ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2541"
สร้างหน้าใหม่: {{รอผู้ทรง}} ---- '''ผู้เรียบเรียง''' นพรัตน์ วงศ์วิทยาพาณิชย์ แ... |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 9 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' นพรัตน์ วงศ์วิทยาพาณิชย์ และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ | |||
---- | ---- | ||
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | |||
---- | |||
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ.2541 ได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2541 ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] ในมาตรา 329 วรรรค 5 บทเฉพาะกาล โดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2541 มีสาระสำคัญต่าง ๆ ดังนี้ | |||
==สาระสำคัญ== | |||
:(1) การทำประชามติต้องออกเป็นประกาศของนายกรัฐมนตรีในราชกิจจานุเบกษา โดยกำหนดวันออกเสียงประชามติ และกำหนดเรื่องในการจัดทำประชามติ ว่าเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในเรื่องที่จัดทำประชามติ (มาตรา 4) | :(1) การทำประชามติต้องออกเป็นประกาศของนายกรัฐมนตรีในราชกิจจานุเบกษา โดยกำหนดวันออกเสียงประชามติ และกำหนดเรื่องในการจัดทำประชามติ ว่าเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในเรื่องที่จัดทำประชามติ (มาตรา 4) | ||
บรรทัดที่ 16: | บรรทัดที่ 16: | ||
:(2) ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดทำเอกสารเผยแพร่เกี่ยวกับเรื่องที่จัดทำประชามติให้ผู้มีสิทธิออกเสียงทราบ และจัดการลงคะแนนเสียงประชามติทั้งประเทศ (มาตรา 5) (ซึ่งหน่วยเลือกตั้งอาจคล้ายคลึงกันกับการเลือกตั้งทั่วไปของสมาชิภสภาผู้แทนราษฎร หากแต่คณะกรรมการการเลือกตั้งจะเห็นควร) | :(2) ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดทำเอกสารเผยแพร่เกี่ยวกับเรื่องที่จัดทำประชามติให้ผู้มีสิทธิออกเสียงทราบ และจัดการลงคะแนนเสียงประชามติทั้งประเทศ (มาตรา 5) (ซึ่งหน่วยเลือกตั้งอาจคล้ายคลึงกันกับการเลือกตั้งทั่วไปของสมาชิภสภาผู้แทนราษฎร หากแต่คณะกรรมการการเลือกตั้งจะเห็นควร) | ||
:(3) | |||
:(3) เมื่อทราบผลคณะกรรมการการเลือกตั้งต้องประกาศผลการออกเสียงประชามติและจำนวนผู้มาใช้สิทธิออกเสียงและแจ้งผลไปยัง[[นายกรัฐมนตรี]]โดยเร็ว (มาตรา 22) | |||
บรรทัดที่ 22: | บรรทัดที่ 23: | ||
ทั้งนี้ นับตั้งแต่ที่มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ.2541 | ทั้งนี้ นับตั้งแต่ที่มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ.2541 ได้มีการออกเสียง[[ประชามติ]]เพียงแค่ 1 ครั้ง แต่ก็นับว่าเป็นครั้งที่สำคัญมาก เพราะเป็นการออกเสียงประชามติเพื่อ'''รับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' และยังนับได้ว่าเป็นการออกเสียงประชามติในการรับร่างรัฐธรรมนูญครั้งแรกของไทยอีกด้วย | ||
บรรทัดที่ 29: | บรรทัดที่ 30: | ||
ในกรณีที่เสียงข้างมากของผู้มาออกเสียงประชามติไม่เห็นชอบให้ใช้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ สภาร่างรัฐธรรมนูญจะสิ้นสุดลง คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติจะประชุมร่วมกับคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่ได้เคยประกาศใช้บังคับมาแล้วฉบับใดฉบับหนึ่งมาปรับปรุงให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันออกเสียงประชามติ และนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญต่อไป | ในกรณีที่เสียงข้างมากของผู้มาออกเสียงประชามติไม่เห็นชอบให้ใช้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ สภาร่างรัฐธรรมนูญจะสิ้นสุดลง คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติจะประชุมร่วมกับคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่ได้เคยประกาศใช้บังคับมาแล้วฉบับใดฉบับหนึ่งมาปรับปรุงให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันออกเสียงประชามติ และนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญต่อไป | ||
