ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉม..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล
'''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล
 
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ
 
 
 
<span style="font-size:x-large;">'''พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492'''</span>
 
&nbsp;


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ'''&nbsp;''':''' ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ
<p style="text-align: center;">&nbsp;</p> <p style="text-align: center;"><span style="font-size:x-large;">'''พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492'''</span></p>
<span style="font-size:x-large;">'''ความเป็นมา'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''ความเป็นมา'''</span>


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เจตนารมณ์ในการประกาศใช้พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492 เพื่อจัดตั้ง '''“คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์”''' ขึ้น เป็นคณะกรรมการแยกต่างหากจากคณะกรรมการกฤษฎีกาให้มีอำนาจวินิจฉัยข้อพิพาททางปกครอง โดยให้สิทธิแก่เอกชนที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายเนื่องจากรัฐบาล หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเทศบาล ปฏิบัตินอกเหนือจากอำนาจ หรือละเลยต่อหน้าที่ หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควรยื่นเรื่องราวร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์เพื่อให้ประชาชนมีทางออกในการร้องทุกข์ต่อหน่วยงานของรัฐ บทกฎหมายดังกล่าวนี้เกิดขึ้นอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 มาตรา 42 กำหนดให้ประชาชนคนเดียว หรือหลายคนร่วมกันย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องราวร้องทุกข์ภายในเงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เจตนารมณ์ในการประกาศใช้พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492 เพื่อจัดตั้ง '''“คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์”''' ขึ้น เป็นคณะกรรมการแยกต่างหากจากคณะกรรมการกฤษฎีกาให้มีอำนาจวินิจฉัยข้อพิพาททางปกครอง โดยให้สิทธิแก่เอกชนที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายเนื่องจากรัฐบาล หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเทศบาล ปฏิบัตินอกเหนือจากอำนาจ หรือละเลยต่อหน้าที่ หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควรยื่นเรื่องราวร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์เพื่อให้ประชาชนมีทางออกในการร้องทุกข์ต่อหน่วยงานของรัฐ บทกฎหมายดังกล่าวนี้เกิดขึ้นอันเป็นผลสืบเนื่องมาจาก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2492|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2492]] มาตรา 42 กำหนดให้ประชาชนคนเดียว หรือหลายคนร่วมกันย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องราวร้องทุกข์ภายในเงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ


&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 18: บรรทัดที่ 12:
<span style="font-size:x-large;">'''สาระสำคัญของกฎหมาย'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''สาระสำคัญของกฎหมาย'''</span>


'''วันที่มีผลบังคับใช้ของพระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์'''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''วันที่มีผลบังคับใช้ของพระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กฎหมายว่าด้วยเรื่องราวร้องทุกข์ตราขึ้นโดยได้รับพระบรมราชโองการในพระปรมาภิไธย&nbsp;สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภาให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป โดยกฎหมายดังกล่าวนี้ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2492 จึงส่งผลให้กฎหมายฉบับดังกล่าวนี้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2492 เป็นต้นไป
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กฎหมายว่าด้วยเรื่องราวร้องทุกข์ตราขึ้นโดยได้รับพระบรมราชโองการในพระปรมาภิไธย&nbsp;สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภาให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป โดยกฎหมายดังกล่าวนี้ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ วันที่ 15 มีนาคม 2492 จึงส่งผลให้กฎหมายฉบับดังกล่าวนี้มีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 16 มีนาคม 2492 เป็นต้นไป


