|
|
(ไม่แสดง 26 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน) |
บรรทัดที่ 1: |
บรรทัดที่ 1: |
| สถาบันฯ ได้กำหนดประชุมคณะกรรมการบริหารสถาบันพระปกเกล้าครั้งที่ 7/2552 ประจำเดือนตุลาคม 2552 ในวันที่ 30 ตุลาคม 2552 เวลา 10.30 นาฬิกา ณ ห้องประชุมรำไพพรรณี สถาบันพระปกเกล้า ดังนั้นหากหน่วยงานใดประสงค์จะส่งวาระเข้าที่ประชุมคระกรรมการบริหารฯ โปรดดำเนินการขออนุมัติตามสายงาน และส่งวาระพร้อมเอกสารประกอบการประชุมภายในวันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม 2552 เวลา 12.00 น. ทั้งขอเรียนเชิญท่านผู้อำนวยการสำนัก/วิทยาลัยเข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงในด้วย
| | http://kpi.ac.th/ |
| ----
| |
| ประชุมสภาสถาบันได้กำหนดประชุมสภาสถาบันพระปกเกล้าครั้งที่ 11/2552 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2552 ในวันจันทร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2552 เวลา 08.30 นาฬิกา ณ ห้องรับรอง 1 อาคารรัฐสภา 1 ชั้น 2 ดังนั้นหากหน่วยงานใดประสงค์จะส่งวาระเข้าที่ประชุมสภาสถาบันฯ โปรดดำเนินการขออนุมัติตามสายงาน และส่งวาระพร้อมเอกสารประกอบการประชุมภายในวันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม 2552 เวลา 12.00 น. ทั้งนี้ ขอเรียนเชิญท่านผู้อำนวยการสำนัก/วิทยาลัยเข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงด้วย
| |
| | |
| หมายเหตุ กำหนดการประชุมสภาสถาบันพระปกเกล้า ประจำเดือนธันวาคม ครั้งที่ 12/2552 เปลี่ยนแปลงจากเดิมเป็น วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม 2552 เวลา 10.00 น. ณ ห้องรับรอง 1 อาคาร 1 ชั้น 2 รัฐสภา
| |
| ----
| |
| '''รายชื่อคณะผู้เดินทางถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน'''
| |
|
| |
| ณ วัดมัชฌิมาวาส อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ระหว่างวันที่ 22-25 ตุลาคม 2552
| |
|
| |
| 1 นางสาวตรีชฎา กระจ่างโลก
| |
|
| |
| 2 นางสาวศุภมาศ วิริยะสกุลพันธุ์
| |
|
| |
| 3 นางสาวบุญเรือน กรดงาม
| |
|
| |
| 4 นางสาววลัยพร ล้ออัศจรรย์
| |
|
| |
| 5 นางพีรพรรณ กตัญญู
| |
|
| |
| 6 นางสาวอรอุมา ภูมิบูรณ์
| |
|
| |
| 7 นายสมบัติ หวังเกษม
| |
|
| |
| 8 นายศราวุธ มุขพานทอง
| |
|
| |
| 9 ว่าที่ ร.ต.ศรัณย์ กรพชระ
| |
|
| |
| 10 นายณัฐพล สอนสุภาพ
| |
|
| |
| 11 นายธีระเดช ชัยสุข
| |
|
| |
| 12 นายรวิน มิตรจิตรานนท์
| |
|
| |
| 13 นายณัฐพงศ์ รอดมี
| |
|
| |
| 14 นายโพธิพันธ์ มุขสมบัติ
| |
|
| |
| 15 นายประสิทธิ์ ประสารศรี
| |
|
| |
| 16 นายวิทยา อินทร
| |
|
| |
| 17 นายนาวิน หมายชัย
| |
|
| |
| 18 นายชนินทร์ ป้อมบุบผา
| |
|
| |
| 19 นายปองพล อย่างกลั่น
| |
|
| |
| 20 นายฉัตรชัย วิยานนท์
| |
|
| |
| 21 นายกิตติศักดิ์ จวงจันทร์
| |
|
| |
| 22 นายกฤษฎา ทองระคนธ์
| |
|
| |
| 23 นางสาววัชรา เชิงหอม
| |
|
| |
| 24 นางสาวกันธรัตน์ นาคศรี
| |
|
| |
| 25 นางสาวจินห์จุฑา ลิ้มสวัสดิ์
| |
|
| |
| 26 นางสาวน้ำผึ้ง จิ๋วปัญญา
| |
|
| |
| 27 นางสาวทวิติยา สินธุพงศ์
| |
|
| |
| 28 นางสาวปัทมา สูบกำปัง
| |
|
| |
| 29 นายวิศิษฎ ชัชวาลทิพากร
| |
|
| |
| 30 นายสมผล เกษมสัมฤทธิผล
| |
|
| |
| 31 นายวัชรา ธิตินันทน์
| |
|
| |
| 32 นางสาวคุณาธร คุณาธินันท์
| |
|
| |
| 33 นางสาวภาษิณี ปานน้อย
| |
|
| |
| 34 นางสาววริศรา อัมพรศิริธรรม
| |
|
| |
| 35 นางสาวนันทวรรณ ประจวบ
| |
|
| |
| 36 นางสาวธีรพรรณ ใจมั่น
| |
|
| |
| 37 นางสาวนิติยา สังขปรีชา
| |
|
| |
| 38 นางระพีพรรณ ทิวสระแก้ว
| |
|
| |
| 39 นางสาวศันสนีย์ ท้วมเทียบ
| |
|
| |
| 40 นางสาวทัศยา นาคปุณบุตร
| |
|
| |
| 41 นางสาวอังคณา ดวงแป้น
| |
|
| |
| 42 นางสาววรรัตน์ ชัยชนะ
| |
|
| |
| 43 นางสาวฉัตรบงกช ศรีวัฒนสาร
| |
|
| |
| 44 นายฐาณิฏ ลิมปะพันธ์
| |
|
| |
| 45 นายนิรินธน์ ภู่คำ
| |
|
| |
| 46 นายรวิโชติ วัณโณ
| |
|
| |
| 47 นายสมศักดิ์ เอี่ยมผดุง
| |
|
| |
| 48 นายกฤษณะ เชาวโนทัย
| |
| | |
| 49 นายภัณติพงษ์ สุภารัตนสิทธิ์
| |
|
| |
| ----
| |
| '''กำหนดการเดินทางของผู้ช่วยเลขาธิการฯ ในการปฏิบัติภารกิจต่างจังหวัดในเดือนตุลาคม 2552 ดังรายละเอียดต่อไปนี้'''
| |
| | |
| 1.ระหว่างวันที่ 19 – 20 ตุลาคม 2552 เดินทางร่วมพิธีมอบโค โครงการธนาคารโค-กระบือเพื่อเกษตรกรฯ ณ จังหวัดสงขลา
| |
| | |
| 2.ระหว่างวันที่ 22 – 24 ตุลาคม 2552 เดินทางร่วมพิธีทอดกฐินพระราชทาน ณ จังหวัดอุดรธานี
| |
| | |
| 3.ระหว่างวันที่ 26 – 28 ตุลาคม 2552 เดินทางร่วมการศึกษาดูงาน ณ จังหวัดชลบุรี และระยอง หลักสูตร ธรรมาภิบาลของผู้บริหารระดับกลาง รุ่นที่ 9
| |
| | |
| 4.ระหว่างวันที่ 29 – 31 ตุลาคม 2552 เดินทางร่วมพิธีปฐมนิเทศนักศึกษา หลักสูตร การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 9 ณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
| |
| | |
| ----
| |
| เรียน พนักงาน และลูกจ้างสถาบันฯ ทุกท่าน
| |
| | |
| ตามที่คณะทำงานกองทุนสวัสดิการพนักงาน ได้รับโอนสินค้าจากชมรมพนักงาน มาดำเนินการต่อ ทั้งนี้เพื่อให้การทำงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเป็นระบบ สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน ดังนั้น ทางคณะทำงานฯ จึงขอความร่วมมือให้ทุกสำนักฯ ส่งตัวแทนสำนักฯ ละ 1 ท่าน เพื่อร่วมกันนับสต๊อกใหญ่ครั้งที่ 2 ในวันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2552 เวลา 14.30 น. ณ ห้องประชาธิปก โดยขอความกรุณาให้ส่งรายชื่อตัวแทนสำนัก ภายในวันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม 2552 ที่ สำนักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า
| |
| ----
| |
| 29 มิย 52 วัดพระศรีมหาธาตุ ประธานฝ่ายสงฆ์ วัดดอนเมือง พระธรรมสุธี วัดมหาธาตุฯ (พระนคร)ประธานฆราวาส นายอภัย จันทนจุลกะ ตอบรับ เมื่อ 22/1/2552 ผู้อำนวยการวิทยาลัย รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง
| |
| | |
| 6 กค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดเสมียนนารี พระธรรมสิทธินายก วัดสระเกศ (ป้อมปราบฯ) ประธานฆราวาส พลเอกศิรินทร์ ธูปกล่ำ ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ฯ รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ พิพิธภัณฑ์ฯ
| |
|
| |
| 13 กค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดหลักสี่ พระธรรมเมธาจารย์ วัดโสมนัส (ป้อมปราบฯ)ประธานฆราวาส ดร.ชิงชัย หาญเจนลักษณ์ ผู้อำนวยการวิทยาลัย รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง
| |
|
| |
| 20 กค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดพระศรีมหาธาตุ พระธรรมรัตนากร วัดปากน้ำ (ภาษีเจริญ) ประธานฆราวาส ศ.ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักฝึกอบรม เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ งานรับพระราชทานประกาศนียบัตรฯ
| |
| | |
| 27 กค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดดอนเมือง พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดระฆังโฆสิตาราม (บางกอกน้อย)ประธานฆราวาส นายชัย ชิดชอบ ให้ทำ จม.เชิญก่อนล่วงหน้ารับเรื่อง23/1/2552 ผู้อำนวยการวิทยาลัย รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น
| |
| 3 สค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดเสมียนนารี พระธรรมธัชมุนี วัดปทุมวนาราม (ปทุมวัน)ประธานฆราวาส นายประสบสุข บุญเดช ตอบรับ เมื่อ 22/1/2552 ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักวิจัยและพัฒนา
| |
|
| |
| 10 สค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดหลักสี่ พระธรรมสิทธิเวที วัดสังเวชวิศยาราม (พระนคร) ประธานฆราวาส ผู้นำฝ่ายค้าน ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ฯ รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ พิพิธภัณฑ์ฯ
| |
|
| |
| 17 สค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดพระศรีมหาธาตุ พระเทพดิลก วัดบวรนิเวศวิหาร (พระนคร)ประธานฆราวาส นายบัณฑูร สุภัควณิช ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สภาพัฒนาการเมือง
| |
|
| |
| 24 สค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดดอนเมือง พระเทพญาณวิศิษฎ์ วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก (ห้วยขวาง)ประธานฆราวาส นายพิทูร พุ่มหิรัญ ตอบรับ เมื่อ 19/1/2552 ผู้อำนวยการวิทยาลัย รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น
| |
|
| |
| 31 สค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดเสมียนนารี พระเทพโมลี วัดราชผาติการาม (ดุสิต)ประธานฆราวาส นางสุวิมล ภูมิสิงหราช ตอบรับ เมื่อ 22/2552 ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักวิจัยและพัฒนา
| |
|
| |
| 7 กย 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดหลักสี่ พระเทพรัตนาสุธี วัดปทุมคงคา (สัมพันธวงศ์)ประธานฆราวาส ประธานกรรมิการสามัญประจำสภาผู้แทนฯ ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักวิจัยและพัฒนา
| |
|
| |
| 14 กย 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดพระศรีมหาธาตุ พระเทพปริยัติสุธี ดบพิตรพิมุข (สัมพันธวงศ์) ประธานฆราวาส นายวิรัช ร่มเย็น ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักสันติวิธีฯ
| |
|
| |
| 21 กย 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดดอนเมือง พระเทพปริยัติเมธี วัดชลประทานฯ (ปากเกร็ด/นนทบุรี)ประธานฆราวาส พลเอกเลิศรัตน์ รัตนาวิช ตอบรับ เมื่อ 22/1/2552 ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักฝึกอบรม เผยแพร่และประชาสัมพันธ์
| |
|
| |
| 28 กย 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดเสมียนนารี พระเทพภาวนาวิกรม วัดไตรมิตรวิทยาราม (สัมพันธวงศ์)ประธานฆราวาส ศ.ดร.วิษณุ เครืองาม ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักสันติวิธีฯ
| |
|
| |
| 5 ตค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดหลักสี่ พระเทพประสิทธิโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส (ป้อมปราบฯ) ตอบรับ เมื่อ 10/2/2552ประธานฆราวาส รศ.นรนิติ เศรษฐบุตร ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักส่งเสริมวิชาการรัฐสภา
| |
|
| |
| 12 ตค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดพระศรีมหาธาตุ พระเทพกวี วัดพระยายัง (ราชเทวี) ประธานฆราวาส รศ.ดร.ทองอินทร์ วงศ์โสธร ผู้อำนวยการวิทยาลัย รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น
| |
|
| |
| 19 ตค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดดอนเมือง พระเทพปริยัติวิมล วัดบวรนิเทศวิหาร (พระนคร)ประธานฆราวาส ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักสันติวิธีฯ
| |
|
| |
| 26 ตค 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดเสมียนนารี พระเทพโสภณ วัดราชบูรณะ (พระนคร)ประธานฆราวาส ศ.ดร.สมชัย ฤชุพันธุ์ ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักสันติวิธีฯ
| |
|
| |
| 2 พย 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดหลักสี่ พระเทพเมธี วัดอรุณราชวราราม (บางกอกใหญ่)ตอบรับ29/1/2552ประธานฆราวาส ประธานฆราวาส ม.ร.ว.กำลูนเทพ เทวกุล รองพงษ์ทอง ตั้งชูพงศ์หรือ ผอ.สำนัก/วิทยาลัย (ตามมอบหมาย) รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สภาพัฒนาการเมือง
| |
|
| |
| 9 พย 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดพระศรีมหาธาตุ พระเทพปริยัติเวที วัดสุทัศนเทพวราราม (พระนคร)ประธานฆราวาส ประธานฆราวาส ประธานฆราวาส ท่านผู้หญิงปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักสันติวิธีฯ
| |
| 16 พย 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดดอนเมือง พระเทพวิริยาภรณ์ วัดหัวลำโพง (บางรัก) ตอบรับ เมื่อ 2/2/2552ประธานฆราวาส ประธานฆราวาส พลเอกวินัย ภัททิยกุล ตอบรับ เมื่อ 2/1/2552 ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักฝึกอบรม เผยแพร่และประชาสัมพันธ์
| |
|
| |
| 23 พย 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดเสมียนนารี พระเทพวราลังการ วัดพระศรีมหาธาตุ (บางเขน) ประธานฆราวาส ประธานฆราวาส นายอภัย จันทนจุลกะ ตอบรับ เมื่อ 22/1/2552 ผู้อำนวยการสำนัก รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ สำนักส่งเสริมวิชาการรัฐสภา
| |
| 30 พย 52 วัดพระศรีมหาธาตุ วัดหลักสี่ พระเทพวิสุทธิเมธี วัดเทพธิดาราม (พระนคร) ประธานฆราวาส เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ ทุกวิทยาลัย/สำนัก
| |
| ----
| |
| ส่วนงานบุคคล จะได้จัดให้มีการตรวจสุภาพ ประจำปี 2552 ให้กับพนักงานและลูกจ้าง ในวันศุกร์ที่ 24 กรกฎาคม 2552 ตั้งแต่เวลา 08.30 นาฬิกา เป็นต้นไป ณ ห้องรับรอง สถาบันพระปกเกล้า โดยได้จัดโปรแกรมการตรวจสุขภาพจากโรงพยาบาลนนทเวช ดังนี้
| |
| | |
| 1.ตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์ (Physical Exam)
| |
| | |
| 2.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
| |
| | |
| 3.ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด (FBS)
| |
| | |
| 4.ตรวจหาระดับไขมันในเลือด (Cholesterol , Triglyceride)
| |
| | |
| 5.ตรวจหาระดับไขมันในเลือด (HDL , LDL)
| |
| | |
| 6.ตรวจการทำงานของไต (Bun , Creatinine)
| |
| | |
| 7.ตรวจการทำงานของตับ (SGOT , SGPT)
| |
| | |
| 8.ตรวจปัสสาวะ (UA)
| |
| | |
| 9.เอกซเรย์ทรวงอกฟิล์มใหญ่ (Chest X-Ray)
| |
| | |
| 10.ตรวจระดับกรดยูริค (Uric Acid)
| |
| | |
| 11.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)*เฉพาะพนักงานและลูกจ้างที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป
| |
| | |
| ส่วนงานบุคคล จึงขอเชิญพนักงานและลูกจ้างทุกท่านเข้ารับการตรวจสุขภาพตามวันและเวลาดังกล่าว อนึ่งสำหรับพนักงานที่ยังไม่ได้ใช้สิทธิสวัสดิการทันตกรรม สามารถแจ้งความประสงค์เข้ารับการตรวจฟันและขูดหินปูน ได้ที่แผนกทันตกรรม โรงพยาบาลนนทเวช ตั้งแต่วันที่ 24 ก.ค. – 14 ส.ค. 2552
| |
| | |
| จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
| |
| | |
| พนักงานบริหารงานบุคคล 2605
| |
| ----
| |
| ห้องสมุด ขอแนะนำรายชื่อวารสารใหม่ ประจำวันที่ 1-15 มิถุนายน 2552 ดูรายละเอียดได้ที่ลิงค์ตามนี้ \\Kpielib\Multim\journalcontent\7-52.pdf สนใจรายการใด ติดต่อได้ที่ห้องสมุด ชั้น 1 ปล. กรณีต้องการสืบค้นหนังสือ / งานวิจัยของห้องสมุด สามารถเข้ามาสืบค้นได้ที่ลิงค์ตามนี้(กรณีใช้เครื่องในสถาบัน)http://192.168.199.12/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=gsf&frm=simsch&db=Main&skin=u
| |
| หากใช้เครื่องจากข้างนอกสถาบัน สามารถกดลิงค์ที่อยู่ตรงหน้าหลักของสถาบันได้เลยครับ (ลิงค์หน่วยงานภายใน)
| |
| http://elib.kpi.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=gsf&frm=simsch&db=Main&skin=u&lang=1/
| |
| ----
| |
| พิพิธภัณฑ์ฯ เชิญชวนติดตามรายการ "อร่อยร้อยเส้นทาง" ออกอากาศวันพฤหัสบดีที่ 25 มิถุนายน 2552 เวลา 15.05 -15.30 นาฬิกาดำเนินรายการโดย คุณปิยะพันธ์ จัมปาสุต (อดีตรองปลัดกระทรวงคมนาคม) และมาถ่ายทำรายการที่พิพิธภัณพ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (เนื่องจากใกล้วันเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิย.2475 ) ครบรอบประชาธิปไตย 77 ปี
| |
| ----
| |
| โครงการ สสว.
