ผลต่างระหว่างรุ่นของ "London Bridge is down"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''London Bridge is down''' '''การสวรรคตของ''''''สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบ..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''London Bridge is down'''
'''ผู้เรียบเรียง''' ''':''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิกานต์ มีจั่น


'''การสวรรคตของ''''''สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สอง''''''แห่งสหราชอาณาจักร'''
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ''':''' ดร.สติธร ธนานิธิโชติ


 
 


ศุทธิกานต์ มีจั่น
<span style="font-size:x-large;">'''London Bridge is down'''</span>


'''London Bridge is Down'''&nbsp;หรือ สะพานลอนดอนพังแล้ว เป็นชื่อรหัสลับและแผนรับมือหลังจาก<br/> ที่'''สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สอง'''&nbsp;แห่งสหราชอาณาจักร เสด็จสวรรคด้วยพระชนมายุ 96 พรรษา<br/> โดยประกาศอย่างเป็นทางการจากพระราชวังบัคกิงแฮม&nbsp;เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2022 ตามเวลาท้องถิ่น<br/> ของอังกฤษ โดยพระองค์ทรงครองราชย์มาครบ 70 ปี ทั้งนี้ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถสิ้นพระชนม์ จะมีการดำเนินงานตามพิธีการอย่างเข้มงวดเพื่อให้มีการเตรียมการอำลาครั้งสุดท้าย เพื่อให้มีความมั่นใจได้ถึงความเรียบร้อย ความมั่นคงซึ่งเป็นสัญลักษณ์ภายใต้รัชสมัยของพระนาง
'''<span style="font-size:x-large;">การสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สองแห่งสหราชอาณาจักร</span>'''


'''''ภาพสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และสะพานลอนดอน'''''[[#_ftn1|'''''[1]''''']]
'''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; London Bridge is Down'''&nbsp;หรือ สะพานลอนดอนพังแล้ว เป็นชื่อรหัสลับและแผนรับมือหลังจากที่&nbsp;สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สอง&nbsp;แห่งสหราชอาณาจักร เสด็จสวรรคด้วยพระชนมายุ 96 พรรษา&nbsp;โดยประกาศอย่างเป็นทางการจากพระราชวังบัคกิงแฮม&nbsp;เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2022 ตามเวลาท้องถิ่นของอังกฤษ โดยพระองค์ทรงครองราชย์มาครบ 70 ปี ทั้งนี้ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถสิ้นพระชนม์ จะมีการดำเนินงานตามพิธีการอย่างเข้มงวดเพื่อให้มีการเตรียมการอำลาครั้งสุดท้าย เพื่อให้มีความมั่นใจได้ถึงความเรียบร้อย ความมั่นคงซึ่งเป็นสัญลักษณ์ภายใต้รัชสมัยของพระนาง


&nbsp;
&nbsp;
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และสะพานลอนดอน[[#_ftn1|[1]]]</p>
[[File:London Bridge is down (1).png|center|400px|London Bridge is down (1).png]]


แผนสำหรับดำเนินการเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 สวรรคตแล้ว มีการวางแผนไว้<br/> 3 ช่วงเวลาหลัก ดังนี้
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;


''วันสวรรคต - ''เซอร์ คริสโตเฟอร์ ฌีดต์ (Sir Christopher Geidt) ซึ่งเป็นเลขานุการประจำพระองค์และสมาชิกสภาขุนนาง จะเป็นผู้ติดต่อกับนายกรัฐมนตรีเพื่อแจ้งข่าวสวรรคตของ'''สมเด็จพระราชินีนาถ<br/> เอลิซาเบธที่''''''2 '''แก่นายกรัฐมนตรี ด้วยถ้อยคำว่า “สะพานลอนดอนพังแล้ว” จากนั้นข้าราชบริพารทั้งหลาย<br/> ก็จะแจ้งข้อความ "สะพานลอนดอนพังแล้ว" ต่อ ๆ กันไปผ่านโทรศัพท์ที่มีระบบการป้องกันอย่างแน่นหนา<br/> เพื่อเริ่มดำเนินการตามแผนปฏิบัติการที่เรียกว่า&nbsp;ปฏิบัติการสะพานลอนดอน ('''Operation London Bridge)'''[[#_ftn2|[2]]]'''&nbsp;ซึ่งเป็นการเตรียมดำเนินการขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่แถลงข่าวไปจนถึงการจัดพระราชพิธีไว้อาลัย<br/> และฝังพระศพ&nbsp; จากนั้น ศูนย์ปฏิกิริยาโลก (Global Response Centre) ในสังกัดสำนักต่างประเทศ ซึ่งมีที่ตั้งอันไม่เปิดเผยอยู่ในลอนดอน'''[[#_ftn3|[3]]]'''&nbsp;ไปยังรัฐบาลอีก 15 ประเทศ ที่ควีนทรงเป็นพระประมุขตามด้วยอีก 36 ประเทศ ที่อยู่ในเครือจักรภพอังกฤษ จากนั้นจึงจะมีการแจ้งสื่อมวลชน โดยแถลงต่อสมาคมสื่อ และต่อ ''''''BBC<br/> (the British Broadcasting Corporation) ทางระบบส่งผ่านการแจ้งเตือนทางวิทยุ(Radio Alert Transmission System) รวมถึงต่อสถานีวิทยุอื่น ๆ ผ่านเครือข่าย "ไฟสีฟ้า" (obit light) ซึ่งจะเป็นที่รับทราบของพิธีกรรายการวิทยุว่า ถึงเวลาเปิด "เพลงที่เหมาะสม" และเตรียมเสนอข่าวฉับพลัน จากนั้นสำนักพระราชวังจะประกาศอย่างเป็นทางการ แล้วมีการเรียกประชุมรัฐสภานัดพิเศษ เพื่อให้นายกรัฐมนตรีแถลงการสวรรคตต่อสภาสามัญชน (House of Commons)'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''แผนสำหรับดำเนินการเมื่อ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 สวรรคตแล้ว มีการวางแผนไว้&nbsp;3 ช่วงเวลาหลัก ดังนี้'''