'''กฎหมายว่าด้วยเรื่องราวร้องทุกข์ให้สิทธิแก่ใครบ้าง'''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''กฎหมายว่าด้วยเรื่องราวร้องทุกข์ให้สิทธิแก่ใครบ้าง'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กฎหมายนี้มีเจตนารมณ์เพื่อให้ '''“ประชาชน”''' ที่ได้รับความเดือนร้อนหรือเสียหายประสงค์จะได้รับการปลดเปลื้องทุกข์จากการกระทำของรัฐบาล หรือ เจ้าหน้าที่รัฐบาล หรือ เทศบาลปฏิบัติการนอกเหนืออำนาจหน้าที่หรือละเลยต่อหน้าที่ หรือ ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร ใช้ดุลพินิจเกินสมควรแก่เหตุ หรือ ไม่สุจริต (มาตรา 4)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กฎหมายนี้มีเจตนารมณ์เพื่อให้ '''“ประชาชน”''' ที่ได้รับความเดือนร้อนหรือเสียหายประสงค์จะได้รับการปลดเปลื้องทุกข์จากการกระทำของรัฐบาล หรือ เจ้าหน้าที่รัฐบาล หรือ เทศบาลปฏิบัติการนอกเหนืออำนาจหน้าที่หรือละเลยต่อหน้าที่ หรือ ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร ใช้ดุลพินิจเกินสมควรแก่เหตุ หรือ ไม่สุจริต (มาตรา 4)
บรรทัดที่ 28: บรรทัดที่ 22:
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับ '''“ทหาร”''' หรือ '''“ตำรวจ”''' หากมีความประสงค์จะเสนอเรื่องราวร้องทุกข์อันเกี่ยวกับราชการทหารหรือตำรวจ ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎข้อบังคับว่าด้วยการนั้น (มาตรา 3 วรรคสอง) ถือได้ว่าสำหรับทหารและตำรวจจะต้องดำเนินการตามกฎหมายเฉพาะไม่อยู่ภายใต้กฎหมายว่าด้วยเรื่องราวร้องทุกข์ฉบับนี้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับ '''“ทหาร”''' หรือ '''“ตำรวจ”''' หากมีความประสงค์จะเสนอเรื่องราวร้องทุกข์อันเกี่ยวกับราชการทหารหรือตำรวจ ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎข้อบังคับว่าด้วยการนั้น (มาตรา 3 วรรคสอง) ถือได้ว่าสำหรับทหารและตำรวจจะต้องดำเนินการตามกฎหมายเฉพาะไม่อยู่ภายใต้กฎหมายว่าด้วยเรื่องราวร้องทุกข์ฉบับนี้


'''วิธีการยื่นเรื่องราวร้องทุกข์'''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''วิธีการยื่นเรื่องราวร้องทุกข์'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กฎหมายกำหนดให้ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายที่มีความประสงค์จะได้รับการปลดเปลื้องทุกข์ต้องยื่น “'''คำเสนอเรื่องราวร้องทุกข์'''” อันประกอบด้วย (มาตรา 6)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กฎหมายกำหนดให้ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายที่มีความประสงค์จะได้รับการปลดเปลื้องทุกข์ต้องยื่น “'''คำเสนอเรื่องราวร้องทุกข์'''” อันประกอบด้วย (มาตรา 6)
บรรทัดที่ 42: บรรทัดที่ 36:
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ผู้เสนอต้องส่งเสนอเรื่องราวร้องทุกข์ไปที่ '''“สำนักงานของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์”''' (มาตรา 8) อนึ่ง สำนักงานฯ ดังกล่าวถูกจัดตั้งโดย '''“พระราชกฤษฎีกา”''' อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492 (มาตรา 15)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ผู้เสนอต้องส่งเสนอเรื่องราวร้องทุกข์ไปที่ '''“สำนักงานของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์”''' (มาตรา 8) อนึ่ง สำนักงานฯ ดังกล่าวถูกจัดตั้งโดย '''“พระราชกฤษฎีกา”''' อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492 (มาตรา 15)


'''เรื่องที่ห้ามมิให้รับไว้พิจารณา'''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''เรื่องที่ห้ามมิให้รับไว้พิจารณา'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;กฎหมายกำหนดเรื่องที่ห้ามมิให้รับไว้พิจารณา 3 กรณี คือ (มาตรา 5)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;กฎหมายกำหนดเรื่องที่ห้ามมิให้รับไว้พิจารณา 3 กรณี คือ (มาตรา 5)
บรรทัดที่ 52: บรรทัดที่ 46:
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3) เรื่องราวซึ่งนายกรัฐมนตรีได้สั่งเด็ดขาดหรือคณะรัฐมนตรีมีมติเด็ดขาดแล้ว
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3) เรื่องราวซึ่งนายกรัฐมนตรีได้สั่งเด็ดขาดหรือคณะรัฐมนตรีมีมติเด็ดขาดแล้ว