==ผลการออกเสียง== | ==ผลการออกเสียง== | ||
ผลการออกเสียงตามรายงานผลอย่างเป็นทางการของคณะกรรมการการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2550 | ผลการออกเสียงตามรายงานผลอย่างเป็นทางการของคณะกรรมการการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2550 | ||
{| border="2" align="center" | |||
|- | |||
! colspan="3" style="background:#87cefa;"|ผลการออกเสียง | |||
|- | |||
|จำนวนผู้มาใช้สิทธิ | |||
|width="100" align ="center" |25,978,654 | |||
|width="100" align ="center" |57.61% | |||
|- | |||
|จำนวนผู้ไม่มาใช้สิทธิ | |||
|width="100" align ="center" |19,114,001 | |||
|width="100" align ="center" |42.39% | |||
|- | |||
|ผู้มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด | |||
| colspan="2" align="center" |45,092,955 | |||
|- | |||
! colspan="3" style="background:#87cefa;"|การลงคะแนน | |||
|- | |||
|บัตรที่นับเป็นคะแนน | |||
|width="100" align ="center" |25,474,747 | |||
|width="100" align ="center" |98.06% | |||
|- | |||
|บัตรที่ไม่นับเป็นคะแนน (บัตรเสีย/การคืนบัตร/อื่นๆ) | |||
|width="100" align ="center" |504,207 | |||
|width="100" align ="center" |1.94% | |||
|- | |||
|รวม | |||
|colspan="2" align="center" |25,978,954 | |||
|- | |||
! colspan="3" style="background:#87cefa;"|การเห็นชอบและไม่เห็นชอบ | |||
|- | |||
|เห็นชอบ | |||
|width="100" align ="center" |14,727,306 | |||
|width="100" align ="center" |57.81% | |||
|- | |||
|ไม่เห็นชอบ | |||
|width="100" align ="center" |10,747,441 | |||
|width="100" align ="center" |42.19% | |||
|- | |||
|รวม | |||
|colspan="2" align="center" |25,474,747 | |||
|- | |||
|} | |||
==ตัวอย่างเอกสาร== | ==ตัวอย่างเอกสาร== | ||
[[image:2551_draft_constitution_cover.JPG|90px|left|frame|เอกสารร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550]] | |||
ด้านซ้ายมือเป็นเอกสารร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่สภาร่างรัฐธรรมนูฐ พ.ศ.2550 แจกให้ประชาชนครัวเรือนและ 1 เล่ม เพื่อใช้ในการตัดสินใจว่าจะรับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ตามวิธีการออกเสียงประชามติ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ.2541 | |||
==ดูเพิ่มเติม== | ==ดูเพิ่มเติม== | ||
*[[:category:กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง| | *[[:category:กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง|รายการกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง]] | ||
[[category:กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง|พ2541พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2541]] | [[category:กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง|พ2541พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2541]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:52, 19 สิงหาคม 2556
ผู้เรียบเรียง นพรัตน์ วงศ์วิทยาพาณิชย์ และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ.2541 ได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2541 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ในมาตรา 329 วรรรค 5 บทเฉพาะกาล โดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2541 มีสาระสำคัญต่าง ๆ ดังนี้