'''''24 ชั่วโมงหลังการสวรรคต -'''''<b>เจ้าชายชาลส์ พระโอรสของสมเด็จพระราชินีผู้ล่วงลับจะทรงประทาน<br/> คำกล่าวแก่ประชาชนทางโทรทัศน์ และสภาสืบราชยสมบับติ (</b>'''Accession Council) จะประชุมกัน<br/> เพื่อประกาศให้เจ้าชายชาลส์ เป็นพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3 ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์องค์ใหม่ที่พระราชวังเซนต์ เจมส์ &nbsp;(St. James's Palace) จากนั้นจะมีการประชุมรัฐสภาเพื่อถวายสัตย์ต่อพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่<br/> และกิจกรรมรัฐสภาทั้งหมดจะถูกระงับเป็นเวลา 10 วัน'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; วันสวรรคต - เซอร์ คริสโตเฟอร์ ฌีดต์ (Sir Christopher Geidt) ซึ่งเป็นเลขานุการประจำพระองค์และสมาชิกสภาขุนนางจะเป็นผู้ติดต่อกับนายกรัฐมนตรีเพื่อแจ้งข่าวสวรรคตของ&nbsp;สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2&nbsp;แก่นายกรัฐมนตรี ด้วยถ้อยคำว่า '''“สะพานลอนดอนพังแล้ว”''' จากนั้นข้าราชบริพารทั้งหลายก็จะแจ้งข้อความ '''"สะพานลอนดอนพังแล้ว"''' ต่อ ๆ กันไปผ่านโทรศัพท์ที่มีระบบการป้องกันอย่างแน่นหนา&nbsp;เพื่อเริ่มดำเนินการตามแผนปฏิบัติการที่เรียกว่า&nbsp;'''ปฏิบัติการสะพานลอนดอน''' '''(Operation London Bridge)'''[[#_ftn2|[2]]]&nbsp;ซึ่งเป็นการเตรียมดำเนินการขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่แถลงข่าวไปจนถึงการจัดพระราชพิธีไว้อาลัยและฝังพระศพ&nbsp;จากนั้นศูนย์ปฏิกิริยาโลก (Global Response Centre) ในสังกัดสำนักต่างประเทศ ซึ่งมีที่ตั้งอันไม่เปิดเผยอยู่ในลอนดอน[[#_ftn3|[3]]]&nbsp;ไปยังรัฐบาลอีก 15 ประเทศ ที่ควีนทรงเป็นพระประมุขตามด้วยอีก 36 ประเทศ ที่อยู่ในเครือจักรภพอังกฤษ จากนั้นจึงจะมีการแจ้งสื่อมวลชน โดยแถลงต่อสมาคมสื่อและต่อ BBC&nbsp;(the British Broadcasting Corporation) ทางระบบส่งผ่านการแจ้งเตือนทางวิทยุ (Radio Alert Transmission System) รวมถึงต่อสถานีวิทยุอื่น ๆ ผ่านเครือข่าย "'''ไฟสีฟ้า"''' '''(obit light)''' ซึ่งจะเป็นที่รับทราบของพิธีกรรายการวิทยุว่าถึงเวลาเปิด '''"เพลงที่เหมาะสม"''' และเตรียมเสนอข่าวฉับพลัน จากนั้นสำนักพระราชวังจะประกาศอย่างเป็นทางการ แล้วมีการเรียกประชุมรัฐสภานัดพิเศษ เพื่อให้นายกรัฐมนตรีแถลงการสวรรคตต่อสภาสามัญชน (House of Commons)


'''''งานพระศพ -'''''<b>ตามแผนปฏิบัติการจะให้มีการเตรียมเคลื่อนหีบพระศพไว้หลายทาง ขึ้นอยู่กับสถานที่สวรรคต อาทิ เช่น</b>
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 24 ชั่วโมง หลังการสวรรคต - เจ้าชายชาลส์ พระโอรสของสมเด็จพระราชินีผู้ล่วงลับจะทรงประทานคำกล่าวแก่ประชาชนทางโทรทัศน์และสภาสืบราชยสมบับติ (Accession Council) จะประชุมกันเพื่อประกาศให้เจ้าชายชาลส์ เป็นพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3 ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์องค์ใหม่ที่พระราชวังเซนต์ เจมส์ &nbsp;(St. James's Palace) จากนั้นจะมีการประชุมรัฐสภาเพื่อถวายสัตย์ต่อพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่&nbsp;และกิจกรรมรัฐสภาทั้งหมดจะถูกระงับเป็นเวลา 10 วัน


'''(1) หากสวรรคต ณ ปราสาทวินด์เซอร์ หรือตำหนักซานดริงแฮม จะเคลื่อนหีบพระศพด้วยรถยนต์<br/> ไปยังพระราชวังบักกิงแฮมภายใน 1-2 วัน'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; งานพระศพ - ตามแผนปฏิบัติการจะให้มีการเตรียมเคลื่อนหีบพระศพไว้หลายทางขึ้นอยู่กับสถานที่สวรรคต อาทิ เช่น


'''(2) หากสวรรคตในต่างประเทศ จะให้กองบินที่ 32 ลำเลียงหีบพระศพไปยังสถานีนอร์ตโฮลต์<br/> แล้วเคลื่อนต่อด้วยรถยนต์ไปยังพระราชวังบักกิงแฮม'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; (1) หากสวรรคต ณ ปราสาทวินด์เซอร์หรือตำหนักซานดริงแฮม จะเคลื่อนหีบพระศพด้วยรถยนต์ไปยังพระราชวังบักกิงแฮมภายใน 1-2 วัน


'''(3) หากสวรรคต ณ พระราชวังโฮลีรูดในสกอตแลนด์ จะไว้หีบพระศพ ณ อาสนวิหารนักบุญไจลส์<br/> (''''''St Giles' Cathedral) แล้วจึงขนย้ายต่อด้วยรถไฟหลวงไปยังลอนดอน'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; (2) หากสวรรคตในต่างประเทศจะให้กองบินที่ 32 ลำเลียงหีบพระศพไปยังสถานีนอร์ตโฮลต์&nbsp;แล้วเคลื่อนต่อด้วยรถยนต์ไปยังพระราชวังบักกิงแฮม


'''&nbsp;หีบพระศพจะตั้งไว้ในท้องพระโรงพระราชวังบักกิงแฮมเป็นเวลา 4 วัน แล้วจะย้ายไปตั้งสักการะ<br/> ณ โถงเวสมินสเตอร์ พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ อีก 4 วัน ส่วนงานพระศพจะจัดขึ้น ณ เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (''''''Westminster Abbey) เมื่อสวรรคตแล้ว 9 วัน หลังจากนั้น จะฝังพระศพไว้ โบสถ์น้อยนักบุญจอร์จ<br/> (St George's Chapel) ในปราสาทวินด์เซอร์'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; (3) หากสวรรคต พระราชวังโฮลีรูดในสกอตแลนด์ จะไว้หีบพระศพ ณ อาสนวิหารนักบุญไจลส์&nbsp;(St Giles' Cathedral) แล้วจึงขนย้ายต่อด้วยรถไฟหลวงไปยังลอนดอน