'''คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์'''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;1) องค์ประกอบคณะกรรมการ''&nbsp;''คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คน และ กรรมการอื่นอีกไม่น้อยกว่า 6 คน (มาตรา 9) โดยให้มีเลขานุการคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์และพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการงานตามสมควร (มาตรา 11)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;1) องค์ประกอบคณะกรรมการ''&nbsp;''คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คน และ กรรมการอื่นอีกไม่น้อยกว่า 6 คน (มาตรา 9) โดยให้มีเลขานุการคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์และพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการงานตามสมควร (มาตรา 11)
บรรทัดที่ 66: บรรทัดที่ 60:
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;- ประธานกรรมการและกรรมการมีวาระการดำรงตำแหน่ง 2 ปี เมื่อสิ้นกำหนดสองปีแล้วอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่ได้
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;- ประธานกรรมการและกรรมการมีวาระการดำรงตำแหน่ง 2 ปี เมื่อสิ้นกำหนดสองปีแล้วอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่ได้


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;- ประธานกรรมการและกรรมการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาให้จำคุก หรือ ต้องคำพิพากษาให้ล้มละลาย หรือ ไร้ความสามารถ หรือ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;- ประธานกรรมการและกรรมการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาให้จำคุก หรือต้องคำพิพากษาให้ล้มละลาย หรือไร้ความสามารถ หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4) อำนาจของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์หรืออนุกรรมการ (มาตรา 17)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4) อำนาจของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์หรืออนุกรรมการ (มาตรา 17)
บรรทัดที่ 86: บรรทัดที่ 80:
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;- มีหนังสือขอให้กระทรวง ทบวง กรม และเทศบาลสั่งบุคคลในสังกัดคนใดคนหนึ่งหรือหลายคนทำการสอบปากคำพยานส่งมาประกอบการพิจารณา
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;- มีหนังสือขอให้กระทรวง ทบวง กรม และเทศบาลสั่งบุคคลในสังกัดคนใดคนหนึ่งหรือหลายคนทำการสอบปากคำพยานส่งมาประกอบการพิจารณา


'''กระบวนการดำเนินงานของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์'''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''กระบวนการดำเนินงานของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์'''


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เมื่อ '''“คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์”''' ได้รับเรื่องราวร้องทุกข์แล้ว ให้ประธานกรรมการมอบให้กรรมการคนใด หรือตัวประธานกรรมการเองก็ได้ มีหน้าที่ตรวจพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ฉบับนั้นแล้วปรึกษาในคณะกรรมการ โดยองค์ประชุมต้องมีกรรมการเกินกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด (มาตรา 12) อย่างไรก็ดี คณะกรรมการฯ สามารถตั้ง '''“อนุกรรมการ”''' เพื่อทำหน้าที่พิจารณา ณ สถานที่ ๆ อ้างว่าเกิดเหตุอันเป็นมูลให้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์นั้น โดยอนุกรรมการที่แต่งตั้งต้องมีจำนวนไม่เกินกว่า 5 คน และอย่างน้อย 2 คน ต้องเป็นบุคคลที่ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ระบุขอให้ตั้งเป็นอนุกรรมการ เว้นแต่ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ไม่ได้ระบุขอ (มาตรา 13)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เมื่อ '''“คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์”''' ได้รับเรื่องราวร้องทุกข์แล้ว ให้ประธานกรรมการมอบให้กรรมการคนใด หรือตัวประธานกรรมการเองก็ได้ มีหน้าที่ตรวจพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ฉบับนั้นแล้วปรึกษาในคณะกรรมการ โดยองค์ประชุมต้องมีกรรมการเกินกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด (มาตรา 12) อย่างไรก็ดี คณะกรรมการฯ สามารถตั้ง '''“อนุกรรมการ”''' เพื่อทำหน้าที่พิจารณา ณ สถานที่ ๆ อ้างว่าเกิดเหตุอันเป็นมูลให้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์นั้น โดยอนุกรรมการที่แต่งตั้งต้องมีจำนวนไม่เกินกว่า 5 คน และอย่างน้อย 2 คน ต้องเป็นบุคคลที่ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ระบุขอให้ตั้งเป็นอนุกรรมการ เว้นแต่ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ไม่ได้ระบุขอ (มาตรา 13)


