน้าเดียวกัน</ref>  ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคและนายบุญ ศราภัย ดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรค ต่อมาพรรคขบวนการคนใจบุญได้เปลี่ยนชื่อพรรคการเมืองเป็นชื่อพรรคขบวนการสหพันธ์รัฐสากลนิยม <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 75 ตอนที่ 61 หน้า 2192-2193</ref> เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2501
พรรคขบวนการคนใจบุญได้รับการ[[จดทะเบียนพรรคการเมือง]]เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอนที่ 66 หน้า 1901</ref>  โดยมีนายจารุกข์ เรืองสุวรรณ <ref>เพิ่งอ้าง,หน้าเดียวกัน</ref>  ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคและนายบุญ ศราภัย ดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรค ต่อมาพรรคขบวนการคนใจบุญได้เปลี่ยนชื่อพรรคการเมืองเป็นชื่อพรรคขบวนการสหพันธ์รัฐสากลนิยม <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 75 ตอนที่ 61 หน้า 2192-2193</ref> เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2501


รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ <ref>สรุปความจากราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอนที่ 66 หน้า 1901-1904</ref>
รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ <ref>สรุปความจากราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอนที่ 66 หน้า 1901-1904</ref>
บรรทัดที่ 8: บรรทัดที่ 13:
'''ด้านการบริหารจัดการ'''
'''ด้านการบริหารจัดการ'''


1.ยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ต่อต้านลัทธิเผด็จการทุกๆลัทธิ  
1.ยึดมั่นการปกครองในระบอบ[[ประชาธิปไตย]]แบบรัฐสภาอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ต่อต้านลัทธิเผด็จการทุกๆลัทธิ  


2.ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นโดยคนในท้องถิ่นเอง  
2.ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นโดยคนในท้องถิ่นเอง  
บรรทัดที่ 14: บรรทัดที่ 19:
3.แก้ไขปรับปรุงภาษีอากรให้เป็นธรรม  
3.แก้ไขปรับปรุงภาษีอากรให้เป็นธรรม  


4.สัญญาหรือข้อตกลงใดๆเกี่ยวกับการใช้กำลังทหารต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา
4.สัญญาหรือข้อตกลงใดๆเกี่ยวกับการใช้กำลังทหารต้องได้รับความเห็นชอบจาก[[รัฐสภา]]


5.ดำเนินการทุกวิถีทางให้การดำเนินการของฝ่ายตุลาการเป็นไปอย่างอิสระ
5.ดำเนินการทุกวิถีทางให้การดำเนินการของฝ่าย[[ตุลาการ]]เป็นไปอย่างอิสระ





รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:20, 10 มิถุนายน 2553

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต



พรรคขบวนการคนใจบุญ

พรรคขบวนการคนใจบุญได้รับการจดทะเบียนพรรคการเมืองเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 [1] โดยมีนายจารุกข์ เรืองสุวรรณ [2] ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคและนายบุญ ศราภัย ดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรค ต่อมาพรรคขบวนการคนใจบุญได้เปลี่ยนชื่อพรรคการเมืองเป็นชื่อพรรคขบวนการสหพันธ์รัฐสากลนิยม [3] เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2501

รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ [4]


ด้านการบริหารจัดการ

1.ยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ต่อต้านลัทธิเผด็จการทุกๆลัทธิ

2.ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นโดยคนในท้องถิ่นเอง

3.แก้ไขปรับปรุงภาษีอากรให้เป็นธรรม

4.สัญญาหรือข้อตกลงใดๆเกี่ยวกับการใช้กำลังทหารต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา

5.ดำเนินการทุกวิถีทางให้การดำเนินการของฝ่ายตุลาการเป็นไปอย่างอิสระ


ด้านเศรษฐกิจและสังคม

1.ดำเนินการจัดตั้งสถาบันการเศรษฐกิจแห่งชาติ

2.ส่งเสริมอาชีพแก่ราษฎรโดยยึดวิธีสหกรณ์เป็นหลัก

3.ส่งเสริมให้ราษฎรได้มีและรู้จักใช้เครื่องมือทุ่นแรงทางการเกษตร

4.ดำเนินการทุกวิถีทางเพื่อจะให้ราษฎรมีฐานะดีขึ้นและให้กสิกร กรรมกรหลุดพ้นจากหนี้สิน

5.ส่งเสริมอุตสาหกรรมหนักให้มีการลงทุนทั่วประเทศ

6.ปรับปรุงค่าเงินตราให้มีเสถียรภาพ

7.ปรับปรุงรักษาความสงบภายในโดยยึดหลักป้องกันก่อนปราบปราม

8.กระจายกำลังเจ้าหน้าที่ออกไปยังพื้นที่ต่างๆให้ได้สัดส่วนกับจำนวนประชากร

9.ขยายการศึกษาออกไปสู่ส่วนภูมิภาคเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ราษฎร

10.จัดตั้งโรงงานเภสัชกรรม


ด้านการต่างประเทศ

1.สร้างสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศบนพื้นฐานของความเสมอภาคเท่าเทียมกัน

2.มุ่งส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศเพื่อสร้างสันติภาพถาวร

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอนที่ 66 หน้า 1901
  2. เพิ่งอ้าง,หน้าเดียวกัน
  3. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 75 ตอนที่ 61 หน้า 2192-2193
  4. สรุปความจากราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอนที่ 66 หน้า 1901-1904