| |
| 1.ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และสำนักส่งเสริมวิชาการรัฐสภา ร่วมกับ สถานทูตสหรัฐอเมริกา จัดบรรยายพิเศษในหัวข้อ “บทบาทฝ่ายค้านในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา” Role of Opposition Pary in Democratic Government โดย ศาสตราจารย์แลร์รี่ เบอร์แมน นักวิชาการจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย-เดวิส อเมริกา ในวันอังคารที่ 23 มิถุนายน 2552 เวลา 10.00 – 12.00 น. ณ ห้องสารนิเทศ รัฐสภา 1
| |
| | |
| 2.คณะกรรมการวิชาการ วุฒิสภา และ สำนักส่งเสริมวิชาการรัฐสภา สถาบันพระปกเกล้า ร่วมจัดโครงการเสวนาให้คำปรึกษาแก่รัฐสภา: จิบน้ำชากับจอมยุทธ หัวข้อ “ข้อสังเกตสำคัญในการวิเคราะห์ระบบงบประมาณของประเทศ” โดย ศ. ดร. จรัส สุวรรณมาลา และ ดร.เชษฐา ทวีศรี ในวันพุธที่ 24 มิถุนายน 2552 เวลา 14.00 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมกรรมาธิการ 308 อาคารรัฐสภา 2 ใครสนใจเข้าร่วมฟังการบรรยายพิเศษและโครงการจิบน้ำชา กรุณาติดต่อสำรองที่นั่งได้ที่ วีนา เบอร์ 2307
| |
| ----
| |
| [[โครงการ “ คิดอย่างไรกับรัฐธรรมนูญ"]]
| |
| ----
| |
| 6 ตัวแทนสังคมฟันธง แก้"รธน."ไม่ใช่คำตอบสุดท้าย
| |
| | |
| สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า ศูนย์ศึกษาสันติภาพและสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย และศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกันจัดเสวนาเรื่อง "รัฐธรรมนูญกับวิกฤตทางการเมืองในปัจจุบัน" ที่สมาคมนักข่าวฯ ถนนสามเสน เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม
| |
| | |
| @ ชินวรณ์ บุณยเกียรติ
| |
| | |
| ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล
| |
| | |
| วิกฤตการเมืองปัจจุบันแม้ช่วงนี้มีโจทย์อยู่ที่การแก้กฎหมายรัฐธรรมนูญ แต่ยืนยันว่ารัฐธรรมนูญไม่ใช่จุดเริ่มต้นให้เกิดวิกฤตการเมือง นักการเมืองและคนต่างหากให้เกิดวิกฤต ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญปี 2550 เป็นการต่อยอดจากปี 2540 ให้ประชาชนมีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้น และป้องกันการแทรกแซงองค์กรอิสระ ให้อำนาจตุลาการภิวัตน์มากขึ้น และมีการผ่านประชามติทั่วประเทศ แต่มีปัญหาที่อีกฝ่ายมองว่าเป็นรัฐธรรมนูญมาจากคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ดังนั้น วันนี้เราต้องมาเริ่มต้นมองว่าจะแก้ไขรัฐธรรมนูญอีกหรือไม่
| |
| | |
| ผมเข้าใจว่าวิกฤตการเมืองเป็นจุดเริ่มต้นส่วนหนึ่ง และขณะนี้มีการตั้งคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมืองและศึกษาแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้ว อย่างน้อยก็เป็นการนำปัญหาที่เกิดขึ้นเข้าสู่ระบบสภา ซึ่งเป็นข้อดี และโจทย์การแก้ปัญหาการเมืองขณะนี้ หากแก้ไม่ถูกต้องเราอาจจะเพิ่มวิกฤตความขัดแย้งยิ่งขึ้นอีก
| |
| | |
| @ พีรพันธุ์ พาลุสุข
| |
| | |
| ส.ส.ยโสธร พรรคเพื่อไทย
| |
| | |
| นักการเมืองต้องลดวิวาทะ คือลดการใส่ร้ายป้ายสี ที่เอาเรื่องเท็จมาใส่ร้ายกัน รวมทั้งในเรื่องของสิทธิและเสรีภาพ และนักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งแต่พอทำงานกลับทำอีกอย่างหนึ่ง จึงกลายเป็นวิกฤตทางการเมืองที่สะสม รวมทั้งการที่ประชาชนบางกลุ่มไม่เห็นด้วยกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองนั้นก็เป็นอีกส่วนหนึ่ง และเรื่องของสองมาตรฐาน สะสมมา คือ 1.การคิดว่าประเทศไม่เป็นธรรม 2.การใช้คำว่าอำมาตยาธิปไตย คือ การเข้ามาแทรกแซงการเมืองโดยไม่ผ่านอำนาจทางรัฐสภาโดยตรง ที่สำคัญคือประชาสังคมต้องเข้มแข็ง
| |
| | |
| ที่ประชาชนอยากแก้รัฐธรรมนูญ คือ คิดว่ามาจากรัฐประหาร ซึ่งใส่ไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่ต้องทำให้ดี ไม่อย่างนั้นสังคมจะมองว่าแก้เพื่อให้ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีพ้นผิด จึงจะต้องมีการรณรงค์ในการแก้ไขโดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม อย่างน้อยต้องเลือกตั้งสองครั้งถึงจะสามารถปลดเผด็จการที่อยู่ในรัฐธรรมนูญได้ และรัฐบาลต้องส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันแล้วความคิดและแบบแผนทางสังคมจะเกิดขึ้น ขณะเดียวกันสื่อทุกชนิดต้องเปิดกว้างให้ทุกส่วนได้แสดงความคิดเห็นด้วยเหตุและผล
| |
| | |
| @ นิธิ เอียวศรีวงศ์
| |
| | |
| นักวิชาการอิสระ
| |
| | |
| โค้ท "หากยังมีความเหลื่อมล้ำทางอำนาจการเมืองและสังคมที่ไม่ใช่เฉพาะรายได้ ต่อให้ร่างรัฐธรรมนูญให้ตายก็ไม่สามารถแก้วิกฤตได้"
| |
| | |
| ขณะนี้สนใจวิกฤตการเมืองและสังคมมากกว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เพราะหากแก้วิกฤตสองอย่างไม่ได้ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ โดยเฉพาะขณะนี้ภาคเกษตรกรรมเป็นคนส่วนใหญ่หลุดภาคเกษตรไปอยู่ภาคแรงงาน คนไทยส่วนใหญ่เวลานี้ขายแรงงาน และแรงงานไทยไม่ได้รับความเป็นธรรม ส่วนความเหลื่อมล้ำรายได้โดยเฉพาะเหลื่อมล้ำด้านสังคม ทุกคนมีสิทธิเลือกตั้งหนึ่งเสียงเท่ากัน แต่กรรมกรที่เขาเดือดร้อนจากนโยบายของรัฐและนายทุน แต่เข้าถึงสื่อไม่เท่าเทียมกัน ดังนั้น หากยังมีความเหลื่อมล้ำทางอำนาจการเมืองและสังคมที่ไม่ใช่เฉพาะรายได้ ต่อให้ร่างรัฐธรรมนูญให้ตายก็ไม่สามารถแก้วิกฤตการเมืองได้
| |
| | |
| ส่วนความขัดแย้งการเมือง เชื่อว่าความขัดแย้งเกิดจากชนชั้นนำก่อนเกิดเสื้อเหลืองและเสื้อแดง การเมืองในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา เป็นความขัดแย้งที่เกิดจากชนชั้นนำที่ไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลงตัวได้ เพราะสมัยหนึ่งเกิดขัดแย้งแก้ได้ด้วยวิธีการยึดอำนาจ แต่ครั้งนี้ยึดอำนาจแล้วแก้ไม่ได้ และขณะนี้ไม่ใช่ตีกันของเสื้อเหลืองและเสื้อแดง แต่แก้ความขัดแย้งไม่ได้เพราะการต่อสู้ทางการเมืองชนชั้นนำ และการไม่เคารพกติกาของชนชั้นนำ ดังนั้น การแก้รัฐธรรมนูญต้องเข้าใจวิกฤตสังคมให้ดี และต้องกลับมาศึกษาสร้างฉันทามติเกี่ยวกับปัญหาก่อน อีกทั้งขณะนี้เรามองแค่การแก้ปัญหาการเมืองที่พูดการเมืองแค่วงแคบ แต่ไม่มองถึงปัญหาของชนชั้นล่าง
| |
| | |
| ถ้าเราตกลงเรื่องปัญหาวิกฤตไม่ได้ เชื่อว่าไม่สามารถสร้างรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยได้ แต่ถ้าเราเริ่มมองวิกฤตสังคมได้เข้าใจ เราจะแก้ไขรัฐธรรมนูญหรือร่างรัฐธรรมนูญที่เหมาะสมกับประเทศเราได้
| |
| | |
| @ จรัล ดิษฐาอภิชัย
| |
| | |
| แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
| |
| | |
| วิกฤตการเมืองปัจจุบัน เป็นวิกฤตความไม่เชื่อมั่นระบอบประชาธิปไตย เป็นวิกฤตที่ตอนหลังยกระดับว่า เป็นวิกฤตเกิดจากความขัดแย้งอุดมการณ์การเมืองของคนสองฝ่าย ที่ฝ่ายพวกตนช่วงชิงว่าเป็นฝ่ายประชาธิปไตย อีกฝ่ายเป็นฝ่ายเผด็จการที่ตอนหลังเป็นฝ่ายอำมาตยาธิปไตย ความจริงประเทศไทยไม่ได้มีวิกฤตการเมือง วิกฤตเศรษฐกิจและสังคมเท่านั้น แต่ยังมีอีกวิกฤต คือ วิกฤตทางปัญญาที่สังคมส่วนใหญ่ไม่ใช้ปัญญาแต่กลับเชื่ออะไรที่เหมือนกัน เช่น ถ้าพวกเดียวพูดกันถูก ถึงไม่ถูกก็พร้อมขยายต่อกลายเป็นความเสียหายร้ายแรงที่สุดคือ คนในสังคมจำนวนมากไม่ใช้ปัญญา หรือใช้ปัญญาวิเคราะห์ต่ำที่สุดในรอบ 100 ปี
| |
| | |
| ผมคิดว่ารัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันคงแก้กันไม่ได้ และคิดว่าจะมีเหตุการณ์ใหญ่ๆ เกิดขึ้นอย่างคาดไม่ถึงซึ่งอาจจะมีการก่อการจลาจลรุนแรงได้
| |
| | |
| @ ศิริชัย ไม้งาม
| |
| | |
| แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย รุ่น 2
| |
| | |
| ตอนนายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรีชนะเลือกตั้ง กลุ่มพันธมิตรก็เคารพเสียงส่วนใหญ่ของประชาชน กระทั่งมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญโดยยกเลิกมาตรา 309 และแก้มาตรา 237 เกี่ยวกับการยุบพรรค ทำให้เกิดขบวนการคัดค้านและการที่นักการเมืองหากรู้ปัญหาบ้านเมืองมาจากการซื้อเสียงที่เป็นปัญหาใหญ่ ไม่ทุจริตเลือกตั้ง พรรคจะถูกยุบหรือไม่ ถ้านักการเมืองเคารพกติกาไม่ต้องห่วง ถึงอย่างไรการเมืองก็เดินหน้าไปได้ และวันนี้ปัญหาที่พยายามแก้ไขโดยรัฐสภาก็ยังไม่เชื่อมั่นว่าจะแก้ไขได้ แค่เริ่มต้นพูดก็เป็นการแก้ปัญหาของนักการเมืองเอง ให้ตัวเองพ้นผิดเพื่อกลับมาเข้าสู่อำนาจ อย่างไรก็ตาม วันนี้ คุณธรรมและจริยธรรมของนักการเมืองสำคัญสุด ถ้านักการเมืองที่ดี เราต้องเคารพ แต่หากนักการเมืองฉกฉวยหาช่องทางเข้าสู่อำนาจ ขาดจริยธรรมคุณธรรม ก็ทำให้เกิดปัญหาได้ ดังนั้น คิดว่ารัฐธรรมนูญไม่จำเป็นต้องไปแตะต้องมากนัก
| |
| | |
| @ ไพโรจน์ พลเพชร
| |
| | |
| ประธานคณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน
| |
| | |
| วิกฤตของบ้านเราขณะนี้ไม่เพียงมีแต่วิกฤตทางปัญญา แต่ยังมีวิกฤตความเกลียดชังที่เราผลิตความเกลียดชังมากกว่า และใช้ความเห็นกับความเชื่อให้เป็นความจริงโดยใช้สื่อเป็นตัวกลาง ซึ่งเป็นวิกฤตสำคัญที่จัดการยาก ดังนั้น รัฐธรรมนูญเป็นส่วนหนึ่งเท่านั้นไม่ใช่ทั้งหมด ถ้าจะเดินไปข้างหน้าจะไปทางไหน เราต้องตั้งสติว่าวิกฤตที่พูดอะไรกันแน่ อย่างไรก็ตาม วิกฤตไม่ได้อยู่ในสภาเท่านั้น แต่เป็นวิกฤตของทุกกลุ่มในสังคม ดังนั้น เราต้องปฏิรูปการเมืองและสังคมรอบสอง รวมทั้งสถาบันการเมืองต้องริเริ่มเปิดให้ทุกฝ่ายมาร่วมกัน
| |
| | |
| หน้า 26ตัวแทนสังคมฟันธง แก้"รธน."ไม่ใช่คำตอบสุดท้าย
| |
| | |
| | |
|
| |
| หมายเหตุ : สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า ศูนย์ศึกษาสันติภาพและสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย และศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกันจัดเสวนาเรื่อง "รัฐธรรมนูญกับวิกฤตทางการเมืองในปัจจุบัน" ที่สมาคมนักข่าวฯ ถนนสามเสน เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม
| |
| | |
| @ ชินวรณ์ บุณยเกียรติ
| |
| | |
| ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล
| |
| | |
| วิกฤตการเมืองปัจจุบันแม้ช่วงนี้มีโจทย์อยู่ที่การแก้กฎหมายรัฐธรรมนูญ แต่ยืนยันว่ารัฐธรรมนูญไม่ใช่จุดเริ่มต้นให้เกิดวิกฤตการเมือง นักการเมืองและคนต่างหากให้เกิดวิกฤต ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญปี 2550 เป็นการต่อยอดจากปี 2540 ให้ประชาชนมีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้น และป้องกันการแทรกแซงองค์กรอิสระ ให้อำนาจตุลาการภิวัตน์มากขึ้น และมีการผ่านประชามติทั่วประเทศ แต่มีปัญหาที่อีกฝ่ายมองว่าเป็นรัฐธรรมนูญมาจากคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ดังนั้น วันนี้เราต้องมาเริ่มต้นมองว่าจะแก้ไขรัฐธรรมนูญอีกหรือไม่
| |
| | |
| ผมเข้าใจว่าวิกฤตการเมืองเป็นจุดเริ่มต้นส่วนหนึ่ง และขณะนี้มีการตั้งคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมืองและศึกษาแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้ว อย่างน้อยก็เป็นการนำปัญหาที่เกิดขึ้นเข้าสู่ระบบสภา ซึ่งเป็นข้อดี และโจทย์การแก้ปัญหาการเมืองขณะนี้ หากแก้ไม่ถูกต้องเราอาจจะเพิ่มวิกฤตความขัดแย้งยิ่งขึ้นอีก