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในการพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ หากปรากฏมูลในความผิดทางอาญา คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์หรืออนุกรรมการจะขอให้พนักงานสอบสวนเข้าทำการสอบสวนเรื่องราวนั้นพร้อมกับคณะกรรมการหรืออนุกรรมการก็ได้ (มาตรา 18) คำวินิจฉัยของคณะกรรมการฯ ให้ถือเอาคะแนนเสียงข้างมาก ในกรณี<br/> ที่คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานกรรมการออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคะแนนเป็นเสียงชี้ขาด (มาตรา 14)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในการพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ หากปรากฏมูลในความผิดทางอาญา คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์หรืออนุกรรมการจะขอให้พนักงานสอบสวนเข้าทำการสอบสวนเรื่องราวนั้นพร้อมกับคณะกรรมการหรืออนุกรรมการก็ได้ (มาตรา 18) คำวินิจฉัยของคณะกรรมการฯ ให้ถือเอาคะแนนเสียงข้างมาก ในกรณีที่คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานกรรมการออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคะแนนเป็นเสียงชี้ขาด (มาตรา 14)


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในกรณีที่คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์หรืออนุกรรมการแจ้งไปยังผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ให้อ้างพยานและนำหลักฐานมาแสดง แต่ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ไม่ได้ดำเนินการภายหลังจากล่วงเลยระยะเวลามาแล้วหกสิบวัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรให้ถือว่า '''“ละทิ้งเรื่องราวร้องทุกข์”''' คณะกรรมการมีอำนาจสั่งจำหน่ายเรื่องราวร้องทุกข์ออกจากสารบบบัญชี (มาตรา 19)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในกรณีที่คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์หรืออนุกรรมการแจ้งไปยังผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ให้อ้างพยานและนำหลักฐานมาแสดง แต่ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ไม่ได้ดำเนินการภายหลังจากล่วงเลยระยะเวลามาแล้วหกสิบวัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรให้ถือว่า '''“ละทิ้งเรื่องราวร้องทุกข์”''' คณะกรรมการมีอำนาจสั่งจำหน่ายเรื่องราวร้องทุกข์ออกจากสารบบบัญชี (มาตรา 19)


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เมื่อคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์พิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์รายใดเป็นอย่างใดแล้ว ให้'''“แจ้งคำวินิจฉัย” '''ไปยังนายกรัฐมนตรีและให้คณะกรรมการแจ้งไปให้ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ทราบคำวินิจฉัยของคณะกรรมการด้วย ภายในกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้มีคำวินิจฉัย เมื่อนายกรัฐมนตรีได้รับแจ้งคำวินิจฉัยแล้วได้จัดการไปเป็นประการใดให้แจ้งให้คณะกรรมการทราบภายในกำหนดหกสิบวัน นับแต่วันได้รับแจ้งคำวินิจฉัยของคณะกรรมการและให้คณะกรรมการแจ้งผลให้ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ทราบด้วย ภายในกำหนดสิบห้าวันนับจากวันที่คณะกรรมการได้รับแจ้ง (มาตรา 20)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เมื่อคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์พิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์รายใดเป็นอย่างใดแล้ว ให้&nbsp;'''“แจ้งคำวินิจฉัย” '''ไปยังนายกรัฐมนตรีและให้คณะกรรมการแจ้งไปให้ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ทราบคำวินิจฉัยของคณะกรรมการด้วย ภายในกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้มีคำวินิจฉัย เมื่อนายกรัฐมนตรีได้รับแจ้งคำวินิจฉัยแล้วได้จัดการไปเป็นประการใดให้แจ้งให้คณะกรรมการทราบภายในกำหนดหกสิบวัน นับแต่วันได้รับแจ้งคำวินิจฉัยของคณะกรรมการและให้คณะกรรมการแจ้งผลให้ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ทราบด้วย ภายในกำหนดสิบห้าวันนับจากวันที่คณะกรรมการได้รับแจ้ง (มาตรา 20)