''ภาพแสดงการไว้อาลัยการสวรรคตของของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ของเวปไซต์ราชวงศ์อังกฤษ[[#_ftn4|'''[4]''']]''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หีบพระศพจะตั้งไว้ในท้องพระโรงพระราชวังบักกิงแฮมเป็นเวลา 4 วัน แล้วจะย้ายไปตั้งสักการะ&nbsp;ณ โถงเวสมินสเตอร์ พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ อีก 4 วัน ส่วนงานพระศพจะจัดขึ้น ณ เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เมื่อสวรรคตแล้ว 9 วัน หลังจากนั้น จะฝังพระศพไว้ ณ โบสถ์น้อยนักบุญจอร์จ&nbsp;(St George's Chapel) ในปราสาทวินด์เซอร์


&nbsp;
&nbsp;
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' แสดงการไว้อาลัยการสวรรคตของของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ของเวปไซต์ราชวงศ์อังกฤษ[[#_ftn4|[4]]]</p>
[[File:London Bridge is down (2).png|center|400px|London Bridge is down (2).png]]


'''ทั้งนี้ สำหรับราชวงศ์อังกฤษ ซึ่งเป็นราชวงศ์เก่าแก่ของโลก ถือว่าการคาดการณ์การเสด็จสวรรคต<br/> ของกษัตริย์อังกฤษนั้นเป็นเรื่องปกติ'''[[#_ftn5|[5]]]'''และมีการเตรียมความพร้อมในกรณีที่พระมหากษัตริย์สวรรคตอย่างเป็นขั้นเป็นตอน แม้จะไม่ได้พูดถึงอย่างเปิดเผย แต่บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสำนักพระราชวัง ศาสนจักร และรัฐบาล ต้องร่วมมือกันวางแผนต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นตอนไว้ล่วงหน้า เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดหรือผิดธรรมเนียมที่อาจเกิดขึ้นถ้าหากมีเวลาเตรียมตัวไม่พอ'''[[#_ftn6|[6]]]'''โดยรหัสลับ''' “ '''London Bridge is Down” นี้ไม่เคยถูกใช้ รวมถึงแผนปฏิบัติการไม่เคยเปิดเผยอย่างเป็นทางการมาก่อน มีเพียงการให้ข้อมูลเบื้องต้นว่าทุกขั้นตอนมีความละเอียดอ่อน และเป็นการเจรจาที่ลับสุดยอด ซึ่งถูกวางแผนครั้งแรกในปี ค.ศ. 1960 และมีการแก้ไขหลายครั้งหลายหน โดยประกอบด้วยรายละเอียดของการแจ้งข่าว การรับมือกับฝูงชนที่มุ่งหน้าสู่ลอนดอน ตลอดจนรายละเอียดในพิธี เพื่อให้แน่ใจว่าทุกอย่างจะออกมาอย่างสง่างาม โดยมีการประชุมกันเรื่องนี้ปีละสอง<br/> หรือสามครั้ง ส่วนใหญ่เป็นรายละเอียดต่างๆ ในเชิงพิธีกรรม เช่นหารือกันเรื่องการเคลื่อนพระศพจากประตูของพระราชวังเซนต์เจมส์ไปถึงทางเข้าของเวสต์มินสเตอร์ฮอลที่ต้องใช้เวลานาน 28 นาที เป็นต้น เพื่อให้งานทั้งหมดเป็นไปอย่างราบรื่นและสมบูรณ์แบบที่สุด โดยแผนนี้ได้รับการดูแลปรับปรุงให้ละเอียดขึ้นหลังเปลี่ยนศตวรรษเป็นต้นมา'''[[#_ftn7|[7]]]'''อีกทั้งแผนการดังกล่าวยังเพื่อเป็นการเปลี่ยนผ่านการเปลี่ยนรัชกาลของประมุขแห่ง<br/> สหราชอาณาจักรจะดำเนินต่อไปอย่างไม่สะดุด โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 มีส่วนร่วมในการวางแผนด้วยพระองค์เอง'''[[#_ftn8|[8]]]
&nbsp;
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ทั้งนี้ สำหรับราชวงศ์อังกฤษ ซึ่งเป็นราชวงศ์เก่าแก่ของโลก ถือว่าการคาดการณ์การเสด็จสวรรคตของกษัตริย์อังกฤษนั้นเป็นเรื่องปกติ[[#_ftn5|[5]]]&nbsp;และมีการเตรียมความพร้อมในกรณีที่พระมหากษัตริย์สวรรคตอย่างเป็นขั้นเป็นตอน แม้จะไม่ได้พูดถึงอย่างเปิดเผย แต่บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสำนักพระราชวัง ศาสนจักร และรัฐบาล ต้องร่วมมือกันวางแผนต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นตอนไว้ล่วงหน้า เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดหรือผิดธรรมเนียมที่อาจเกิดขึ้นถ้าหากมีเวลาเตรียมตัวไม่พอ[[#_ftn6|[6]]] โดยรหัสลับ '''“ London Bridge is Down”''' นี้ไม่เคยถูกใช้ รวมถึงแผนปฏิบัติการไม่เคยเปิดเผยอย่างเป็นทางการมาก่อน มีเพียงการให้ข้อมูลเบื้องต้นว่าทุกขั้นตอนมีความละเอียดอ่อน และเป็นการเจรจาที่ลับสุดยอด ซึ่งถูกวางแผนครั้งแรกในปี ค.ศ. 1960 และมีการแก้ไขหลายครั้งหลายหน โดยประกอบด้วยรายละเอียดของการแจ้งข่าว การรับมือกับฝูงชนที่มุ่งหน้าสู่ลอนดอนตลอดจนรายละเอียดในพิธี เพื่อให้แน่ใจว่าทุกอย่างจะออกมาอย่างสง่างาม โดยมีการประชุมกันเรื่องนี้ปีละสองหรือสามครั้ง ส่วนใหญ่เป็นรายละเอียดต่าง ๆ ในเชิงพิธีกรรม เช่น หารือกันเรื่องการเคลื่อนพระศพจากประตูของพระราชวังเซนต์เจมส์ไปถึงทางเข้าของเวสต์มินสเตอร์ฮอลที่ต้องใช้เวลานาน 28 นาที เป็นต้น เพื่อให้งานทั้งหมดเป็นไปอย่างราบรื่นและสมบูรณ์แบบที่สุด โดยแผนนี้ได้รับการดูแลปรับปรุงให้ละเอียดขึ้นหลังเปลี่ยนศตวรรษเป็นต้นมา[[#_ftn7|[7]]] อีกทั้งแผนการดังกล่าวยังเพื่อเป็นการเปลี่ยนผ่านการเปลี่ยนรัชกาลของประมุขแห่งสหราชอาณาจักรจะดำเนินต่อไปอย่างไม่สะดุด โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 มีส่วนร่วมในการวางแผนด้วยพระองค์เอง[[#_ftn8|[8]]]