| |
| | |
| @ พีรพันธุ์ พาลุสุข
| |
| | |
| ส.ส.ยโสธร พรรคเพื่อไทย
| |
| | |
| นักการเมืองต้องลดวิวาทะ คือลดการใส่ร้ายป้ายสี ที่เอาเรื่องเท็จมาใส่ร้ายกัน รวมทั้งในเรื่องของสิทธิและเสรีภาพ และนักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งแต่พอทำงานกลับทำอีกอย่างหนึ่ง จึงกลายเป็นวิกฤตทางการเมืองที่สะสม รวมทั้งการที่ประชาชนบางกลุ่มไม่เห็นด้วยกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองนั้นก็เป็นอีกส่วนหนึ่ง และเรื่องของสองมาตรฐาน สะสมมา คือ 1.การคิดว่าประเทศไม่เป็นธรรม 2.การใช้คำว่าอำมาตยาธิปไตย คือ การเข้ามาแทรกแซงการเมืองโดยไม่ผ่านอำนาจทางรัฐสภาโดยตรง ที่สำคัญคือประชาสังคมต้องเข้มแข็ง
| |
| | |
| ที่ประชาชนอยากแก้รัฐธรรมนูญ คือ คิดว่ามาจากรัฐประหาร ซึ่งใส่ไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่ต้องทำให้ดี ไม่อย่างนั้นสังคมจะมองว่าแก้เพื่อให้ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีพ้นผิด จึงจะต้องมีการรณรงค์ในการแก้ไขโดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม อย่างน้อยต้องเลือกตั้งสองครั้งถึงจะสามารถปลดเผด็จการที่อยู่ในรัฐธรรมนูญได้ และรัฐบาลต้องส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันแล้วความคิดและแบบแผนทางสังคมจะเกิดขึ้น ขณะเดียวกันสื่อทุกชนิดต้องเปิดกว้างให้ทุกส่วนได้แสดงความคิดเห็นด้วยเหตุและผล
| |
| | |
| @ นิธิ เอียวศรีวงศ์
| |
| | |
| นักวิชาการอิสระ
| |
| | |
| โค้ท "หากยังมีความเหลื่อมล้ำทางอำนาจการเมืองและสังคมที่ไม่ใช่เฉพาะรายได้ ต่อให้ร่างรัฐธรรมนูญให้ตายก็ไม่สามารถแก้วิกฤตได้"
| |
| | |
| ขณะนี้สนใจวิกฤตการเมืองและสังคมมากกว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เพราะหากแก้วิกฤตสองอย่างไม่ได้ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ โดยเฉพาะขณะนี้ภาคเกษตรกรรมเป็นคนส่วนใหญ่หลุดภาคเกษตรไปอยู่ภาคแรงงาน คนไทยส่วนใหญ่เวลานี้ขายแรงงาน และแรงงานไทยไม่ได้รับความเป็นธรรม ส่วนความเหลื่อมล้ำรายได้โดยเฉพาะเหลื่อมล้ำด้านสังคม ทุกคนมีสิทธิเลือกตั้งหนึ่งเสียงเท่ากัน แต่กรรมกรที่เขาเดือดร้อนจากนโยบายของรัฐและนายทุน แต่เข้าถึงสื่อไม่เท่าเทียมกัน ดังนั้น หากยังมีความเหลื่อมล้ำทางอำนาจการเมืองและสังคมที่ไม่ใช่เฉพาะรายได้ ต่อให้ร่างรัฐธรรมนูญให้ตายก็ไม่สามารถแก้วิกฤตการเมืองได้
| |
| | |
| ส่วนความขัดแย้งการเมือง เชื่อว่าความขัดแย้งเกิดจากชนชั้นนำก่อนเกิดเสื้อเหลืองและเสื้อแดง การเมืองในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา เป็นความขัดแย้งที่เกิดจากชนชั้นนำที่ไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลงตัวได้ เพราะสมัยหนึ่งเกิดขัดแย้งแก้ได้ด้วยวิธีการยึดอำนาจ แต่ครั้งนี้ยึดอำนาจแล้วแก้ไม่ได้ และขณะนี้ไม่ใช่ตีกันของเสื้อเหลืองและเสื้อแดง แต่แก้ความขัดแย้งไม่ได้เพราะการต่อสู้ทางการเมืองชนชั้นนำ และการไม่เคารพกติกาของชนชั้นนำ ดังนั้น การแก้รัฐธรรมนูญต้องเข้าใจวิกฤตสังคมให้ดี และต้องกลับมาศึกษาสร้างฉันทามติเกี่ยวกับปัญหาก่อน อีกทั้งขณะนี้เรามองแค่การแก้ปัญหาการเมืองที่พูดการเมืองแค่วงแคบ แต่ไม่มองถึงปัญหาของชนชั้นล่าง
| |
| | |
| ถ้าเราตกลงเรื่องปัญหาวิกฤตไม่ได้ เชื่อว่าไม่สามารถสร้างรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยได้ แต่ถ้าเราเริ่มมองวิกฤตสังคมได้เข้าใจ เราจะแก้ไขรัฐธรรมนูญหรือร่างรัฐธรรมนูญที่เหมาะสมกับประเทศเราได้
| |
| | |
| @ จรัล ดิษฐาอภิชัย
| |
| | |
| แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
| |
| | |
| วิกฤตการเมืองปัจจุบัน เป็นวิกฤตความไม่เชื่อมั่นระบอบประชาธิปไตย เป็นวิกฤตที่ตอนหลังยกระดับว่า เป็นวิกฤตเกิดจากความขัดแย้งอุดมการณ์การเมืองของคนสองฝ่าย ที่ฝ่ายพวกตนช่วงชิงว่าเป็นฝ่ายประชาธิปไตย อีกฝ่ายเป็นฝ่ายเผด็จการที่ตอนหลังเป็นฝ่ายอำมาตยาธิปไตย ความจริงประเทศไทยไม่ได้มีวิกฤตการเมือง วิกฤตเศรษฐกิจและสังคมเท่านั้น แต่ยังมีอีกวิกฤต คือ วิกฤตทางปัญญาที่สังคมส่วนใหญ่ไม่ใช้ปัญญาแต่กลับเชื่ออะไรที่เหมือนกัน เช่น ถ้าพวกเดียวพูดกันถูก ถึงไม่ถูกก็พร้อมขยายต่อกลายเป็นความเสียหายร้ายแรงที่สุดคือ คนในสังคมจำนวนมากไม่ใช้ปัญญา หรือใช้ปัญญาวิเคราะห์ต่ำที่สุดในรอบ 100 ปี
| |
| | |
| ผมคิดว่ารัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันคงแก้กันไม่ได้ และคิดว่าจะมีเหตุการณ์ใหญ่ๆ เกิดขึ้นอย่างคาดไม่ถึงซึ่งอาจจะมีการก่อการจลาจลรุนแรงได้
| |
| | |
| @ ศิริชัย ไม้งาม
| |
| | |
| แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย รุ่น 2
| |
| | |
| ตอนนายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรีชนะเลือกตั้ง กลุ่มพันธมิตรก็เคารพเสียงส่วนใหญ่ของประชาชน กระทั่งมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญโดยยกเลิกมาตรา 309 และแก้มาตรา 237 เกี่ยวกับการยุบพรรค ทำให้เกิดขบวนการคัดค้านและการที่นักการเมืองหากรู้ปัญหาบ้านเมืองมาจากการซื้อเสียงที่เป็นปัญหาใหญ่ ไม่ทุจริตเลือกตั้ง พรรคจะถูกยุบหรือไม่ ถ้านักการเมืองเคารพกติกาไม่ต้องห่วง ถึงอย่างไรการเมืองก็เดินหน้าไปได้ และวันนี้ปัญหาที่พยายามแก้ไขโดยรัฐสภาก็ยังไม่เชื่อมั่นว่าจะแก้ไขได้ แค่เริ่มต้นพูดก็เป็นการแก้ปัญหาของนักการเมืองเอง ให้ตัวเองพ้นผิดเพื่อกลับมาเข้าสู่อำนาจ อย่างไรก็ตาม วันนี้ คุณธรรมและจริยธรรมของนักการเมืองสำคัญสุด ถ้านักการเมืองที่ดี เราต้องเคารพ แต่หากนักการเมืองฉกฉวยหาช่องทางเข้าสู่อำนาจ ขาดจริยธรรมคุณธรรม ก็ทำให้เกิดปัญหาได้ ดังนั้น คิดว่ารัฐธรรมนูญไม่จำเป็นต้องไปแตะต้องมากนัก
| |
| | |
| @ ไพโรจน์ พลเพชร
| |
| | |
| ประธานคณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน
| |
| | |
| วิกฤตของบ้านเราขณะนี้ไม่เพียงมีแต่วิกฤตทางปัญญา แต่ยังมีวิกฤตความเกลียดชังที่เราผลิตความเกลียดชังมากกว่า และใช้ความเห็นกับความเชื่อให้เป็นความจริงโดยใช้สื่อเป็นตัวกลาง ซึ่งเป็นวิกฤตสำคัญที่จัดการยาก ดังนั้น รัฐธรรมนูญเป็นส่วนหนึ่งเท่านั้นไม่ใช่ทั้งหมด ถ้าจะเดินไปข้างหน้าจะไปทางไหน เราต้องตั้งสติว่าวิกฤตที่พูดอะไรกันแน่ อย่างไรก็ตาม วิกฤตไม่ได้อยู่ในสภาเท่านั้น แต่เป็นวิกฤตของทุกกลุ่มในสังคม ดังนั้น เราต้องปฏิรูปการเมืองและสังคมรอบสอง รวมทั้งสถาบันการเมืองต้องริเริ่มเปิดให้ทุกฝ่ายมาร่วมกัน
| |
| | |
| หน้า 2
| |
| | |
| ----
| |
| เชิญชวนผู้บริหารและพนักงานทุกสำนัก/วิทยาลัย ร่วมใส่เสื้อที่สถาบัน ฯ แจก ดังนี้
| |
| 1.ทุกวันจันทร์ ให้สวมเสื้อ “หยุดทำร้ายประเทศไทย”
| |
| 2.ทุกวันพุธ ให้สวมเสื้อสีเขียว “ยุติความรุนแรงฯ “
| |
| 3.ทุกวันศุกร์ ให้สวมเสื้อ 10 ปี สถาบันฯ (หอมดอกราตรี)
| |
| อนึ่ง ในกรณีที่ไปปฏิบัติงานภายนอกสถาบันฯ ให้แต่งกายสุภาพ สวมสูทสีเขียวเท่านั้น
| |
| ----
| |
| วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น เรียนเชิญทุกท่านเข้าร่วมฟังปาฐกถาธรรม หัวข้อ ธรรมะตามการณ์ ในยุคข้าวยากหมากแพง ใน วันที่ 21 พฤษภาคม 2552 เวลา 7.00 น. ณ ห้องประชาธิปก สถาบันพระปกเกล้า
| |
| ----
| |
| เรียน ประธานคณะอำนวยการ, ที่ปรึกษาคณะทำงาน หัวหน้าคณะทำงาน และคณะทำงานทุกท่าน เพื่อให้การดำเนินการศึกษาและจัดทำข้อเสนอแนวทางความก้าวหน้าของพนักงานปฏิบัติการวิชาชีพและปฏิบัติการทั่วไป เสร็จสิ้นตามความคาดหวังของผู้บริหาร จึงใคร่ขอเชิญคณะทำงานทุกท่านเข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน ในวันอังคารที่ 19 พฤษภาคม 2552 เวลา 13.00 นาฬิกา ณ ห้องประชาธิปก สถาบันพระปกเกล้า อนึ่ง คณะทำงานประกอบด้วย หัวหน้าคณะทำงาน และเลขานุการคณะทำงานทุกกลุ่ม ได้ประชุมร่วมกันเพื่อสรุปความคืบหน้า และแต่ละกลุ่มงานจะกลับไปจัดทำ (ร่าง) ใบพรรณนางานของทุกตำแหน่งงานให้แล้วเสร็จ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการประชุมในวันที่ 19 พฤษภาคม 2552 นี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และขอขอบคุณล่วงหน้ามา ณ โอกาสนี้ จากพนักงานบริหารงานบุคคล
| |
| ----
| |
| เพื่อนพนักงานและเจ้าหน้าที่ทุกท่าน มีข่าวแจ้งประชาสัมพันธ์ในการจำหน่ายเสื้อยืด “เครือข่ายหยุดทำร้ายประเทศไทย หยุดใช้ความรุนแรง” ตั้งแต่วันเสาร์ที่ 9 พฤษภาคม 52 สามารถซื้อได้ที่สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย (ถ.สามเสน ตรงข้ามรพ.วชิระ)หมายเลขโทรศัพท์ 02-243-8673 และตั้งแต่วันอังคารที่ 12 พฤษภาคม 2552 สามารถซื้อได้ที่เคาเตอร์ประชาสัมพันธ์ ชั้น 5 สถาบันพระปกเกล้า ทั้งสองสถานที่จำหน่ายในราคาตัวละ 150 บาท มี 5 ไซส์ คือ S , M , L , XL , XXL(ไม่ได้แบ่งไซส์ชาย-หญิง)ศูนย์ประชาสัมพันธ์
| |
| ----
| |
| [[กำหนดงานประจำเดือน เมษายน]]
| |
| ----
| |
| [[การอบรมหลักสูตร “Thinking about Political Research”]]
| |
| ----
| |
| [[หลักสูตร ระดับสัมฤทธิบัตร การให้บริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน รุ่นที่ 9]]
| |
| ----
| |
| [[ละครเทิดพระเกียรติเรื่อง “พ่อ ความฝันอันสูงสุด”]]
| |
| ----
| |
| [[ภาพ:Kpi1.jpg]]
| |
| ----
| |
| [[KPI Congress X]]
| |
| ----
| |
| เลขาธิการฯ ได้มอบให้ สำนักฝึกอบรม เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ จัดงานสัมมนาพิเศษ โดย สถาบันพระปกเกล้าร่วม กับศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน)จัดอภิปรายทางวิชาการ เรื่อง “การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร : ปัญหากฎหมายและอธิปไตยของชาติ” ในวันจันทร์ที่ 30 มิถุนายน 2551 เวลา 9.00 - 12.00 น. ณ ห้องแกรนด์ บอลรูม โรงแรมรามาการ์เดนท์ ถ.วิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ
| |
| ผู้สนใจสำรองที่นั่งฟรีได้ที่สำนักฝึกอบรม เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ สถาบันพระปกเกล้า โทรศัพท์ 02-527-7830-9 ต่อ 2304-2306 โทรสาร 02-527-7822 หรือที่ www.kpi.ac.th
| |
| ----
| |
| [[กำหนดการศึกษาดูงานหลักสูตรประกาศนียบัตรนักเจรจาไกล่เกลี่ย รุ่นที่ 3]]
| |
| ----
| |
| [[กิจกรรมของสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล]] โครงการพัฒนาวิทยากรในการจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วมสำหรับเยาวชน
| |
| ----
| |
| [[เปิดหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง "การเสริมสร้างสังคมสันติสุข รุ่นที่ 1"]]
| |
| ----
| |
| ประกาศสถาบันพระปกเกล้า เรื่อง [[รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าเป็นนักศึกษา หลักสูตร การเสริมสร้างสังคมสันติสุข รุ่นที่ 1]]
| |
| ----
| |
| '''วันพฤหัสที่ 29 พฤษภาคม 2551 ''' สถานที่ ห้องรำไพพรรณี สถาบันพระปกเกล้า
| |
| | |
| '''Dr. Michael Hollander''' ผู้เชี่ยวชาญชาวเยอรมันด้านการศึกษาทางการเมืองและการประเมินผล และ Dr. Canan Atilgan ผู้แทนมูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์