สาระสำคัญ
- (1) การทำประชามติต้องออกเป็นประกาศของนายกรัฐมนตรีในราชกิจจานุเบกษา โดยกำหนดวันออกเสียงประชามติ และกำหนดเรื่องในการจัดทำประชามติ ว่าเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในเรื่องที่จัดทำประชามติ (มาตรา 4)
- (2) ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดทำเอกสารเผยแพร่เกี่ยวกับเรื่องที่จัดทำประชามติให้ผู้มีสิทธิออกเสียงทราบ และจัดการลงคะแนนเสียงประชามติทั้งประเทศ (มาตรา 5) (ซึ่งหน่วยเลือกตั้งอาจคล้ายคลึงกันกับการเลือกตั้งทั่วไปของสมาชิภสภาผู้แทนราษฎร หากแต่คณะกรรมการการเลือกตั้งจะเห็นควร)
- (3) เมื่อทราบผลคณะกรรมการการเลือกตั้งต้องประกาศผลการออกเสียงประชามติและจำนวนผู้มาใช้สิทธิออกเสียงและแจ้งผลไปยังนายกรัฐมนตรีโดยเร็ว (มาตรา 22)
- (4) เมื่อคณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการออกเสียงประชามติแล้ว ผู้มีสิทธิออกเสียงสามารถคัดค้านเมื่อเห็นว่าการออกเสียงประชามตินั้นไม่ถูกต้องหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง ภายใน 30 วัน (มาตรา 23)
ทั้งนี้ นับตั้งแต่ที่มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ.2541 ได้มีการออกเสียงประชามติเพียงแค่ 1 ครั้ง แต่ก็นับว่าเป็นครั้งที่สำคัญมาก เพราะเป็นการออกเสียงประชามติเพื่อรับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และยังนับได้ว่าเป็นการออกเสียงประชามติในการรับร่างรัฐธรรมนูญครั้งแรกของไทยอีกด้วย
ร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ได้เปิดให้ประชาชนออกเสียงประชามติเมื่อวันที่ 19สิงหาคม พ.ศ. 2550 ช่วงเวลา 8.00 น.ถึง 16.00 น. โดยใช้วิธีกากบาทลงบัตรเหมือนการเลือกตั้ง ในกรณีที่ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งโดยเสียงข้างมากของผู้มาออกเสียงประชามติเห็นชอบให้นำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่มาใช้บังคับแล้ว ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติจะนำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว จะประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใช้บังคับได้
ในกรณีที่เสียงข้างมากของผู้มาออกเสียงประชามติไม่เห็นชอบให้ใช้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ สภาร่างรัฐธรรมนูญจะสิ้นสุดลง คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติจะประชุมร่วมกับคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่ได้เคยประกาศใช้บังคับมาแล้วฉบับใดฉบับหนึ่งมาปรับปรุงให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันออกเสียงประชามติ และนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญต่อไป
ผลการออกเสียง
ผลการออกเสียงตามรายงานผลอย่างเป็นทางการของคณะกรรมการการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2550
ผลการออกเสียง | ||
---|---|---|
จำนวนผู้มาใช้สิทธิ | 25,978,654 | 57.61% |
จำนวนผู้ไม่มาใช้สิทธิ | 19,114,001 | 42.39% |
ผู้มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด | 45,092,955 | |
การลงคะแนน | ||
บัตรที่นับเป็นคะแนน | 25,474,747 | 98.06% |
บัตรที่ไม่นับเป็นคะแนน (บัตรเสีย/การคืนบัตร/อื่นๆ) | 504,207 | 1.94% |
รวม | 25,978,954 | |
การเห็นชอบและไม่เห็นชอบ | ||
เห็นชอบ | 14,727,306 | 57.81% |
ไม่เห็นชอบ | 10,747,441 | 42.19% |
รวม | 25,474,747 |
ตัวอย่างเอกสาร
ด้านซ้ายมือเป็นเอกสารร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่สภาร่างรัฐธรรมนูฐ พ.ศ.2550 แจกให้ประชาชนครัวเรือนและ 1 เล่ม เพื่อใช้ในการตัดสินใจว่าจะรับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ตามวิธีการออกเสียงประชามติ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ.2541