'''''ภาพพระราชพิธีพระบรมศพของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2'''''[[#_ftn9|[9]]]
&nbsp;
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' พระราชพิธีพระบรมศพของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2[[#_ftn9|[9]]]</p>
{| align="center" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width: 500px;"
|-
| [[File:London Bridge is down (3).jpg|center|700px|London Bridge is down (3).jpg]]
| [[File:London Bridge is down (4).jpg|center|400px|London Bridge is down (4).jpg]]
| [[File:London Bridge is down (5).jpg|center|300px|London Bridge is down (5).jpg]]
|}


&nbsp;
&nbsp;


'''กล่าวได้ว่า การเตรียมตัวรับการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ได้เคยได้รับความสนใจจาก สำนักข่าว ''''''Business Insider ได้นำเสนอเรื่องนี้ไว้ในปี ค.ศ. 2015 และเมื่อปลายปี ค.ศ. 2016 เมื่อสมเด็กพระราชินีไม่ได้ทรงไปร่วมพิธีมิสซาฉลองคริสต์มาสอย่างที่เคยเพราะประชวร ประกอบกับพระชนมายุที่มากแล้ว นอกจากนี้สำนักข่าวสำคัญของโลกอื่นๆ อย่าง CNN ได้มีการเตรียมข่าวนี้ไว้แล้วเป็นชุด เพื่อจะได้นำออกฉายได้ทันท่วงที ในขณะที่ The Guardian มีรายงานการเตรียมพร้อมเอาไว้แล้วเช่นกัน เช่นเดียวกับ นิตยสาร Times ที่ได้มีการเตรียมข้อมูลไว้มากมายที่สามารถนำเสนอได้ติดกันนาน 11 วัน รวมทั้งสถานีโทรทัศน์ เช่น Sky ได้มีการซ้อมทำข่าวนี้ไว้ โดยใช้รหัสลับว่าเป็นข่าวของ ‘Mrs Robinson’ ซึ่งเป็น<br/> คำเรียกแทนสมเด็จพระราชินีนาถ ทั้งยังได้มีการทำข้อตกลงไว้กับเหล่าผู้เชี่ยวชาญเรื่องราชวงศ์อังกฤษเพื่อให้สามารถสัมภาษณ์สดได้ทันท่วงที'''[[#_ftn10|[10]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; กล่าวได้ว่า การเตรียมตัวรับการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ได้เคยได้รับความสนใจจาก สำนักข่าว Business Insider ได้นำเสนอเรื่องนี้ไว้ในปี ค.ศ. 2015 และเมื่อปลายปี ค.ศ. 2016 เมื่อสมเด็กพระราชินีไม่ได้ทรงไปร่วมพิธีมิสซาฉลองคริสต์มาสอย่างที่เคยเพราะประชวร ประกอบกับพระชนมายุที่มากแล้ว นอกจากนี้สำนักข่าวสำคัญของโลกอื่น ๆ อย่าง CNN ได้มีการเตรียมข่าวนี้ไว้แล้วเป็นชุด เพื่อจะได้นำออกฉายได้ทันท่วงที ในขณะที่ The Guardian มีรายงานการเตรียมพร้อมเอาไว้แล้วเช่นกัน เช่นเดียวกับนิตยสาร Times ที่ได้มีการเตรียมข้อมูลไว้มากมายที่สามารถนำเสนอได้ติดกันนาน 11 วัน รวมทั้งสถานีโทรทัศน์ เช่น Sky ได้มีการซ้อมทำข่าวนี้ไว้ โดยใช้รหัสลับว่าเป็นข่าวของ '''‘Mrs Robinson’''' ซึ่งเป็นคำเรียกแทนสมเด็จพระราชินีนาถ ทั้งยังได้มีการทำข้อตกลงไว้กับเหล่าผู้เชี่ยวชาญเรื่องราชวงศ์อังกฤษเพื่อให้สามารถสัมภาษณ์สดได้ทันท่วงที[[#_ftn10|[10]]]