| |
| | |
| เข้าหารือแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็นในด้านการพัฒนาการศึกษาสำหรับพลเมืองของประเทศไทยและเยอรมันร่วมกับผู้บริหารสถาบันพระปกเกล้า ได้แก่ ศ.ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ รศ. วุฒิสาร ตันไชย ดร. อรัญ โสตถิพันธุ์ นส. สร้อยนภา วัฒนากิตติกูล โดยมี ศ.ดร. วิจิตร ศรีสอ้าน และ อ. เธียรชัย ณ นคร เข้าร่วมหารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในวันพฤหัสบดีที่ 29 พฤษภาคม 2551 เวลา 14.00-15.00 น. ณ ห้องประชุมรำไพพรรณี สถาบันพระปกเกล้า
| |
| | |
| Thursday 29 May 2008
| |
| venue Rampaipannee Meeting Room, KPI
| |
| Dr. Michael Hollander, a German expert in political education and evaluation, and Dr. Canan Atilgan, Konrad Adenauer Stiftung’s Resident Representative to Thailand, discussed development of civic education in Thailand and Germany with KPI executive members- Dr. Borwornsak Uwanno, Assoc. Prof. Woothisarn Tanchai, Dr. Aran Sotthibandhu and Ms. Sroinapa Wattanakittikul. Former Education Minister Dr. Wichit Srisa-an and Prof. Tienchai Na nakorn from the Thammasat University Law Faculty also joined the meeting. The meeting was held on Thursday 29 May 2008 at Rampaipannee Meeting Room, King Prajadhipok’s Institute.
| |
| \\Saiphone1\phototoshare\KASMay2008
| |
| | |
| ----
| |
| '''วันจันทร์ที่ 2 มิถุนายน 2551 สถานที่ ห้องรับรอง สถาบันพระปกเกล้า'''
| |
| | |
| ศ.ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า ดร.ถวิลวดี บุรีกุล ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนา พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อำนวยการสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล และ นางสาวสร้อยนภา วัฒนากิตติกูล รักษาการณ์ผู้อำนวยการสำนักฝึกอบรม เผยแพร่และพัฒนา
| |
| | |
| ร่วมรับรอง นาย Adny Aman เจ้าหน้าที่โครงการจากสถาบันเพื่อประชาธิปไตยและการช่วยเหลือด้านการเลือกตั้ง (Institute for Democracy and Electoral Assistance หรือ IDEA) จากประเทศสวีเดน โดยมีประเด็นสนทนาและหารือเกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการระหว่างหน่วยงานในอนาคต
| |
| | |
| '''Monday 2 June 2008'''
| |
| | |
| Venue Guest Room, King Prajadhipok’s Institute
| |
| Prof. Dr. Borwornsak Uwanno, Secretary General of King Prajadhipok’s Institute (KPI), Dr. Thawilwadee Bureekul, Director of Research and Development Office, General Ekkachai Srivilat, Director of Peace and Governance Office and Ms. Sroinapa Wattanakittikul, Acting Director of Training, Dissemination and Public Relations welcomed Mr. Adhy Aman, Programme Officer from Institute for Democracy and Electoral Assistance (IDEA) to discuss future academic cooperation between KPI and IDEA.
| |
| \\Saiphone1\phototoshare\IDEA_June08
| |
| | |
| ----
| |
| '''บทสัมภาษณ์ ผู้อำนวยการสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า เรื่อง แตกต่าง แต่ไม่แปลกแยก "สังคมสันติสุข"'''
| |
| | |
| ความขัดแย้งทางความคิดที่นับวันจะกลายเป็นรอยร้าวลึกทางสังคม แบ่งแยกคนไทยเป็นก๊ก เป็นเหล่า พวกฉัน พวกเธอ พวกเขา จะดีกว่าไหมถ้าสังคมไทยมีแต่ “พวกเรา” แม้เธอกับเขา เราคิดไม่เหมือนกัน แต่พวกเราอยู่ “ร่วมกัน” ได้ภายใต้สังคมสันติสุข (เดียวกัน)
| |
| | |
| ดูเหมือนว่าความแตกต่างทางความคิด ความเชื่อของสังคมไทยกำลังพัฒนามาไกล ลุกลามเป็นความแปลกแยก ขัดแย้ง ความร้าวฉานทางสังคมที่กำลังคุกคามสังคมไทยกำลังต้องการได้รับการเยียวยาก่อนสายเกินไป
| |
| | |
| “สังคมไทยเดินมาถึงจุดที่เรียกว่าเป็น “อัตลักษณ์ทางความคิด” คิดว่าตัวกู ของกู เอาตัวเองเป็นใหญ่ ทุกคนมีแต่ไม่ ไม่รับ ไม่ใช่ ไม่ฟังเหตุผล ไม่เห็นด้วย” พล.อ.เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อำนวยการสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า กล่าว
| |
| | |
| บนสังคมรากฐาน “ไม่” บั่นทอนสังคมที่ผาสุก โดยเฉพาะปัญหาชายแดนภาคใต้ ทำให้ พล.อ.เอกชัย ถึงเวลาที่ต้องใช้ “สมานฉันท์” เข้าเยียวยา ผ่านหลักสูตร “เสริมสร้างสังคมสันติสุข” ซึ่งเป็นหลักสูตรปฐมฤกษ์ของวิทยาลัยสมานฉันท์สันติสุข ภายใต้สถาบันพระปกเกล้า
| |
| | |
| แม้ว่าสถาบันพระปกเกล้าจะเปิดสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาลมาแล้ว 10 ปี แต่ความขัดแย้งทางสูงกลับทวีคูณ ซึ่งพล.อ.เอกชัย มองว่า หลักสูตรที่ผ่านมาสอนแก้ปัญหาขัดแย้งไกล่เกลี่ยเรื่องเล็กๆ แต่ปัจจุบันความขัดแย้งขยายวงกว้างในระดับประเทศ และเป็นไปอย่างไม่มีเหตุผล
| |
| | |
| “เราเลยอยากสร้างสังคมสันติสุข ทำอย่างไรให้คนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ภายใต้ความแตกต่างทางความคิด วัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา”
| |
| | |
| ด้วยแนวคิดการสอนแบบใหม่ คือ เรียนด้วยระบบสัมผัสประสบการณ์จริง ลงพื้นที่ 2 ใน 3 ของเวลาเรียน ทุกๆ ที่คือห้องเรียน ฟังมากกว่าพูด เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
| |
| | |
| พล.อ.เอกชัย มองว่า การลงพื้นที่ และการเรียนนอกห้องเรียน ซึ่งต้องเป็นกระบวนการ “เปิดใจ” คุยถึงข้อขัดแย้งที่เกิด เพราะคนเราความเห็นแตกต่างกันได้ แต่ต้องไม่เกิดการ “แตกแยก” ซึ่งการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และมุมมองเป็นสิ่งสำคัญ ทำให้เราเข้าใจความคิดของคนแต่ละกลุ่ม
| |
| | |
| การเรียนในหลักสูตรนี้จึงไม่ตายตัวว่าจะเจาะปัญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้เพียงสถานเดียว แต่จะหมุนเวียนเปลี่ยนไปตามปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้นในแต่ละยุคสมัย
| |
| | |
| และยิ่งแตกต่างสิ้นเชิงกับ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หรือ วปอ. เพราะ วปอ.มีจุดหมายปลายทางคือยุทธศาสตร์ชาติ แต่สำหรับหลักสูตรเสริมสร้างสังคมสันติสุขมีความเข้าใจและเชื่อมั่นระหว่างกันของคนในสังคมเป็นปลายทางของความหวัง
| |
| | |
| หลักสูตรนี้จึงเป็นแหล่งรวมเหล่าตั้งแต่ ป.4 ถึงดอกเตอร์ ปราชญ์ชาวบ้าน เอ็นจีโอ ข้าราชการ ที่มีเจตนารมณ์เดียวกัน คือ สร้างให้สังคมไทยแห่งนี้มีแต่รอยยิ้ม
| |
| | |
| “ของเราแต่ละรุ่นจะไม่เหมือนกัน แต่รุ่นที่หนึ่งเราจะศึกษาปัญหาใหญ่กรณีขัดแย้ง 3 จังหวัดภาคใต้”
| |
| | |
| แม้จะพุ่งเป้าให้เกิดความสมานฉันท์ในดินแดนตอนใต้ของไทย แต่กรณีศึกษาต้องมากกว่านั้น
| |
| | |
| พล.อ.เอกชัย ย้ำว่า หลักสูตรนี้ถูกดีไซน์ออกมาในแบบ “นอกกรอบ” เดิมๆ ซึ่งแต่ละเดือนจะมีโปรแกรมศึกษากิจกรรมที่แตกต่างกันของคนในสังคม อย่างกิจกรรมในสัปดาห์แรกศึกษาคนชายขอบ ชนกลุ่มน้อยพลัดถิ่น ที่อยู่ทางตอนเหนือของไทย ซึ่งต้องลงพื้นที่คลุกกับคนในท้องถิ่น และเจ้าหน้าที่ที่ดูแลพื้นที่เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกันและกัน
| |
| | |
| “เราจะศึกษาเรื่องนี้ 4 วัน พาไปดูกรณีของก๊ก มิน ตั๋ง ที่อยู่บนดอยแม่สลอง ไปดูว่าทำไมเขาเข้ามาอยู่เมืองไทยแล้วถึงไม่ได้สิทธิ ไม่ได้เป็นคนไทยเสียที”
| |
| | |
| หรือแม้แต่สังคมอีสานที่โครงสร้างสังคมผิดเพี้ยนไปอย่างแรง คนอีสานกว่า 2 แสนคน ย้ายถิ่นตั้งรกรากที่ยุโรป แต่คนต่างชาติกลับเข้ามาแทนที่
| |
| | |
| “ตอนนี้กลับตาลปัตร คนยุโรปไปอยู่อีสาน เป็นอะไรที่แปลกประหลาด ต่อไปควายในอีสานจะหายหมด มีแต่ฝรั่งมาไถนาแทน เพราะเขาชอบ ต้องมาศึกษาว่าทำไมโครงสร้างสังคมมันถึงผิดเพี้ยนอย่างนี้”
| |
| | |
| การเรียนที่เน้นกรณีศึกษาหมุนเวียนเปลี่ยนไปทุกเดือน และกลับมาถกเถียงถึง "รากเหง้า" ของปัญหา
| |
| | |
| พล.อ.เอกชัย บอกว่า ทุกคนจะต้องเรียนทุกเคสเหมือนกัน แต่ศึกษาเชิงลึกอย่างแตกต่าง เช่น เรื่องคนชายขอบ ในเรื่องเดียวกันกลุ่มหนึ่งจะต้องศึกษาเรื่องสิทธิส่วนบุคคลของชนกลุ่มน้อย อีกกลุ่มต้องศึกษาชนกลุ่มน้อยกับความมั่นคงของประเทศ 6 กลุ่ม 6 ประเด็น เพื่อให้มองปัญหาที่หลากหลายและครอบคลุม
| |
| | |
| และก่อนจบผู้ที่เข้าเรียนจะต้อง “ร่วมด้วยช่วยกัน” สร้างผลงานวิจัยถึงแนวทางแก้ไขปัญหาทางสังคมของ “รุ่น” ซึ่งรุ่นแรกเป็นแนวทางแก้ไขวิกฤตการณ์ชายแดนภาคใต้
| |
| | |
| ที่สำคัญต้องเป็นผลวิจัยที่สามารถนำไปใช้ได้จริง โดยผ่านเวที “เปิดใจ” ของคนที่เกี่ยวข้องทุกส่วนภาค
| |
| | |
| “เป็นเวทีคุยเปิดอกเพื่อให้รู้ว่าเกิดอะไรในสังคมไทยที่ต้องแก้ปัญหาร่วมกัน ไม่ใช่มองการแก้ปัญหาแบบท่อใครท่อมัน ท่อทหารก็แก้แบบทหาร ของผมท่อสมานฉันท์ก็มองภาคประชาชนอย่างเดียว ที่ผ่านมาเป็นอย่างนี้ ทั้งที่เป็นปัญหาระดับชาติแต่ไม่เคยมาเจอกัน แต่หลักสูตรนี้เราจะทำให้คนที่เกี่ยวข้องมาเจอกัน”
| |
| | |
| รูปแบบของกระบวนการสอน “เปิดใจ” ซึ่งจะเป็นคีย์ซัคเซสของหลักสูตรในความคิดของผู้อำนวยการสำนักสันติวิธี คือทำให้ในหลายมิติของสังคมได้แลกเปลี่ยนความรู้กันและกัน เข้าใจมุมคิดของคนต่างมิติ ไม่ยึดติดเอาว่า “ตัวกู ของกู” โดยการเปิดเวทีประจันหน้าระหว่างคนท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ในท้องที่ เอ็นจีโอ ทหาร และผู้บริหารระดับสูงของภาครัฐ
| |
| | |
| เขาเชื่อว่านี่คือการพลิกรูปแบบการเรียนใหม่ เพื่อให้สังคม “ยึดติด” กับตำรา แต่เป็นการผสมผสาน “ความเป็นจริงในชีวิต” ช่วยแก้ไข ซึ่งเป็นแนวทางเดียวกับที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวศึกษา และหาทางแก้ปัญหา
| |
| | |
| "ขณะนี้การเรียนเราติดตำรา ในหลวงบอกห้ามติดตำรา เพราะท่านทำทุกอย่างจากชีวิตจริง ศึกษาจากความเป็นจริง ตำราแค่นำมาต่อยอดให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น แต่ทุกวันนี้เราเอาตำรามาเถียงทั้งที่ตำราเป็นของใครก็ไม่รู้และจะเอามาแอพพลายใช้ได้จริงหรือเปล่าไม่รู้ ต้องเอาหลักความจริงมาใช้
| |
| | |
| นอกจากนี้เรายังไม่ได้สอนแค่ความรู้อย่างเดียว เราสอนวิธีดำรงชีวิตในสังคมที่หลากหลายและแตกต่าง จะดำรงอยู่ได้อย่างไร เพราะตรงนี้เหมือนสังคมย่อๆ ของประเทศไทยที่มีคนอยู่ด้วยกัน 60 คน อยู่ได้มั้ยถ้าอยู่ไม่ได้ก็อยู่สังคมใหญ่ไม่ได้แน่นอน"
| |
| | |
| เขา บอกว่า พระปกเกล้าเดินมาถึงจุดที่ไม่ประเมินผลแค่จากตัวเองที่สามารถทำงาน “เสร็จ” แต่ดูว่าสังคมได้อะไรจากเราบ้าง ซึ่งเป็นสถาบันนำร่องแห่งแรกของไทยที่ดูผลตอบรับของโครงการที่ทำไปทั้งหมดว่าตอบสนองสังคมชุมชนได้อย่าง คนในพื้นที่ได้ประโยชน์ไหม
| |
| | |
| แม้จะแตกต่างทางความคิด แต่ไม่แปลกแยก ภายใต้สันติสุขเดียวกัน
| |
| | |
| | |
| ----
| |
| '''ท่านใดต้องการส่งข่าวสาร ประกาศข่าวส่งมาได้ที่ Email:ekkachais@hotmail.com หรือโทรสาร 02-527-7809 หรือโทร 089-814-5599'''
| |
| | |
| ----
| |
| '''การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน'''
| |
| | |