&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 100: บรรทัดที่ 94:
<span style="font-size:x-large;">'''ข้อสังเกต'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''ข้อสังเกต'''</span>


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การดำเนินกระบวนพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ตามกฎหมายฉบับนี้ไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายที่ให้สิทธิแก่เอกชนที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายเนื่องจากรัฐบาล หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือ เทศบาล ปฏิบัตินอกเหนือจากอำนาจ หรือ ละเลยต่อหน้าที่<br/> หรือ ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควรยื่นเรื่องราวร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ เพราะการดำเนินการอาศัยหลักของกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มากเกินไป ทำให้เมื่อมีการกล่าวอ้างเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการให้เอกชนได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายต้องมีภาระการนำสืบเพื่อให้คณะกรรมการเห็น จึงเป็นเรื่องยากลำบากที่เอกชนจะสามารถหาพยานหลักฐานจากหน่วยงานของรัฐได้ เนื่องจากหน่วยงานของรัฐมักจะเป็นผู้มีเอกสารสำคัญในครอบครอง นอกจากนี้ พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492 ยังขาดการวางระบบการพิจารณาที่เหมาะสม เนื่องจากกฎหมายมิได้มีการกำหนดกระบวนการพิจารณาที่ชัดเจนภายในกำหนดระยะเวลาใด เป็นต้น จึงเป็นเหตุให้เกิดแนวคิดในการควบคุมการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยมีกระบวนการพิจารณาคดีที่แน่ชัดและไม่ผลักภาระการพิสูจน์ให้แก่ผู้เสนอคำร้อง
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การดำเนินกระบวนพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ตามกฎหมายฉบับนี้ไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายที่ให้สิทธิแก่เอกชนที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายเนื่องจากรัฐบาล หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเทศบาล ปฏิบัตินอกเหนือจากอำนาจ หรือละเลยต่อหน้าที่ หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควรยื่นเรื่องราวร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ เพราะการดำเนินการอาศัยหลักของกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มากเกินไป ทำให้เมื่อมีการกล่าวอ้างเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการให้เอกชนได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายต้องมีภาระการนำสืบเพื่อให้คณะกรรมการเห็น จึงเป็นเรื่องยากลำบากที่เอกชนจะสามารถหาพยานหลักฐานจากหน่วยงานของรัฐได้ เนื่องจากหน่วยงานของรัฐมักจะเป็นผู้มีเอกสารสำคัญในครอบครอง นอกจากนี้ พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492 ยังขาดการวางระบบการพิจารณาที่เหมาะสม เนื่องจากกฎหมายมิได้มีการกำหนดกระบวนการพิจารณาที่ชัดเจนภายในกำหนดระยะเวลาใด เป็นต้น จึงเป็นเหตุให้เกิดแนวคิดในการควบคุมการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยมีกระบวนการพิจารณาคดีที่แน่ชัดและไม่ผลักภาระการพิสูจน์ให้แก่ผู้เสนอคำร้อง


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ต่อมาได้มีการปรับปรุงพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. 2522 เพื่อปรับปรุงการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่และกลไกในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการกฤษฎีกาและสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยให้มีกรรมการ 2 ส่วน คือ กรรมการร่างกฎหมาย และ กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ (มาตรา 7) ให้มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาและวินิจฉัยข้อพิพาททางปกครอง โดยเฉพาะอำนาจในการพิจารณาเรื่องที่ประชาชนได้รับความเดือดร้อนเสียหายจากการกระทำหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือคดีปกครอง คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์จึงเป็นฐานสำคัญของศาลปกครองในเวลาต่อมา จนกระทั่งได้โอนอำนาจไปเป็นอำนาจของศาลปกครองเมื่อมีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นในปี พ.ศ. 2542
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ต่อมาได้มีการปรับปรุงพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. 2522 เพื่อปรับปรุงการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่และกลไกในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการกฤษฎีกาและสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยให้มีกรรมการ 2 ส่วน คือ กรรมการร่างกฎหมาย และ กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ (มาตรา 7) ให้มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาและวินิจฉัยข้อพิพาททางปกครอง โดยเฉพาะอำนาจในการพิจารณาเรื่องที่ประชาชนได้รับความเดือดร้อนเสียหายจากการกระทำหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือคดีปกครอง คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์จึงเป็นฐานสำคัญของศาลปกครองในเวลาต่อมา จนกระทั่งได้โอนอำนาจไปเป็นอำนาจของศาลปกครองเมื่อมีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นใน ปี พ.ศ. 2542