'''อย่างไรก็ดี '''การใช้รหัสลับสำหรับบอกข่าวการสวรรคตของบุคคลสำคัญในราชวงศ์นั้น เริ่มขึ้นเมื่อสมัยการสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI)&nbsp; ในปี ค.ศ. 1952 โดยใช้ข้อความแจ้งข่าวว่า&nbsp;“มุมสวนไฮด์”&nbsp;(Hyde Park Corner) แก่เชื้อพระวงศ์และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อสื่อถึงว่าพระเจ้าแผ่นดินสิ้นแล้ว<br/> โดยเลขานุการในพระองค์ ได้โทรศัพท์บอกผู้ช่วยถึงเหตุการณ์นี้ว่า “''Hyde Park Corner. Go and tell<br/> Mr Churchill and Queen Mary.''” และนายวินสตัน เชอร์ชิล (Winston Churchill) นายกรัฐมนตรีอังกฤษในขณะนั้นก็สื่อสารต่อโดยใช้รหัสลับนี้ด้วย[[#_ftn11|[11]]] ซึ่งแต่ละพระองค์จะมีชื่อปฏิบัติการรับมือในกรณีสวรรคต<br/> เฉพาะพระองค์ ทั้งนี้ ภายหลังปลายศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่มักตั้งตามชื่อตามสะพานสำคัญที่มักมีประวัติเกี่ยวข้องกับเชื้อพระวงศ์นั้น ๆ อาทิ เช่น&nbsp;"ปฏิบัติการสะพานเทย์" (Operation Tay Bridge) สำหรับสมเด็จพระราชชนนี เอลิซาเบธ (Queen Elizabeth The Queen Mother) ที่มีเตรียมงานพระศพล่วงหน้าถึง 22 ปีก่อนถึงการสวรรคตในปี ค.ศ. 2002 ซึ่งแนวทางที่เตรียมไว้ได้ถูกนำมาใช้ก่อนหน้าในการจัดการการเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุของเจ้าหญิงไดอาน่า (Princess Diana) ในปี ค.ศ. 1997, "ปฏิบัติการสะพานฟอร์ท" (Operation Forth Bridge)&nbsp;ใช้สำหรับเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ซึ่งเป็นชื่อสะพานที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของใจกลางเมืองเอดินบะระ ที่ทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 2021 &nbsp;นอกจากนี้ได้มีการใช้ชื่อ "ปฏิบัติการสะพานเมนาย" (Operation Menai Bridge) สำหรับเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์[[#_ftn12|[12]]]&nbsp; พระยศในขณะก่อนได้รับการสถาปนาเป็น&nbsp;สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 (Charles III) แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งได้มีพระราชพิธีราชาภิเษกจัดขึ้นในวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2023 โดยเป็นการตั้งชื่อตามสะพานแขวนเมนายในเวลส์<br/> ที่เชื่อมต่อแผ่นดินใหญ่กับเกาะแองเกิลซีย์ (Anglesey)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อย่างไรก็ดี การใช้รหัสลับสำหรับบอกข่าวการสวรรคตของบุคคลสำคัญในราชวงศ์นั้น เริ่มขึ้นเมื่อสมัยการสวรรคตของ พระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI)&nbsp;ในปี ค.ศ. 1952 โดยใช้ข้อความแจ้งข่าวว่า&nbsp;'''“มุมสวนไฮด์”'''&nbsp;'''(Hyde Park Corner)''' แก่เชื้อพระวงศ์และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อสื่อถึงว่าพระเจ้าแผ่นดินสิ้นแล้ว&nbsp;โดยเลขานุการในพระองค์ได้โทรศัพท์บอกผู้ช่วยถึงเหตุการณ์นี้ว่า “''Hyde Park Corner. Go and tell&nbsp;Mr Churchill and Queen Mary.''” และนายวินสตัน เชอร์ชิล (Winston Churchill) นายกรัฐมนตรีอังกฤษในขณะนั้นก็สื่อสารต่อโดยใช้รหัสลับนี้วย[[#_ftn11|[11]]] ซึ่งแต่ละพระองค์จะมีชื่อปฏิบัติการรับมือในกรณีสวรรคตเฉพาะพระองค์ ทั้งนี้ ภายหลังปลายศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่มักตั้งตามชื่อตามสะพานสำคัญที่มักมีประวัติเกี่ยวข้องกับเชื้อพระวงศ์นั้น ๆ อาทิ เช่น&nbsp;'''"ปฏิบัติการสะพานเทย์"''' '''(Operation Tay Bridge)''' สำหรับสมเด็จพระราชชนนี เอลิซาเบธ (Queen Elizabeth The Queen Mother) ที่มีเตรียมงานพระศพล่วงหน้าถึง 22 ปี ก่อนถึงการสวรรคตในปี ค.ศ. 2002 ซึ่งแนวทางที่เตรียมไว้ได้ถูกนำมาใช้ก่อนหน้าในการจัดการการเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุขอ งเจ้าหญิงไดอาน่า (Princess Diana) ในปี ค.ศ. 1997&nbsp;'''"ปฏิบัติการสะพานฟอร์ท"''' '''(Operation Forth Bridge)'''&nbsp;ใช้สำหรับ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ซึ่งเป็นชื่อสะพานที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของใจกลางเมืองเอดินบะระ ที่ทรงสิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 2021 นอกจากนี้ได้มีการใช้ชื่อ '''"ปฏิบัติการสะพานเมนาย" (Operation Menai Bridge)''' สำหรับ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์[[#_ftn12|[12]]]&nbsp;พระยศในขณะก่อนได้รับการสถาปนาเป็น&nbsp;สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 (Charles III) แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งได้มีพระราชพิธีราชาภิเษกจัดขึ้นใน วันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2023 โดยเป็นการตั้งชื่อตามสะพานแขวนเมนายในเวลส์<br/> ที่เชื่อมต่อแผ่นดินใหญ่กับเกาะแองเกิลซีย์ (Anglesey)