| ตามที่พระราชบัญญัติสถาบันพระปกเกล้า พ.ศ. 2541 มาตรา 27 ให้มีคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสถาบัน ประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการจำนวน 5 ท่าน ได้ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานของสถาบันในปีงบประมาณ 2551 โดยเป็นปีที่สิบของการปฏิบัติงานของคณะกรรมการติดตามและประเมินผล ซึ่งสถาบันพระปกเกล้าสามารถนำข้อเสนอแนะจากรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลดังกล่าว มาเป็นแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานของสถาบัน และของเลขาธิการ ต่อไป ทั้งในด้านสัมฤทธิผลตามแผนกลยุทธ์ ด้านความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการเงินและงบประมาณ และในด้านการพัฒนานวัตกรรมและการเรียนรู้
| |
|
| |
| การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานในรอบครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2551(1 ตุลาคม 2550 – 31 มีนาคม 2551)
| |
| | |
| ตามข้อเสนอแนะจากการติดตามและประเมินผลของสถาบันและของเลขาธิการในรอบครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2551 และการปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ของสถาบันใน 6 แผนงานหลัก คือ แผนงานด้านการวิจัยและพัฒนา แผนงานด้านการส่งเสริมวิชาการของรัฐสภา แผนงานด้านการเผยแพร่และบริการวิชาการ แผนงานด้านพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แผนงานด้านการจัดการศึกษาและฝึกอบรม (รวมงานห้องสมุด) และแผนงานด้านการบริหารงานทั่วไป ในแต่ละแผนงานจะติดตามความก้าวหน้าทั้งในด้านวัตถุประสงค์ ผลงานและกลยุทธ์ของการดำเนินงาน
| |
| | |
|
| |
| '''วัตถุประสงค์'''
| |
| | |
| การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของสถาบันและของเลขาธิการ ในรอบครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2551 (1 ตุลาคม 2550 – 31 มีนาคม 2551) มีวัตถุประสงค์ทั่วไปเพื่อกระตุ้นให้สถาบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง อันจะก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ ในอนาคต ตลอดจนก่อให้เกิดประสิทธิผลและมีดุลยภาพในการบริหารงาน ในลักษณะฝ่ายบริหารที่เข้มแข็ง สำหรับวัตถุประสงค์เฉพาะของการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของสถาบัน และของเลขาธิการ มีดังนี้
| |
| | |
| 1. เพื่อติดตามการปฏิบัติงานของสถาบันและของเลขาธิการในรอบครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2551 (1 ตุลาคม 2550 – 31 มีนาคม 2551)]]'''
| |
| | |
| 2. เพื่อประเมินความก้าวหน้าของสถาบันและของเลขาธิการในรอบครึ่งปีแรก ปีงบประมาณ 2551 (1 ตุลาคม 2550 – 31 มีนาคม 2551) ในสองประเด็น คือการประเมินสัมฤทธิผลตามแผนกลยุทธ์ โดยจะประเมินผลงานเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์และเกณฑ์ตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ในแต่ละแผนงาน และการประเมินผลงานของสถาบันของเลขาธิการในรอบครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2551 โดยการประยุกต์ใช้การประเมินแบบสมดุล 4 มิติ คือ มิติด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการ มิติด้านการบริหารจัดการ มิติด้านการเงินและงบประมาณ และมิติด้านนวัตกรรมและการเรียนรู้
| |
| | |
| | |
| '''กรอบความคิด'''
| |
| | |
| 1. การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของสถาบันพระปกเกล้า ของเลขาธิการเป็นการดำเนินงานในลักษณะ PMA (Performance and Management Audit) คือ การตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานในการบริหาร และการทำงานร่วมกันระหว่างผู้ประเมินและผู้ถูกประเมินอย่างสร้างสรรค์
| |
| | |
| 2. การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล จะเน้นการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง โดยการติดตาม ตรวจสอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงานตามพันธกิจของสถาบันเจ็ดประการหลัก โดยใช้กระบวนการประเมินแบบมีส่วนร่วมดังระบุใน มาตรา 27 ที่กำหนดให้มีการรับฟังความคิดเห็นอย่างกว้างขวางจากผู้มีส่วนสัมพันธ์เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของสถาบันประกอบการประเมินผลงาน
| |
| | |
| 3. การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของสถาบันจะประยุกต์วิธีการประเมินผลแบบสมดุล โดยในแต่ละพันธกิจจะพิจารณาใน 4 มิติ ได้แก่ มิติด้านสัมฤทธิผล มิติด้านกระบวนการภายใน มิติด้านการเรียนรู้และการพัฒนา และมิติด้านการเงินและงบประมาณ ซึ่งกำหนดตัวบ่งชี้สำคัญ (Key Performance Indicator) ที่สะท้อนวิสัยทัศน์และปณิธานของสถาบัน และเป้าหมาย จากแผนกลยุทธ์ของสถาบัน
| |
| | |
| 4. การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงาน จะพิจารณาตามคุณลักษณะของสถาบันตามหลักธรรมัตตาภิบาล (Self Good Governance) ซึ่งประกอบด้วยประสิทธิภาพ ประสิทธิผลความรับผิดชอบสนองตอบ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การมีส่วนร่วมจากภายนอกและภายในและความสามารถคาดการณ์ได้ (วิจิตร ศรีสอ้าน : 2542)
| |
| | |
| 5. การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานด้านการบริหาร เน้นการประเมินการประเมินคุณภาพการบริหารโดยพิจารณาจาก 2 ประเด็นหลัก ได้แก่ การบริหารงานในลักษณะฝ่ายบริหารที่เข้มแข็ง (Strong Executive) และผลการปฏิบัติงานบริหารจัดการ (Management Performance) ของเลขาธิการ และสัมฤทธิผลการปฏิบัติพันธกิจของสถาบัน
| |
| | |
| 6. การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลงานด้านการเงิน (Financial Audit) คณะกรรมการติดตาม และประเมินผลงานจะทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการรับข้อมูลจากผู้ตรวจสอบภายนอก ซึ่งได้แก่ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน และจากผู้ตรวจสอบภายใน ทั้งนี้หากจำเป็นคณะกรรมการติดตามและประเมินผลงาน จะทำหน้าหน้าเป็นกลไกให้กับผู้บริหารสภาสถาบัน ในลักษณะที่ให้ข้อมูลส่งสัญญาณเตือนล่วงหน้า เชิงเป็นมิตร มากกว่าการจ้องจับผิด
| |
| | |
| 7. การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานที่อยู่ระหว่างดำเนินการ และที่ได้เกิดขึ้นแล้วโดยได้รับความร่วมมือจากฝ่ายบริหาร ทั้งนี้จะต้องไม่เป็นภาระแก่ฝ่ายบริหารจนเกินไป
| |
| | |
| '''ประโยชน์'''
| |
| | |
| 1. กระตุ้นการดำเนินและการปรับปรุงงานของสถาบันพระปกเกล้าให้เป็นไปอย่าง
| |
| ต่อเนื่อง
| |
| 2. ช่วยสภาสถาบันพระปกเกล้ากำกับดูแลการบริหารงานสถาบันพระปกเกล้า
| |
| 3. แนะแนวทางปรับปรุงแก้ไขการบริหารงานสถาบันพระปกเกล้าโดยทางอ้อม
| |
| 4. ชี้แนะปัญหาของสถาบันพระปกเกล้า และระบบการบริหารงานขององค์การมหาชน
| |
| 5. สร้างความโปร่งใสในการบริหารสถาบันพระปกเกล้า
| |
| | |
| ขั้นตอนและกระบวนการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลงาน
| |
| | |
| การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของสถาบันพระปกเกล้า และของเลขาธิการประกอบด้วยกระบวนการ 6 ขั้นตอนคือ
| |
| 1. การปรึกษาหารือกับสถาบันพระปกเกล้า เกี่ยวกับทิศทาง และจุดเน้นในการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลงานของสถาบันพระปกเกล้า และของเลขาธิการ
| |
| 2. สนทนากับฝ่ายบริหาร เกี่ยวกับเป้าหมายของการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานและเกณฑ์การประเมิน ตลอดจนแผนการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานในรอบครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2551 (1 ตุลาคม 2550 – 31 มีนาคม 2551)
| |
| 3. จัดทำผลสรุปข้อหารือกับฝ่ายบริหาร เกี่ยวกับแผนการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานในรูปของคู่มือการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของสถาบันพระปกเกล้า พร้อมทั้งนำเสนอสภาสถาบันและแจ้งให้ฝ่ายบริหารของสถาบันพระปกเกล้าเพื่อทราบ
| |
| 4. ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลงานของสถาบันพระปกเกล้าและของเลขาธิการ โดยรับฟังความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องอย่างกว้างขวาง การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานดำเนินการตามกรอบพันธกิจ 7 ประการ โดยพิจารณาใน 5 ประเด็น ได้แก่ สัมฤทธิผล ความพึงพอใจของผู้รับบริการ กระบวนการภายใน การเรียนรู้และการพัฒนา การเงินและงบประมาณ
| |
| 5. สนทนากับฝ่ายบริหารเกี่ยวกับผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลงาน
| |
| เพื่อพิจารณาปรับปรุงผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลงานตามที่คณะกรรมการติดตามและประเมินผลงานตามที่เห็นสมควร
| |
| 6. รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานต่อประธานสภาสถาบันพระปกเกล้าและสภาสถาบัน ในครึ่งปีงบประมาณจะเป็นการรายงานการติดตามและตรวจสอบความก้าวหน้าเป็นสำคัญ
| |
| | |
| | |
| ----
| |
| ''ระบบบริหารโครงการ PMS(Performance Management System)สถาบันพระปกเกล้า'''
| |
| | |
| สถาบันฯ ได้ดำเนินการจัดทำระบบบริหารโครงการ PMS(Performance Management System)เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามโครงการ/งาน ในแต่ละเดือนของหน่วยงานในสถาบัน รวมทั้งจัดทำรายงานเสนอต่อฝ่ายบริหารและคณะกรรมการบริหารของสถาบันฯ เป็นประจำทุกเดือน โดยแต่ละหน่วยงานในสถาบันฯจะมีการบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับผิดชอบโครงการ ดำเนินการลงข้อมูลในระบบการบริหารโครงการ PMS ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน เพื่อให้รายงานดังกล่าว มีความสมบูรณ์ ถูกต้องและพร้อมใช้งาน
| |
| | |
| | |
| ----
| |
| | |
| '''สถาบันพระปกเกล้าร่วมกับมหาวิทยาลัยเปิดหลักสูตรปริญญาโท
| |
| ด้านการวิเคราะห์และบริหารความขัดแย้ง รุ่นที่ 3 เดือนพฤศจิกายน 2551'''
| |
| | |
| เมื่อปี 2546 สถาบันพระปกเกล้า ได้ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับ Royal Roads University (RRU) ประเทศแคนาดา โดยในข้อตกลงกำหนดให้มีกิจกรรมร่วมกันทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงการจัดการอบรม สัมมนา และจัดหลักสูตรด้านการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี ในเบื้องต้น สถาบันพระปกเกล้าและ Royal Roads University (RRU) ต่างเห็นชอบในหลักการที่จะร่วมกันพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาโทด้านการวิเคราะห์และบริหารความขัดแย้ง เพื่อพัฒนาและสร้างขีดความสามารถให้แก่บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี โดยเปิด[[การศึกษารุ่นที่ 1 มีผู้เข้ารับการศึกษา จำนวน 8 คน]]
| |
| | |
| หลักสูตรที่ร่วมกันพัฒนาชื่อหลักสูตรปริญญาโท (Master of Arts) ด้านการวิเคราะห์และการบริหารความขัดแย้ง (Conflict Analysis and Management) ต่อมา เมื่อสถาบันพระปกเกล้าและ Royal Roads University เห็นชอบร่วมกันแล้ว จึงมีการขยายความร่วมมือไปยังมหาวิทยาลัยเครือข่าย (Consortium) ของประเทศไทย ซึ่งในเบื้องต้นมีมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมพัฒนาหลักสูตรด้วย 3 แห่ง ได้แก่ 1. มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต่อมาได้มีมหาวิทยาลัยอีก 4 แห่ง เข้าร่วมโครงการ คือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยมหิดล
| |
| | |
| '''หลักสูตรปริญญาโทด้านการวิเคราะห์และบริหารความขัดแย้ง''' ได้เปิดการเรียนการสอนมาแล้วจำนวน 2 รุ่น และกำหนดให้เปิดการเรียนการสอน รุ่นที่ 3 ในเดือนพฤศจิกายน 2551 โดยมีรายละเอียดหลักสูตร ดังนี้
| |
| | |
| '''หลักสูตรปริญญาโทด้านการวิเคราะห์และบริหารความขัดแย้ง Conflict Analysis and Management''' ใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน มีระยะเวลาเรียน 2 ปี ทั้งในห้องเรียนและควบคู่กับการศึกษาโดยใช้ Computer-Assisted Instruction (CAI) โดยในปีที่ 1 กำหนดให้นักศึกษาทุกคนต้องเข้าศึกษาเข้ม ณ มหาวิทยาลัยในประเทศไทยเป็นเวลา 3 สัปดาห์ และปีที่ 2 จำนวน 4 สัปดาห์ ณ ประเทศแคนาดา ซึ่งในปีที่ 1 จะมีอาจารย์จากมหาวิทยาลัย Royal Roads มาสอนที่ประเทศไทยรวมทั้งนักศึกษาที่สมัครเรียนจากประเทศแคนาดามาเรียนร่วมกับนักศึกษาไทย
| |
| | |
| หลักสูตรปริญญาโทด้านการวิเคราะห์และการบริหารความขัดแย้งจะเน้นความรู้ภาคทฤษฎี ทักษะ และการปฏิบัติที่จำเป็น มีการวิเคราะห์ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องความขัดแย้ง หลักสูตรนี้ ต้องการสร้างผู้นำในการวิเคราะห์ความขัดแย้ง นักศึกษาที่สนใจสมัครเข้าเรียนต้องจบการศึกษาในระดับปริญญาตรีสาขาใดก็ได้ ใช้ภาษาอังกฤษได้ดี หลักสูตรนี้เปิดโอกาสให้แก่นักศึกษาที่ทำงานประจำอยู่ได้ศึกษา ซึ่งพัฒนารูปแบบโดย Royal Roads University และได้รับการยอมรับจากมหาวิทยาลัยในแถบอเมริกาเหนือ
| |
| | |
| นักศึกษาในหลักสูตรประกอบด้วยนักศึกษาไทยและแคนาดาหรือประเทศเพื่อนบ้านที่สนใจประมาณ 25-30 คน โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการสอน ซึ่งนักศึกษาแคนาดาจะเดินทางมาศึกษาเข้มในประเทศไทยร่วมกับนักศึกษาไทยในปีการศึกษาที่ 1 แต่ในปีการศึกษาที่ 2 นักศึกษาไทยจะเดินทางไปศึกษาเข้มที่รัฐ Victoria, Canada ร่วมกับ
| |
| นักศึกษาแคนาดา ในระหว่างที่ไม่ได้ศึกษาเข้มนักศึกษาไทยจะได้รับการเรียนการสอนจากอาจารย์ผู้สอนไทยที่กำหนดไว้ และศึกษาในระบบ CAI ควบคู่กันไปกับการทำวิทยานิพนธ์ ซึ่งอาจมีอาจารย์ที่ปรึกษาไทยและแคนาดา
| |
| นักศึกษาไทยที่ได้รับการคัดเลือกแต่ละคนจะได้รับทุนการศึกษามหาวิทยาลัยที่เป็นเครือข่ายและ Royal Roads University, RRU เป็นเวลา 2 ปีการศึกษา จำนวน $ 13,000 Cdn ซึ่ง RRU จะหักเป็นส่วนลด (ส่วนลดในปีแรกจะได้รับทุน $ 8,000 Cdn และปีที่สองได้รับทุน $ 5,000 Cdn) ซึ่งส่วนลดนี้จะนำไปหักจากค่าเล่าเรียนปกติ ซึ่งปกติปีแรกจะต้องเสียค่าธรรมเนียมในการเรียนประมาณ $ 16,000 Cdn และปีที่สองจะต้องเสียค่าธรรมเนียม $ 12,800 Cdn โดยสรุปนักศึกษาจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนเมื่อหักทุนจาก RRU แล้วปีที่หนึ่งเป็นเงิน ประมาณ 8,000 Cdn และในปีที่สอง 7,800 Cdn รวมทั้งสิ้นประมาณ 15,800 Cdn (ไม่รวมค่าใช้จ่ายในการเดินทางในและต่างประเทศ ค่าอาหาร และค่าที่พัก (1 เหรียญแคนาดาประมาณ 33 บาท ตามอัตราแลกเปลี่ยน)
| |
| | |
| '''เกณฑ์การใช้ภาษาอังกฤษ'''
| |
| ภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาหลักที่ใช้ในการเรียนการสอนและการติดต่อสื่อสารในโครงการ ผู้สมัครจะต้องมีความรู้ความสามารถในการเขียนและพูดภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นคุณสมบัติในการสมัคร โดยผู้สมัครสามารถแสดงความสามารถในการใช้ภาษาโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ดังต่อไปนี้
| |
| -TOEFL : 550 (ทดสอบด้วยกระดาษทดสอบ) 233 (ทดสอบด้วยคอมพิวเตอร์)
| |
| -Canadian (Carleton) Academic English Language Assessment : คะแนนรวม 60 คะแนน โดยมีคะแนนความสามารถในการเขียน 60 คะแนน
| |
| -Michigan English Language Assessment Battery : 82
| |
| -International English Language Testing Services : คะแนนรวม 7.0 โดยไม่มีคะแนนที่น้อยกว่า 6.5
| |
| -York English Language Test : 5
| |
| -CanTEST : การอ่านและการฟัง 4.5 การเขียน 4.0
| |
|
| |
| '''เอกสารประกอบและวิธีการสมัครเรียน'''
| |
| | |
| 1.กรอกใบสมัครซึ่งสามารถ Download ได้ที่ http://www.royalroads.ca/admissions/apply/
| |
| หรือที่ www.royalroads.ca หรือ www.kpi.ac.th และส่งใบสมัครตรงไปยัง Royal Roads University โดยตรง และสำเนาเอกสารถึงสถาบันพระปกเกล้า ภายใน 31 กรกฏาคม 2551
| |
| 2.ค่าสมัคร 200 เหรียญแคนาดา ส่งไปพร้อมใบสมัคร
| |
| 3.หนังสือรับรอง 2 คน โดยส่งตรงไปยังมหาวิทยาลัย Royal Roads
| |
| 4.ใบรับรองผลการศึกษาสำเร็จปริญญาตรี (Transcripts) สาขาใดก็ได้
| |
| 5.เขียนเหตุผลอธิบายว่าทำไมต้องการศึกษาในหลักสูตรนี้จำนวน 3-4 หน้า เป็นภาษาอังกฤษ
| |
| | |
| หลักสูตรนี้เปิดรับสมัครตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครเรียนหลักสูตรปริญญาโทด้านการวิเคราะห์และการบริหารความขัดแย้ง สามารถสอบถามและขอรายละเอียดได้ที่ สำนักสันติวิธีและ
| |
| ธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า โทรศัพท์ 0 – 2527 – 7830 – 9 ต่อ 2402 หรือ 2408 โทรสาร 0 – 2527 – 7819 หรือ www.kpi.ac.th หรือ ณ มหาวิทยาลัยเครือข่ายข้างต้น
| |
| ----
| |
| | |
| '''ประกาศสถาบันพระปกเกล้า เรื่อง รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าเป็นนักศึกษา หลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 12'''
| |
| | |
| ตามที่สถาบันพระปกเกล้าได้กำหนดให้มีการศึกษาหลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 12 และได้ดำเนินการรับสมัคร และคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้ารับการศึกษาในหลักสูตรดังกล่าวนั้น
| |
| | |
| บัดนี้ สถาบันพระปกเกล้าได้ดำเนินการคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่สถาบันกำหนดไว้เรียบร้อยแล้ว และในคราวประชุม ครั้งที่ 5/2551 เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2551 สภาสถาบันพระปกเกล้า มีมติเห็นชอบรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าเป็นนักศึกษาหลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 12
| |
| | |
| '''[[มีรายชื่อดังต่อไปนี้]]'''
| |
| | |
| '''[[กำหนดการรายงานตัว]]'''
| |
| | |
| '''[[กำหนดการปฐมนิเทศน์]]'''
| |
| | |
| | |
| ----
| |
| | |
| เปิดรับสมัครหลักสูตร ผู้นำการเมืองยุคใหม่ รุ่นที่ 5 สำหรับนักการเมืองระดับชาติและระดับท้องถิ่น ผู้บริหารพรรคการเมือง นักวิชาการ ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ นายทหาร ตำรวจ ผู้นำภาครัฐและผู้นำภาคเอกชน
| |
| | |
| ระยะเวลาในการศึกษา เดือนกรกฎาคม 2551 – มกราคม 2552 (เรียนทุกวันพฤหัสบดี ระหว่างเวลา 09.00 – 16.00 น. ณ สถาบันพระปกเกล้า นนทบุรี)
| |
| | |
| กำหนดการรับสมัคร ขอรับใบสมัครได้ที่ สถาบันพระปกเกล้าหรือดาวน์โหลด จาก www.kpi.ac.th ได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
| |
| | |
| กำหนดยื่นใบสมัคร ตั้งแต่วันที่ 1-30 พฤษภาคม 2551 ณ สถาบันพระปกเกล้า
| |
| | |
| แจ้งผลการคัดเลือก 16-17 มิถุนายน 2551
| |
| | |
| วันเปิดการศึกษาและปฐมนิเทศ วันที่ 11-12 กรกฎาคม 2551
| |
|
| |
| ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม
| |
| | |
| [[ใบสมัคร เป็น WORD ]]
| |
| | |
| [[ใบสมัคร เป็น PDF]]
| |
| | |
| [[คู่มือหลักสูตร PDF]]
| |
| | |
| (ถ้ามีปัญหาในการดาวน์โหลดไฟล์ติดต่อ อโนชา 02-5277830-9 ต่อ 2997)
| |
| | |
| ติดต่อขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทาง www.kpi.ac.th หรือวิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า อาคารศูนย์สัมมนา 3 ชั้น 5
| |
| สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน 47/101 หมู่ 4 ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ. นนทบุรี 11000
| |
| โทรศัพท์ 0-2527-7830-9 ต่อ 2505-8
| |
| | |
| | |
| (เข้ารับการฝึกอบรมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย)
| |
| | |
| | |
| ----
| |
| | |
| '''[[Mr. Roland White, Senior Institutional Development Specialist จากธนาคารโลก (World Bank)]]''' จะมาบรรยายพิเศษในหัวข้อ '''"ปัจจัยสำคัญสำหรับแผนการเงินการคลังระหว่างหน่วยงานรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพในระบบกระจายอำนาจ"''' (Nuts and bolts of an effective intergovernmental fiscal framework for a decentralized system)
| |
| การบรรยายดังกล่าวจะมีขึ้นในวันอังคารที่ 8 พฤษภาคม 2551 เวลา 10.00 -12.00 น. ณ ห้องประชาธิปก สถาบันพระปกเกล้า
| |
| | |
| ขอเชิญผู้ที่สนใจทุกท่านเข้าร่วมฟังบรรยายดังกล่าว ณ วันและเวลาข้างต้นค่ะ
| |
| | |
| หมายเหตุ ใช้ภาษาอังกฤษในการบรรยาย มีล่ามแปลตลอดการบรรยาย
| |
| | |
| ----
| |
| | |
| สถาบันพระปกเกล้าโดยวิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น ร่วมกับ เทศบาลตำบลริมปิง '''กำหนดการอบรมหลักสูตร “พลเมืองยุคใหม่”'''ในวันที่ 28 ถึง 29 เมษายน 2551 ณ เทศบาลตำบลริมปิง อ.เมือง จังหวัดลำพูน
| |
| วันที่ 28 เมษายน 2551 ลงทะเบียนเวลา 08.30 น.
| |
| 09.00 น.'''พิธีเปิดโครงการฯ''' โดย ''นายเอนก มหาเกียรติคุณ '' นายกเทศมนตรีตำบลริมปิง
| |
| ชี้แจงภาพรวมหลักสูตรพลเมืองยุคใหม่
| |
| บรรยายเรื่อง '''“สิทธิหน้าที่ของประชาชน”''' ''โดย อาจารย์รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท''
| |
| ช่วงบ่าย บรรยายเรื่อง '''“การอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์”''' ''โดย พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ''
| |
| | |
| วันที่ 29 เมษายน 2551 ลงทะเบียน
| |
| 09.00 บรรยายเรื่อง '''“ความรู้เบื้องต้นด้านการปกครองท้องถิ่น”'''''โดย ผศ.ดร.อรทัย ก๊กผล''13.00 บรรยายเรื่อง '''“การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น”''' โดย อาจารย์ไพบูลย์ โพธิ์สุวรรณ
| |
| 16.15 น.'''พิธีมอบใบรับรองผ่านการอบรม''' ''โดย ผศ.ดร.อรทัย ก๊กผล '' ผู้อำนวยการวิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น
| |
| (เอกชัย รายงาน)
| |
| | |
| ----
| |
| | |
| | |
| '''กำหนดการนำเสนอแผนพัฒนาประชาธิปไตย'''
| |
| ''เรื่อง “แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการพัฒนาประชาธิปไตย :'' '''''''''การจัดทำเกณฑ์เปรียบเทียบกับประเทศเกาหลีใต้ และมาเลเซีย”'''หลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 11 (ปปร.11)
| |
| วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
| |
| วันพุธที่ 30 เมษายน 2551 เวลา 13.30 – 16.00 น.