&nbsp;
&nbsp;
<div>อ้างอิง  
 
----
'''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>'''
<div id="ftn1">
<div><div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]] “'Operation Unicorn' kicks in after Queen Elizabeth's death in Scotland...”, Retrieved from URL https://www. onmanorama.com/news/world/2022/09/08/queen-elizabeth-operation-london-bridge.html (20 June 2023).
[[#_ftnref1|[1]]] “'Operation Unicorn' kicks in after Queen Elizabeth's death in Scotland...”, Retrieved from URL [https://www https://www]. onmanorama.com/news/world/2022/09/08/queen-elizabeth-operation-london-bridge.html (20 June 2023).
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|'''[2]''']] “London Bridge is falling down บทเพลงผ่านยุคสมัยแฝงปรัชญาการเกิด-ดับของชีวิต”, สืบค้นจาก https://www.springnews. co.th/lifestyle/inspiration/829620 (20 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref2|[2]]] “London Bridge is falling down บทเพลงผ่านยุคสมัยแฝงปรัชญาการเกิด-ดับของชีวิต”, สืบค้นจาก [https://www.springnews https://www.springnews]. co.th/lifestyle/inspiration/829620 (20 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] “'London Bridge is down': the secret plan for the days after the Queen’s death”, สืบค้นจาก https://www.theguardian. com/uk-news/2017/mar/16/what-happens-when-queen-elizabeth-dies-london-bridge (20 June 2023).
[[#_ftnref3|[3]]] “'London Bridge is down': the secret plan for the days after the Queen’s death”, สืบค้นจาก [https://www.theguardian https://www.theguardian]. com/uk-news/2017/mar/16/what-happens-when-queen-elizabeth-dies-london-bridge (20 June 2023).
</div> <div id="ftn4">
</div> <div id="ftn4">
[[#_ftnref4|[4]]] “The London Bridge is down, the farewell to Elizabeth and the proclamation of the new king”, Retrieved from URL https://en.italiani.it/the-london-bridge-is-down-the-farewell-to-elizabeth-and-the-proclamation-of-the-new-king/ (20 June 2023).
[[#_ftnref4|[4]]] “The London Bridge is down, the farewell to Elizabeth and the proclamation of the new king”, Retrieved from URL [https://en.italiani.it/the-london-bridge-is-down-the-farewell-to-elizabeth-and-the-proclamation-of-the-new-king/ https://en.italiani.it/the-london-bridge-is-down-the-farewell-to-elizabeth-and-the-proclamation-of-the-new-king/] (20 June 2023).
</div> <div id="ftn5">
</div> <div id="ftn5">
[[#_ftnref5|[5]]] “The Day THE QUEEN dies”, สืบค้นจาก https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852 (20 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref5|[5]]] “The Day THE QUEEN dies”, สืบค้นจาก [https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852 https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852] (20 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn6">
</div> <div id="ftn6">
[[#_ftnref6|[6]]] “THE ATTENTION: รู้จัก ‘ปฏิบัติการสะพานลอนดอน’ เมื่อควีนอังกฤษสวรรคตแล้วต้องทำอย่างไร?”, สืบค้นจาก https://www. instagram.com/p/CiZEhcePJFD/ (20 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref6|[6]]] “THE ATTENTION: รู้จัก ‘ปฏิบัติการสะพานลอนดอน’ เมื่อควีนอังกฤษสวรรคตแล้วต้องทำอย่างไร?”, สืบค้นจาก [https://www https://www]. instagram.com/p/CiZEhcePJFD/ (20 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]] “The Day THE QUEEN dies”, สืบค้นจาก https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852 (20 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref7|[7]]] “The Day THE QUEEN dies”, สืบค้นจาก [https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852 https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852] (20 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn8">
</div> <div id="ftn8">
[[#_ftnref8|[8]]] “BRIEF 912 ‘London Bridge is down’ รู้จักรหัสลับที่ถูกใช้ครั้งแรก ในวันที่ควีนเอลิซาเบธที่ 2 สวรรคต”, สืบค้นจาก https://the matter.co/brief/185155/185155(20 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref8|[8]]] “BRIEF 912 ‘London Bridge is down’ รู้จักรหัสลับที่ถูกใช้ครั้งแรก ในวันที่ควีนเอลิซาเบธที่ 2 สวรรคต”, สืบค้นจาก [https://the https://the] matter.co/brief/185155/185155(20 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn9">
</div> <div id="ftn9">
[[#_ftnref9|[9]]] “All the Photos of Queen Elizabeth's State Funeral”, Retrieved from URL https://www.townand countrymag.com/ society/tradition/g41229305/queen-elizabeth-state-funeral-photos/(20 June 2023).
[[#_ftnref9|[9]]] “All the Photos of Queen Elizabeth's State Funeral”, Retrieved from URL [https://www.townand https://www.townand] countrymag.com/ society/tradition/g41229305/queen-elizabeth-state-funeral-photos/(20 June 2023).
</div> <div id="ftn10">
</div> <div id="ftn10">
[[#_ftnref10|[10]]] “What will happen now the Queen has died - 27 step plan for the nation rolled out over 10 days”, Retrieved from URL https://www.mylondon.news/news/uk-world-news/what-operation-london-bridge-27-15982422(20 June 2023).
[[#_ftnref10|[10]]] “What will happen now the Queen has died - 27 step plan for the nation rolled out over 10 days”, Retrieved from URL [https://www.mylondon.news/news/uk-world-news/what-operation-london-bridge-27-15982422(20 https://www.mylondon.news/news/uk-world-news/what-operation-london-bridge-27-15982422(20] June 2023).
</div> <div id="ftn11">
</div> <div id="ftn11">
[[#_ftnref11|[11]]] “The Day THE QUEEN dies”, สืบค้นจาก https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852(20 มิถุนายน 2023).
[[#_ftnref11|[11]]] “The Day THE QUEEN dies”, สืบค้นจาก [https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852(20 https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852(20] มิถุนายน 2023).
</div> <div id="ftn12">
</div> <div id="ftn12">
[[#_ftnref12|'''[12]''']] “London Bridge is falling down บทเพลงผ่านยุคสมัยแฝงปรัชญาการเกิด-ดับของชีวิต”, สืบค้นจาก https://www. springnews.co.th/lifestyle/inspiration/829620 (20 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref12|[12]]] “London Bridge is falling down บทเพลงผ่านยุคสมัยแฝงปรัชญาการเกิด-ดับของชีวิต”, สืบค้นจาก [https://www https://www]. springnews.co.th/lifestyle/inspiration/829620 (20 มิถุนายน 2566).
</div> </div>
</div> </div>  
[[Category:พระมหากษัตริย์]] [[Category:ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์]] [[Category:พระราชพิธี]] [[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]] [[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:06, 12 กันยายน 2566

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิกานต์ มีจั่น

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ

 

London Bridge is down

การสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สองแห่งสหราชอาณาจักร

          London Bridge is Down หรือ สะพานลอนดอนพังแล้ว เป็นชื่อรหัสลับและแผนรับมือหลังจากที่ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สอง แห่งสหราชอาณาจักร เสด็จสวรรคด้วยพระชนมายุ 96 พรรษา โดยประกาศอย่างเป็นทางการจากพระราชวังบัคกิงแฮม เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2022 ตามเวลาท้องถิ่นของอังกฤษ โดยพระองค์ทรงครองราชย์มาครบ 70 ปี ทั้งนี้ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถสิ้นพระชนม์ จะมีการดำเนินงานตามพิธีการอย่างเข้มงวดเพื่อให้มีการเตรียมการอำลาครั้งสุดท้าย เพื่อให้มีความมั่นใจได้ถึงความเรียบร้อย ความมั่นคงซึ่งเป็นสัญลักษณ์ภายใต้รัชสมัยของพระนาง

 

ภาพ : สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และสะพานลอนดอน[1]

London Bridge is down (1).png
London Bridge is down (1).png

         

          แผนสำหรับดำเนินการเมื่อ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 สวรรคตแล้ว มีการวางแผนไว้ 3 ช่วงเวลาหลัก ดังนี้

          วันสวรรคต - เซอร์ คริสโตเฟอร์ ฌีดต์ (Sir Christopher Geidt) ซึ่งเป็นเลขานุการประจำพระองค์และสมาชิกสภาขุนนางจะเป็นผู้ติดต่อกับนายกรัฐมนตรีเพื่อแจ้งข่าวสวรรคตของ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แก่นายกรัฐมนตรี ด้วยถ้อยคำว่า “สะพานลอนดอนพังแล้ว” จากนั้นข้าราชบริพารทั้งหลายก็จะแจ้งข้อความ "สะพานลอนดอนพังแล้ว" ต่อ ๆ กันไปผ่านโทรศัพท์ที่มีระบบการป้องกันอย่างแน่นหนา เพื่อเริ่มดำเนินการตามแผนปฏิบัติการที่เรียกว่า ปฏิบัติการสะพานลอนดอน (Operation London Bridge)[2] ซึ่งเป็นการเตรียมดำเนินการขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่แถลงข่าวไปจนถึงการจัดพระราชพิธีไว้อาลัยและฝังพระศพ จากนั้นศูนย์ปฏิกิริยาโลก (Global Response Centre) ในสังกัดสำนักต่างประเทศ ซึ่งมีที่ตั้งอันไม่เปิดเผยอยู่ในลอนดอน[3] ไปยังรัฐบาลอีก 15 ประเทศ ที่ควีนทรงเป็นพระประมุขตามด้วยอีก 36 ประเทศ ที่อยู่ในเครือจักรภพอังกฤษ จากนั้นจึงจะมีการแจ้งสื่อมวลชน โดยแถลงต่อสมาคมสื่อและต่อ BBC (the British Broadcasting Corporation) ทางระบบส่งผ่านการแจ้งเตือนทางวิทยุ (Radio Alert Transmission System) รวมถึงต่อสถานีวิทยุอื่น ๆ ผ่านเครือข่าย "ไฟสีฟ้า" (obit light) ซึ่งจะเป็นที่รับทราบของพิธีกรรายการวิทยุว่าถึงเวลาเปิด "เพลงที่เหมาะสม" และเตรียมเสนอข่าวฉับพลัน จากนั้นสำนักพระราชวังจะประกาศอย่างเป็นทางการ แล้วมีการเรียกประชุมรัฐสภานัดพิเศษ เพื่อให้นายกรัฐมนตรีแถลงการสวรรคตต่อสภาสามัญชน (House of Commons)