| |
| ณ หอประชุมใหญ่ กรมประชาสัมพันธ์ ซอยอารีย์สัมพันธ์ ถนนพระราม 6
| |
| (มีการถ่ายทอดสด NBT และถ่ายทอดเสียงสถานีวิทยุกรมประชาสัมพันธ์ ตั้งแต่ 13.30)
| |
| | |
| 13.00 ลงทะเบียนรับเอกสาร เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กล่าวรายงานต่อประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า
| |
| ประธานนักศึกษา ป.ป.ร.11 แนะนำแผนพัฒนาประชาธิปไตยของนักศึกษาฯ พร้อมนำเสนอ VTR เกี่ยวกับประเทศเกาหลีใต้ มาเลเซีย และไทย ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความคาดหวังของประเทศไทยในสายตานักศึกษาฯ ทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และมีผู้วิจารณ์
| |
| พร้อมเปิดเวทีสำหรับสาธารณะในการตั้งคำถามและตอบคำถาม
| |
| (เอกชัยรายงาน)
| |
| | |
| | |
| ----
| |
| | |
| '''ข่าวจากประชาสัมพันธ์สถาบันฯ'''
| |
| | |
| ขณะนี้มีการเปิดรับสมัครหลักสูตรต่างๆในสถาบันพระปกเกล้า
| |
| ''' [[หลักสูตรธรรมาภิบาล]]''' สำหรับผู้บริหารระดับกลาง รุ่นที่ 7-8 ถึง 20 เมษายน(คุณยะราพร/คุณอังคณา)
| |
| | |
| ----
| |
| | |
| '''[[หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รุ่นที่ 12]] วิทยาลัยการเมืองการปกครอง'''ถึง 21 เมษายน(คุณชาคริต/คุณชูเกียรติ)
| |
| | |
|
| |
| | |
| ตารางเวลาการคัดเลือกนักศึกษา
| |
| หลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 12
| |
| | |
| วิทยาลัยการเมืองการปกครองได้กำหนดตารางเวลาการคัดเลือกนักศึกษา หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 12 ดังนี้
| |
| | |
| กิจกรรม วัน เวลา
| |
| ประชาสัมพันธ์ทั่วไป 10 มีนาคม 2551
| |
| รับสมัคร 18 มีนาคม – 21 เมษายน 2551(ในวัน และเวลาราชการ)
| |
| ประกาศ และแจ้งผลการคัดเลือก 6 พฤษภาคม 2551
| |
| นักศึกษารายงานตัว 12 – 16 พฤษภาคม 2551
| |
| พิธีวางพวงมาลาพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ รัฐสภา และเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ 30 พฤษภาคม 2551
| |
| พิธีเปิดหลักสูตรและปฐมนิเทศ 6 – 8 มิถุนายน 2551
| |
| | |
| | |
| ----
| |
| | |
| '''[[หลักสูตรการยกระดับการให้บริการสาธารณะ]] รุ่นที่ 6''' วิทยาลัยการเมืองการปกครอง รับถึง 27 มิ.ย.51(คุณอภิญญา/คุณจิตตินันท์)
| |
| | |
| ----
| |
| | |
| สถาบันฯจัด'''โครงการพลเมืองยุคใหม่ ครั้งที่ 2/51''' ที่หางดง เชียงใหม่ ในวันที่ 3-4 เม.ย.51(คุณสุมามาลย์)
| |
| | |
| ----
| |
| | |
| สถาบันจัด'''โครงการพลเมืองยุคใหม่ ครั้งที่ 3/51''' จัดให้มีขึ้นที่ จ.พิษณุโลก ในวันที่ 17-18 เม.ย.51คุณสุมามาลย์)
| |
| | |
| ----
| |
| | |
| เปิด'''[[หลักสูตรธรรมาภิบาล]]สำหรับผู้บริหารกระทรวงอุตสาหกรรม'''ในวันที่ 18-20 เม.ย.51 ที่พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว(คุณณัฐพงศ์)
| |
| | |
| ----
| |
| | |
| เปิด'''หลักสูตรปลัดตำบล''' ในวันที่ 21-23 เม.ย.51/28 เม.ย.-1 พค.51 ณ ห้องประชาธิปกสถาบันพระปกเกล้า(คุณภควัต)
| |
| | |
| ----
| |
| | |
| จัด'''โครงการเวทีท้องถิ่น ครั้งที่ 3/51'''ในวันที่ 24 เม.ย.51 ณ รร.รอยัลปริ๊นเซสหลานหลวง(คุณธนิษฐา)
| |
| | |
| ----
| |
|
| |
| จัด'''โครงการพลเมืองยุคใหม่ ครั้งที่ 4/51''' ในวันที่ 28-29 เม.ย.51 ณ จังหวัดลำพูน(คุณสุมามาลย์)
| |
| | |
| | |
| ----
| |
| '''คณะทำงานวันสถาปนาสถาบันพระปกเกล้า'''
| |
| ได้จัดทำสติ๊กเกอร์วันครบรอบ 10 ปี สถาบันพระปกเกล้า เพื่อเป็นการเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ สถาบันฯ
| |
| โดยขอความร่วมมือทุกท่านช่วยสนับสนุน และเผยแพร่ ให้กับนักศึกษาสถาบันพระปกเกล้าและผู้ที่สนใจทั่วไป
| |
| โดยรายได้จากการจัดจำหน่ายสมทบเข้ากองทุนสวัสดิการพนักงาน จัดจำหน่ายแผ่นละ 10 บาท โดยท่านสามารถติดต่อประสานงานได้ที่ คุณสุรชัย เนื่องนิยม (หนึ่ง) ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
| |
| | |
| ----
| |
| '''สถาบันพระปกเกล้าประกาศรับสมัครบุคลากรทั่วไป''' เพื่อคัดเลือกพนักงานเข้าร่วมงานกับสถาบันฯ ด้วยการสอบแข่งขันเป็น'''พนักงานปฏิบัติการวิชาชีพและปฏิบัติการทั่วไป จำนวน 9 ตำแหน่ง (21 อัตรา)''' ตั้งแต่วันที่ 4 - 30 เมษายน 2551 โดยได้ประกาศทางเว็บไซต์ของสถาบัน(http://www.kpi.ac.th/)และสื่อต่าง ๆ ใคร่ขอั๖ฒมาไม หรือะดข้อซักถาม สามารถถามมาได้
| |
| | |
| '''สำหรับตำแหน่งพนักงานวิชาการและวิจัย''' ซึ่งจะใช้วิธีการสอบคัดเลือก โดยเลือกจากบัญชีรายชื่อของ สำนักงาน ก.พ. กระทรวงการต่างประเทศ และรายชื่อบุคคลที่มีประสบการณ์ในทางวิชาการที่สนใจเข้ามาปฏิบัติงานรวมถึงพนักงานของสถาบันพระปกเกล้า)ด้วย จะได้ประกาศตำแหน่งงานที่เปิดรับสมัคร วิธีการและขั้นตอนในการดำเนินการต่าง ๆ ให้ทุกท่านทราบ ในโอกาสต่อไป
| |
| | |
| | |
| ----
| |
| | |
| '''การบรรยาย ของหลักสูตรประกาศนียบัตรนักเจรจาไกล่เกลี่ย รุ่นที่ 3'''
| |
| ในวันศุกร์ที่ 4 เมษายน 2551 ห้องประชุม 3310 เวลา 09.00 ในหัวข้อเรื่อง '''ประสบการณ์การเจรจาไกล่เกลี่ยทางการแพทย์''' ''โดย ศ.พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ (ประธานเครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่)''และ 10.30 มีการบรรยายร่วม หัวข้อเรื่อง '''ระบบรับเรื่องร้องเรียนในสถานพยาบาล : พี่น้องเล่าสู่กันฟัง''' ''โดย นางวันดี สำราญราษฎร์'' (พยาบาลวิชาชีพ 7(งานผู้ป่วยนอก)
| |
| | |
| ----
| |
| '''ความก้าวหน้าโครงการศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร ถนนแจ้งวัฒนะ สถานที่ตั้งแห่งใหม่ของสถาบันพระปกเกล้า'''
| |
| | |
| จากการประชุมร่วมกัน 6 หน่วยงานสภาที่ปรึกษาฯ, สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน, สปสช., กระทรวง ICT, เป็นต้น)เมื่อวันอังคารที่ 29 มกราคม 2551 ณ ห้องประชุมสำนักงาน ธพส. ชั้น 1 อาคาร 19 ปี กสท.(แจ้งวัฒนะ)สรุปสาระได้ดังนี้
| |
| | |
| ความก้าวหน้าของโครงการเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้ ได้ข้อสรุปว่าเฟอร์นิเจอร์ที่จัดให้หน่วยงาน รับประกันเพิ่มเป็น 5 ปี,
| |
| | |
| คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ จะเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท (ร.ม.-การจัดการทรัพยากรบุคคล; และร.ม.-การบริหารงานภาครัฐ) โดยคิดค่าหลักสูตรให้กับบุคคลในศูนย์ราชการฯ ด้วยราคาพิเศษ
| |
| | |
| ธพส. ขอให้หน่วยงานดำเนินการตั้งคณะทำงานการย้ายเข้าอาคาร และแจ้งรายชื่อผู้ประสานงานการย้ายเข้าอาคาร
| |
| | |
| ต้องดำเนินการจัดหาบริษัทเพื่อดำเนินการขนย้ายครุภัณฑ์ของหน่วยงานที่จะนำมาใช้ต่อ เช่น โต๊ะ ตู้เก็บเอกสาร ฯลฯ และให้วางแผนการย้ายเข้าอาคารโดยประเมินจำนวนวันในการขนย้าย สำหรับการขนย้ายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์นั้น ทางทีโอทีอาจจะแนะนำบริษัทให้หรือทีโอทีอาจจะหาคนมาช่วยย้ายให้
| |
| | |
| แผนผังการวางระบบไฟฟ้า เอวี ห้องเซิฟเวอร์ จะส่งให้ล่วงหน้า หลังจากเราได้ Floor Plan ของสถาบันกลับมาจะดำเนินการต่อไป
| |
| | |
| หน่วยงานใดต้องการให้บริษัทที่จัดทำเฟอร์นิเจอร์ในโครงการผลิตตู้ โต๊ะให้เพิ่มเติม หน่วยงานนั้นก็จะได้ในราคาเดียวกันกับของโครงการด้วย หรือจะขอเพิ่มจาก ธพส.ก็ได้คิดค่าเช่าเพิ่ม)
| |
| | |
| หน่วยงานไหนที่มีห้องประชุมที่ตกลงกันไว้ก่อนแล้วว่าจะมี หน่วยงานนั้นต้องเป็นผู้จัดหาอุปกรณ์เครื่องเสียงเอง
| |
| | |
| สำหรับเรื่อง'''คมนาคม''' การเดินทางต่าง ๆ ตอนนี้ดำเนินการได้เรียบร้อยแล้วตามที่เคยแจ้งไว้ '''ธนาคารพาณิชย์''' จะมีให้บริการทั้งหมด 6 แห่ง แต่คาดว่าน่าจะมีครบทั้งหมดในเร็ว ๆ นี้ '''สถานพยาบาล'''ในอาคาร ทางสปสช.รับไปประสานให้
| |
| | |
| จะมีการประชุมในลักษณะนี้ทุกเดือนเพื่อให้การย้ายอาคารเป็นไปอย่างราบรื่น
| |
| ผู้แทนจาก ทีโอที ได้แจ้งว่าหน่วยงานไหนที่ต้องการเบอร์สวย ทางทีโอทีได้จัดเตรียมไว้ให้อย่างเพียงพอ
| |
| หน่วยงานใดที่ใช้เลขหมายโทรศัพท์ของทีโอทีอยู่แล้วในขณะนี้ ช่วงที่ดำเนินการย้ายสถานที่ จะจัดบริการโอนจากเลขหมายเก่ามาเลขหมายใหม่ให้ 2 เดือน ต่อจากนั้น จะทำระบบ IBR ซึ่งจะแจ้งให้ผู้ติดต่อต้องหมุนหมายเลขใหม่ให้
| |
| | |
| ทีโอที จะจัดบริการฟรี Web Hosting คือนำเว็บไซต์ของหน่วยงานมาฝากในช่วงที่ดำเนินการย้ายสถานที่จนกว่าจะเรียบร้อย
| |
| | |
| ทีโอที ได้รับเอกสิทธิแต่ผู้เดียวสำหรับโทรศัพท์พื้นฐาน แต่หากหน่วยงานใดต้องใช้บริการเครือข่ายหรือเน็ตเวิร์คอื่น ๆ สามารถดำเนินการได้ตามเดิม แต่ทีโอทีมีนโยบายให้ใช้บริการของทีโอที หากมีปัญหาเรื่องค่าใช้บริการ สามารถต่อรองกันได้
| |
| | |
| ทีมงานทีโอทีจะเข้ามาหารือเรื่อง ICT ของสถาบันประมาณเดือนหน้าซึ่งจะเกี่ยวกับความต้องการใช้งานของสถาบันทั้งโทรศัพท์และระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย และจะต้องวางแผนการดำเนินงานตามขั้นตอนต่าง ๆ (เบญจมาศ)
| |
| | |
| ----
| |
| | |
| '''ขอเชิญร่วมสมัคร! รางวัลพระปกเกล้า ประจำปี 2551สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
| |
| ขยายเวลารับสมัครถึง 25 เมษษยนนี้'''
| |
| | |
| | |
| '''วัตถุประสงค์'''
| |
| | |
| '''สถาบันพระปกเกล้า'''
| |
| | |
| ในฐานะเป็นหน่วยงานอิสระของรัฐในกำกับของรัฐสภา มีพันธกิจด้านการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาระบบการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานที่มั่นคงของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย จึงได้จัดให้มีการมอบรางวัลพระปกเกล้า และใบประกาศเกียรติคุณสถาบันพระปกเกล้า สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนขึ้นเป็นประจำทุกปี ตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา โดยวัตถุประสงค์ของการมอบรางวัลฯนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ตระหนักถึงความสำคัญของหลักธรรมาภิบาลในการปกครองท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักความโปร่งใสในการบริหารงานและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
| |
| | |
| ทั้งนี้ การมอบรางวัลฯ และใบประกาศเกียรติคุณฯแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศและผ่านเกณฑ์การประเมิน ประจำปี 2551 จะจัดให้มีขึ้นในวันที่ 5 กันยายน 2551 ซึ่งเป็นวันสถาปนาสถาบันพระปกเกล้า
| |
| | |
| | |
| '''หลักเกณฑ์การให้รางวัลพระปกเกล้า'''
| |
| | |
| การให้รางวัลพระปกเกล้าแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความโปร่งใสในการบริหารงานและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน แบ่งเป็น 2 ระดับคือ
| |
| โล่ห์รางวัลพระปกเกล้า และใบประกาศเกียรติคุณฯ
| |
| มอบให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ คณะกรรมการฯ พิจารณาเห็นแล้วว่า มีความเป็นเลิศ ในการบริหารงานด้วยความโปร่งใส และส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น
| |
| | |
| | |
| '''ใบประกาศเกียรติคุณสถาบันพระปกเกล้า'''
| |
| | |
| มอบให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ คณะกรรมการฯ พิจารณาเห็นแล้วว่า สมควรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ ในด้านความโปร่งใสในการบริหารงานและส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชน
| |
| | |
| | |
| '''หลักในการประเมินความโปร่งใสในการบริหารงานและการมีส่วนร่วมของประชาชน'''
| |
| | |
| ความโปร่งใสในการบริหารงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับนโยบาย การดำเนินงาน กิจกรรม และโครงการต่าง ๆ ให้แก่ประชาชนในท้องถิ่นอย่างทั่วถึง ประชาชนในท้องถิ่นได้รับทราบข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ อย่างถูกต้อง และตระหนักถึงความจำเป็นในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลการตรวจสอบทางด้านการเงินการคลังของหน่วยตรวจสอบภายนอกไม่พบถึงปัญญาการทุจริตหรือการดำเนินการที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ราชการในรอบปีที่ผ่านมา
| |
| ในวาระการดำรงตำแหน่งของคณะผู้บริหารชุดปัจจุบันไม่มีประวัติว่ามีเรื่องร้องเรียนที่มีการตรวจสอบแล้วว่ามีมูลความผิดจริง
| |
| | |
| | |
| '''การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน'''
| |
| | |
| องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลุ่ม หรือองค์กรชุมชนที่ผลักดันให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชนในท้องถิ่นมีการร่วมคิด ร่วมรับรู้ และร่วมตัดสินใจในการดำเนินงานและการตรวจสอบการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านต่าง ๆ
| |
| | |
| | |
| '''ความเชื่อถือไว้วางใจของสาธารณชน'''
| |
| | |
| ประชาชนในท้องถิ่นให้ความเชื่อถือไว้วางใจในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นว่าไม่มีการทุจริตหรือแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ
| |
| ประชาชนในท้องถิ่นยินดีให้ความร่วมมือ และสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม โครงการ และนโยบายต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
| |
| ประชาชนในท้องถิ่นมีทัศนคติที่ดีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นว่ามีการดำเนินงานที่โปร่งใสและมีความยุติธรรม ปราศจากการใช้อิทธิพลหรืออำนาจนอกรูปแบบ
| |
| ประชาชนในท้องถิ่นมีความพึงพอใจต่อบริการที่จัดให้โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
| |
| การประเมินผลของคณะกรรมการ
| |
| | |
| | |
| '''คณะนักวิจัยทำการสำรวจข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสารการสมัครเข้าร่วมโครงการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกรอบและเกณฑ์ที่คณะกรรมการฯ กำหนดไว้'''
| |
| | |
| โดยประเมินจากผลงานในรอบปีงบประมาณ 2550 ที่ผ่านมา (1 ตุลาคม 2549 ถึง 30 กันยายน 2550)
| |
| คณะนักวิจัยทำการสำรวจข้อมูลในพื้นที่จริงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้แบบสอบถาม และการสนทนากลุ่ม กับประชาชนและองค์กร/ กลุ่มต่างๆ ในพื้นที่
| |
| คณะกรรมการฯ ทำการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์การประเมินด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งสมควรได้รับรางวัลพระปกเกล้า ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน พร้อมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณสถาบันพระปกเกล้าในฐานะที่ผ่านเกณฑ์การประเมินด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนตามมาตรฐานที่คณะกรรมการฯ กำหนดไว้
| |
| องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ สามารถติดต่อขอรับใบสมัคร และสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่
| |
| | |
| | |
| '''วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า'''
| |
| | |
| 47/101 หมู่ 4 ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
| |
| โทรศัพท์ 02-527-7830-9 ต่อ 1505, 1602, 2502
| |
| โทรสาร 02-968-9144
| |
| | |
| กำหนดรับสมัคร ตั้งแต่ วันนี้ ถึง วันที่ 16 เมษายน 2551
| |
|
| |
| เอกสารดาวน์โหลด
| |
| เอกสารประชาสัมพันธ์โครงการ
| |
| ใบสมัครของ อบจ.
| |
| ใบสมัครของ เทศบาล และ อบต.
| |
|
| |
| “การสมัครเข้าร่วมโครงการนี้ ไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น”
| |
| | |
| ----
| |
| | |
| '''สำนักงานสภาพัฒนาการเมือง'''
| |
| | |
| เป็นหน่วยงานอิสระในสถาบันพระปกเกล้า จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง พ.ศ. 2551 มีภารกิจในการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ รวมทั้งดำเนินการส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้มแข็งในทางการเมือง มีความประสงค์รับสมัครผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ เข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งต่าง ๆ จำนวน 16 ตำแหน่ง ดังนี้
| |
| | |
| | |
| '''นักวิชาการ ทางด้านสังคมศาสตร์ (2 ตำแหน่ง)'''
| |
| | |
| คุณสมบัติ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเอก ทางรัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นิติศาสตร์ (กฎหมายมหาชน) เศรษฐศาสตร์การเมือง หรือสาขาสังคมศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
| |
| | |
| มีความสามารถและประสบการณ์ในการวิจัยทางการเมืองการปกครองหรือกฎหมายมหาชน ไม่น้อยกว่า 2 ปี มีความสามารถในการจัดทำแผนพัฒนาการเมือง มีความสนใจทำงานด้านส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง งานส่งเสริมความเข้มแข็งทางการเมืองของประชาชน การประสานงานเครือข่ายและการมีส่วนร่วม
| |
| | |
| | |
| '''พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน (1 ตำแหน่ง)'''
| |
| | |
| คุณสมบัติ 1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือโท ทางรัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นิติศาสตร์ (กฎหมายมหาชน) เศรษฐศาสตร์การเมือง หรือสาขาสังคมศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
| |
| | |
| มีความสามารถในการวางแผนและวิเคราะห์นโยบาย การจัดทำแผนงาน งานติดตามและประเมินผล หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หากมีประสบการณ์จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
| |
| | |
| | |
| '''พนักงานกฎหมาย (2 ตำแหน่ง)'''
| |
| | |
| คุณสมบัติ
| |
| สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือโททางนิติศาสตร์หรือสาขากฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
| |
| มีความสามารถในการวางระบบงานกฎหมาย งานวิเคราะห์กฎหมาย การจัดทำกฎระเบียบ หลักเกณฑ์ ข้อบังคับ หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หากมีประสบการณ์จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
| |
| | |
| | |
| '''พนักงานวิเทศสัมพันธ์ (1 ตำแหน่ง)'''
| |
| | |
| คุณสมบัติ
| |
| สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือโทรัฐศาสตร์ (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) อักษรศาสตร์ มนุษยศาสตร์ หรือสาขาด้านภาษาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
| |
| มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในระดับดีมาก
| |
| มีความสามารถในการประสานงานด้านการต่างประเทศ งานสร้างเครือข่ายกับต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หากมีประสบการณ์จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
| |
| | |
| | |
| '''พนักงานประชาสัมพันธ์ (1 ตำแหน่ง)'''
| |
| | |
| คุณสมบัติ
| |
| สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือโททางนิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์สื่อสารมวลชน มนุษยศาสตร์ หรือสาขาด้านการประชาสัมพันธ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
| |
| มีความสามารถในการวางแผนและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ งานผลิตและจัดทำสื่อต่างๆ งานเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคประชาสังคม หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หากมีประสบการณ์จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
| |
| | |
| | |
| '''พนักงานคอมพิวเตอร์ (1 ตำแหน่ง)'''
| |
| | |
| คุณสมบัติ
| |
| สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือโททางคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือสาขาด้านคอมพิวเตอร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
| |
| มีความสามารถในการวางระบบและบริหารงานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร การจัดทำเว็บไซต์และการจัดทำฐานข้อมูล หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หากมีประสบการณ์จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
| |
| | |
| | |
| '''พนักงานบริหารทั่วไป (5 ตำแหน่ง)'''
| |
| | |
| คุณสมบัติ
| |
| สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือโททางรัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นิติศาสตร์ (กฎหมายมหาชน) เศรษฐศาสตร์การเมือง หรือสาขาสังคมศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
| |
| มีความสามารถในงานบริหารและประสานงานทั่วไป งานธุรการสำนักงาน งานสารบรรณ งานบริหารการประชุมและบริหารโครงการ หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หากมีประสบการณ์จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
| |
| | |
| | |
| '''พนักงานบัญชี (1 ตำแหน่ง)'''
| |
| | |
| คุณสมบัติ
| |
| สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางบัญชีหรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องซึ่งได้ศึกษาวิชาบัญชีไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
| |
| มีความสามารถในการวางระบบงานบัญชี การตรวจสอบบัญชี การบริหารกองทุน การจัดทำรายงานการเงิน การเสนอความเห็นหรือคำแนะนำทางการบัญชี หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หากมีประสบการณ์จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
| |
| | |
| | |
| '''พนักงานการเงิน (1 ตำแหน่ง)'''
| |
| | |
| คุณสมบัติ
| |
| สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางพาณิชยศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ บริหารรัฐกิจ (การคลัง) บริหารธุรกิจ (การเงิน) หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
| |
| มีความสามารถในการวางระบบงานการเงิน การบริหารกองทุน การจัดทำและตรวจสอบรายงานทางการเงิน หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หากมีประสบการณ์จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
| |
| | |
| | |
| '''พนักงานโสตทัศนศึกษา (1 ตำแหน่ง)'''
| |
| | |
| คุณสมบัติ
| |
| สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางสังคมศาสตร์ วิชาเอกโสตทัศนศึกษา หรือได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทางช่างไฟฟ้า ช่างภาพ ช่างอิเล็คโทรนิคส์ วิจิตรศิลป์ ศิลปะประยุกต์ ศิลปกรรม หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
| |
| มีความสามารถในการออกแบบงานศิลป์ประเภทต่างๆ การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ การควบคุมและดูแลการใช้โสตทัศนูปกรณ์ต่างๆ หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หากมีประสบการณ์จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
| |
| | |
| | |
| '''หมายเหตุ'''
| |
| | |
| ผู้สมัครทุกตำแหน่งต้องมีสัญชาติไทยเท่านั้น
| |
| ผู้สมัครสามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับตำแหน่งได้
| |
| | |
| | |
| '''ผู้ที่ผ่านการทดสอบทางวิชาการจะต้องยื่นคะแนนการสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ(CU-TEP)ของศูนย์ทดสอบทางวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย'''
| |
| | |
| เพื่อใช้ประกอบการสอบสัมภาษณ์ โดยคะแนนสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CU-TEP) ต้องมีอายุไม่เกิน 1 ปี (บุคคลที่มีคะแนนสอบเกิน 1 ปีหรือยังไม่ได้ทดสอบสามารถลงทะเบียนสอบออนไลน์ครั้งที่ 5/2008 ระหว่างวันที่ 2-10 เมษายน 2551 ได้ทาง www.atc.chula.ac.th และสอบวันที่ 4 พฤษภาคม 2551)
| |
| | |
| อัตราเงินเดือนปริญญาตรีขั้นต่ำ 13,000 บาท ปริญญาโทขั้นต่ำ 20,170 บาท ยกเว้นตำแหน่งนักวิชาการ อัตราเงินเดือนปริญญาโทขั้นต่ำ 25,000 บาท ปริญญาเอกขั้นต่ำ 35,000 บาท
| |
| | |
| | |
| '''ผู้สนใจ สามารถดูรายละเอียดของแต่ละตำแหน่งงานเพิ่มเติมในเว็ปไซต์ของสถาบันพระปกเกล้า (www.kpi.ac.th)'''
| |
| | |
| หรือสอบถามทางโทรศัพท์หมายเลข 0-2280-6371-5 ต่อ 213 – 220 และสามารถติดต่อซื้อใบสมัครได้ที่สำนักงานสภาพัฒนาการเมืองหรือสถาบันพระปกเกล้า ระหว่างวันที่ 28 มีนาคม – 18 เมษายน 2551 เวลา 09.00 – 12.00 น. และเวลา 13.00 – 16.00 น. เว้นวันหยุดราชการ หรือดาวน์โหลดใบสมัครทางเว็ปไซต์ และยื่นใบสมัครด้วยตนเองหรือส่งทางไปรษณีย์ พร้อมค่าใบสมัครชุดละ 100 บาท โดยส่งธนาณัติ/ตั๋วแลกเงินไปรษณีย์ ในนาม “สำนักงานสภาพัฒนาการเมือง” ภายในวันที่ 18 เมษายน 2551
| |
| | |
|
| |
| '''สำนักงานจะไม่คืนเงินค่าใบสมัครไม่ว่ากรณีใด ๆ ยกเว้นกรณีการสมัครทางไปรษณีย์ หากใบสมัครส่งถึงสำนักงานหลังกำหนด (ดูจากตราประทับไปรษณีย์)'''
| |
| | |
| สำนักงานจะไม่รับสมัคร แต่จะส่งคืนใบสมัครพร้อมทั้งเงินค่าใบสมัคร
| |
| ขั้นตอนและกำหนดการสรรหาคัดเลือกบุคลากร
| |
| ของสำนักงานสภาพัฒนาการเมือง วันดำเนินการ
| |
| 1. ประกาศรับสมัคร / รับสมัคร 28 มี.ค. – 18 เม.ย. 51
| |
| 2. คัดเลือกใบสมัคร 19 – 25 เม.ย. 51
| |
| 3. ประกาศรายชื่อบุคคลที่มีสิทธิ์ทดสอบทางวิชาการที่ป้ายประกาศสำนักงานและเว็บไซต์ 2 พ.ค. 51
| |
| 4. ทดสอบทางวิชาการ 7 พ.ค. 51
| |
| 5. ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการทดสอบทางวิชาการและผู้มีสิทธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์ที่ป้ายประกาศสำนักงานและเว็บไซต์ 21 พ.ค. 51
| |
| 6. สอบคอมพิวเตอร์/สัมภาษณ์ 26 พ.ค. 51
| |
| 7. ประกาศผลสอบสัมภาษณ์ 28 พ.ค. 51
| |
| 8. รายงานตัว 30 พ.ค. 51
| |
| 9. วันเริ่มงาน 2 มิ.ย. 51
| |
| | |
| | |
| '''หลักฐานประกอบการสมัครงาน''' - รูปถ่ายขนาด 1” หรือ 2” จำนวน 2 รูป (ถ่ายมาแล้วไม่เกิน 6 เดือน)
| |
| - สำเนาทะเบียนบ้าน (พร้อมรับรองสำเนา)
| |
| - สำเนาบัตรประชาชน หรือบัตรข้าราชการ (พร้อมรับรองสำเนา)
| |
| - สำเนาปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร และ Transcript (พร้อมรับรองสำเนา)
| |
| - หลักฐานการรับราชการทหาร (ถ้ามี)
| |
| - ถ้ามีประสบการณ์ต้องมีจดหมายรับรองการทำงานในอดีตมาด้วย
| |
| ส่งใบสมัครที่ :สำนักงานสภาพัฒนาการเมือง เลขที่ 2 อาคารรำไพพรรณี ชั้น 2 ถนนหลานหลวง แขวงโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100 โทรศัพท์ 0-2280-6371-5 ต่อ 213-220 โทรสาร 0-2280-6378 ภายในวันศุกร์ที่ 18 เมษายน 2551
| |