          24 ชั่วโมง หลังการสวรรคต - เจ้าชายชาลส์ พระโอรสของสมเด็จพระราชินีผู้ล่วงลับจะทรงประทานคำกล่าวแก่ประชาชนทางโทรทัศน์และสภาสืบราชยสมบับติ (Accession Council) จะประชุมกันเพื่อประกาศให้เจ้าชายชาลส์ เป็นพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3 ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์องค์ใหม่ที่พระราชวังเซนต์ เจมส์  (St. James's Palace) จากนั้นจะมีการประชุมรัฐสภาเพื่อถวายสัตย์ต่อพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ และกิจกรรมรัฐสภาทั้งหมดจะถูกระงับเป็นเวลา 10 วัน

          งานพระศพ - ตามแผนปฏิบัติการจะให้มีการเตรียมเคลื่อนหีบพระศพไว้หลายทางขึ้นอยู่กับสถานที่สวรรคต อาทิ เช่น

          (1) หากสวรรคต ณ ปราสาทวินด์เซอร์หรือตำหนักซานดริงแฮม จะเคลื่อนหีบพระศพด้วยรถยนต์ไปยังพระราชวังบักกิงแฮมภายใน 1-2 วัน

          (2) หากสวรรคตในต่างประเทศจะให้กองบินที่ 32 ลำเลียงหีบพระศพไปยังสถานีนอร์ตโฮลต์ แล้วเคลื่อนต่อด้วยรถยนต์ไปยังพระราชวังบักกิงแฮม

          (3) หากสวรรคต ณ พระราชวังโฮลีรูดในสกอตแลนด์ จะไว้หีบพระศพ ณ อาสนวิหารนักบุญไจลส์ (St Giles' Cathedral) แล้วจึงขนย้ายต่อด้วยรถไฟหลวงไปยังลอนดอน

          หีบพระศพจะตั้งไว้ในท้องพระโรงพระราชวังบักกิงแฮมเป็นเวลา 4 วัน แล้วจะย้ายไปตั้งสักการะ ณ โถงเวสมินสเตอร์ พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ อีก 4 วัน ส่วนงานพระศพจะจัดขึ้น ณ เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เมื่อสวรรคตแล้ว 9 วัน หลังจากนั้น จะฝังพระศพไว้ ณ โบสถ์น้อยนักบุญจอร์จ (St George's Chapel) ในปราสาทวินด์เซอร์

 

ภาพ : แสดงการไว้อาลัยการสวรรคตของของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ของเวปไซต์ราชวงศ์อังกฤษ[4]

London Bridge is down (2).png
London Bridge is down (2).png

 

          ทั้งนี้ สำหรับราชวงศ์อังกฤษ ซึ่งเป็นราชวงศ์เก่าแก่ของโลก ถือว่าการคาดการณ์การเสด็จสวรรคตของกษัตริย์อังกฤษนั้นเป็นเรื่องปกติ[5] และมีการเตรียมความพร้อมในกรณีที่พระมหากษัตริย์สวรรคตอย่างเป็นขั้นเป็นตอน แม้จะไม่ได้พูดถึงอย่างเปิดเผย แต่บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสำนักพระราชวัง ศาสนจักร และรัฐบาล ต้องร่วมมือกันวางแผนต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นตอนไว้ล่วงหน้า เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดหรือผิดธรรมเนียมที่อาจเกิดขึ้นถ้าหากมีเวลาเตรียมตัวไม่พอ[6] โดยรหัสลับ “ London Bridge is Down” นี้ไม่เคยถูกใช้ รวมถึงแผนปฏิบัติการไม่เคยเปิดเผยอย่างเป็นทางการมาก่อน มีเพียงการให้ข้อมูลเบื้องต้นว่าทุกขั้นตอนมีความละเอียดอ่อน และเป็นการเจรจาที่ลับสุดยอด ซึ่งถูกวางแผนครั้งแรกในปี ค.ศ. 1960 และมีการแก้ไขหลายครั้งหลายหน โดยประกอบด้วยรายละเอียดของการแจ้งข่าว การรับมือกับฝูงชนที่มุ่งหน้าสู่ลอนดอนตลอดจนรายละเอียดในพิธี เพื่อให้แน่ใจว่าทุกอย่างจะออกมาอย่างสง่างาม โดยมีการประชุมกันเรื่องนี้ปีละสองหรือสามครั้ง ส่วนใหญ่เป็นรายละเอียดต่าง ๆ ในเชิงพิธีกรรม เช่น หารือกันเรื่องการเคลื่อนพระศพจากประตูของพระราชวังเซนต์เจมส์ไปถึงทางเข้าของเวสต์มินสเตอร์ฮอลที่ต้องใช้เวลานาน 28 นาที เป็นต้น เพื่อให้งานทั้งหมดเป็นไปอย่างราบรื่นและสมบูรณ์แบบที่สุด โดยแผนนี้ได้รับการดูแลปรับปรุงให้ละเอียดขึ้นหลังเปลี่ยนศตวรรษเป็นต้นมา[7] อีกทั้งแผนการดังกล่าวยังเพื่อเป็นการเปลี่ยนผ่านการเปลี่ยนรัชกาลของประมุขแห่งสหราชอาณาจักรจะดำเนินต่อไปอย่างไม่สะดุด โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 มีส่วนร่วมในการวางแผนด้วยพระองค์เอง[8]

 

ภาพ : พระราชพิธีพระบรมศพของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2[9]

London Bridge is down (3).jpg
London Bridge is down (3).jpg
London Bridge is down (4).jpg
London Bridge is down (4).jpg
London Bridge is down (5).jpg
London Bridge is down (5).jpg

 

          กล่าวได้ว่า การเตรียมตัวรับการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ได้เคยได้รับความสนใจจาก สำนักข่าว Business Insider ได้นำเสนอเรื่องนี้ไว้ในปี ค.ศ. 2015 และเมื่อปลายปี ค.ศ. 2016 เมื่อสมเด็กพระราชินีไม่ได้ทรงไปร่วมพิธีมิสซาฉลองคริสต์มาสอย่างที่เคยเพราะประชวร ประกอบกับพระชนมายุที่มากแล้ว นอกจากนี้สำนักข่าวสำคัญของโลกอื่น ๆ อย่าง CNN ได้มีการเตรียมข่าวนี้ไว้แล้วเป็นชุด เพื่อจะได้นำออกฉายได้ทันท่วงที ในขณะที่ The Guardian มีรายงานการเตรียมพร้อมเอาไว้แล้วเช่นกัน เช่นเดียวกับนิตยสาร Times ที่ได้มีการเตรียมข้อมูลไว้มากมายที่สามารถนำเสนอได้ติดกันนาน 11 วัน รวมทั้งสถานีโทรทัศน์ เช่น Sky ได้มีการซ้อมทำข่าวนี้ไว้ โดยใช้รหัสลับว่าเป็นข่าวของ ‘Mrs Robinson’ ซึ่งเป็นคำเรียกแทนสมเด็จพระราชินีนาถ ทั้งยังได้มีการทำข้อตกลงไว้กับเหล่าผู้เชี่ยวชาญเรื่องราชวงศ์อังกฤษเพื่อให้สามารถสัมภาษณ์สดได้ทันท่วงที[10]

          อย่างไรก็ดี การใช้รหัสลับสำหรับบอกข่าวการสวรรคตของบุคคลสำคัญในราชวงศ์นั้น เริ่มขึ้นเมื่อสมัยการสวรรคตของ พระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI) ในปี ค.ศ. 1952 โดยใช้ข้อความแจ้งข่าวว่า “มุมสวนไฮด์” (Hyde Park Corner) แก่เชื้อพระวงศ์และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อสื่อถึงว่าพระเจ้าแผ่นดินสิ้นแล้ว โดยเลขานุการในพระองค์ได้โทรศัพท์บอกผู้ช่วยถึงเหตุการณ์นี้ว่า “Hyde Park Corner. Go and tell Mr Churchill and Queen Mary.” และนายวินสตัน เชอร์ชิล (Winston Churchill) นายกรัฐมนตรีอังกฤษในขณะนั้นก็สื่อสารต่อโดยใช้รหัสลับนี้วย[11] ซึ่งแต่ละพระองค์จะมีชื่อปฏิบัติการรับมือในกรณีสวรรคตเฉพาะพระองค์ ทั้งนี้ ภายหลังปลายศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่มักตั้งตามชื่อตามสะพานสำคัญที่มักมีประวัติเกี่ยวข้องกับเชื้อพระวงศ์นั้น ๆ อาทิ เช่น "ปฏิบัติการสะพานเทย์" (Operation Tay Bridge) สำหรับสมเด็จพระราชชนนี เอลิซาเบธ (Queen Elizabeth The Queen Mother) ที่มีเตรียมงานพระศพล่วงหน้าถึง 22 ปี ก่อนถึงการสวรรคตในปี ค.ศ. 2002 ซึ่งแนวทางที่เตรียมไว้ได้ถูกนำมาใช้ก่อนหน้าในการจัดการการเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุขอ งเจ้าหญิงไดอาน่า (Princess Diana) ในปี ค.ศ. 1997 "ปฏิบัติการสะพานฟอร์ท" (Operation Forth Bridge) ใช้สำหรับ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ซึ่งเป็นชื่อสะพานที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของใจกลางเมืองเอดินบะระ ที่ทรงสิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 2021 นอกจากนี้ได้มีการใช้ชื่อ "ปฏิบัติการสะพานเมนาย" (Operation Menai Bridge) สำหรับ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์[12] พระยศในขณะก่อนได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 (Charles III) แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งได้มีพระราชพิธีราชาภิเษกจัดขึ้นใน วันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2023 โดยเป็นการตั้งชื่อตามสะพานแขวนเมนายในเวลส์
ที่เชื่อมต่อแผ่นดินใหญ่กับเกาะแองเกิลซีย์ (Anglesey)

 

อ้างอิง

[1] “'Operation Unicorn' kicks in after Queen Elizabeth's death in Scotland...”, Retrieved from URL https://www. onmanorama.com/news/world/2022/09/08/queen-elizabeth-operation-london-bridge.html (20 June 2023).

[2] “London Bridge is falling down บทเพลงผ่านยุคสมัยแฝงปรัชญาการเกิด-ดับของชีวิต”, สืบค้นจาก https://www.springnews. co.th/lifestyle/inspiration/829620 (20 มิถุนายน 2566).

[3] “'London Bridge is down': the secret plan for the days after the Queen’s death”, สืบค้นจาก https://www.theguardian. com/uk-news/2017/mar/16/what-happens-when-queen-elizabeth-dies-london-bridge (20 June 2023).

[4] “The London Bridge is down, the farewell to Elizabeth and the proclamation of the new king”, Retrieved from URL https://en.italiani.it/the-london-bridge-is-down-the-farewell-to-elizabeth-and-the-proclamation-of-the-new-king/ (20 June 2023).

[5] “The Day THE QUEEN dies”, สืบค้นจาก https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852 (20 มิถุนายน 2566).

[6] “THE ATTENTION: รู้จัก ‘ปฏิบัติการสะพานลอนดอน’ เมื่อควีนอังกฤษสวรรคตแล้วต้องทำอย่างไร?”, สืบค้นจาก https://www. instagram.com/p/CiZEhcePJFD/ (20 มิถุนายน 2566).

[7] “The Day THE QUEEN dies”, สืบค้นจาก https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852 (20 มิถุนายน 2566).

[8] “BRIEF 912 ‘London Bridge is down’ รู้จักรหัสลับที่ถูกใช้ครั้งแรก ในวันที่ควีนเอลิซาเบธที่ 2 สวรรคต”, สืบค้นจาก https://the matter.co/brief/185155/185155(20 มิถุนายน 2566).

[9] “All the Photos of Queen Elizabeth's State Funeral”, Retrieved from URL https://www.townand countrymag.com/ society/tradition/g41229305/queen-elizabeth-state-funeral-photos/(20 June 2023).

[10] “What will happen now the Queen has died - 27 step plan for the nation rolled out over 10 days”, Retrieved from URL https://www.mylondon.news/news/uk-world-news/what-operation-london-bridge-27-15982422(20 June 2023).

[11] “The Day THE QUEEN dies”, สืบค้นจาก https://thematter.co/thinkers/the-day-the-queen-dies/20852(20 มิถุนายน 2023).

[12] “London Bridge is falling down บทเพลงผ่านยุคสมัยแฝงปรัชญาการเกิด-ดับของชีวิต”, สืบค้นจาก https://www. springnews.co.th/lifestyle/inspiration/829620 (20 มิถุนายน 2566).