&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 108: บรรทัดที่ 102:
<span style="font-size:x-large;">'''บรรณานุกรม'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''บรรณานุกรม'''</span>


ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 66/ตอนที่ 15/15 มีนาคม 2492. '''พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พุทธศักราช 2492'''
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 66/ตอนที่ 15/15 มีนาคม 2492. พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พุทธศักราช 2492


ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 96/ตอนที่ 69/ฉบับพิเศษ/1 พฤษภาคม 2522. '''พระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. 2522'''
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 96/ตอนที่ 69/ฉบับพิเศษ/1 พฤษภาคม 2522. พระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. 2522


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 66/ตอนที่ 17/ฉบับพิเศษ/23 มีนาคม 2492.'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย'''
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 66/ตอนที่ 17/ฉบับพิเศษ/23 มีนาคม 2492.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย


[[Category:กฎหมายเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่]][[Category:การร้องทุกข์]]
[[Category:กฎหมายเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่]] [[Category:การร้องทุกข์]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:30, 15 มีนาคม 2566

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ

 

พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492

ความเป็นมา

          เจตนารมณ์ในการประกาศใช้พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492 เพื่อจัดตั้ง “คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์” ขึ้น เป็นคณะกรรมการแยกต่างหากจากคณะกรรมการกฤษฎีกาให้มีอำนาจวินิจฉัยข้อพิพาททางปกครอง โดยให้สิทธิแก่เอกชนที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายเนื่องจากรัฐบาล หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเทศบาล ปฏิบัตินอกเหนือจากอำนาจ หรือละเลยต่อหน้าที่ หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควรยื่นเรื่องราวร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์เพื่อให้ประชาชนมีทางออกในการร้องทุกข์ต่อหน่วยงานของรัฐ บทกฎหมายดังกล่าวนี้เกิดขึ้นอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2492 มาตรา 42 กำหนดให้ประชาชนคนเดียว หรือหลายคนร่วมกันย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องราวร้องทุกข์ภายในเงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ

 

สาระสำคัญของกฎหมาย

          วันที่มีผลบังคับใช้ของพระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์

          กฎหมายว่าด้วยเรื่องราวร้องทุกข์ตราขึ้นโดยได้รับพระบรมราชโองการในพระปรมาภิไธย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภาให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป โดยกฎหมายดังกล่าวนี้ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ วันที่ 15 มีนาคม 2492 จึงส่งผลให้กฎหมายฉบับดังกล่าวนี้มีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 16 มีนาคม 2492 เป็นต้นไป

          กฎหมายว่าด้วยเรื่องราวร้องทุกข์ให้สิทธิแก่ใครบ้าง

          กฎหมายนี้มีเจตนารมณ์เพื่อให้ “ประชาชน” ที่ได้รับความเดือนร้อนหรือเสียหายประสงค์จะได้รับการปลดเปลื้องทุกข์จากการกระทำของรัฐบาล หรือ เจ้าหน้าที่รัฐบาล หรือ เทศบาลปฏิบัติการนอกเหนืออำนาจหน้าที่หรือละเลยต่อหน้าที่ หรือ ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร ใช้ดุลพินิจเกินสมควรแก่เหตุ หรือ ไม่สุจริต (มาตรา 4)

          สำหรับ “ทหาร” หรือ “ตำรวจ” หากมีความประสงค์จะเสนอเรื่องราวร้องทุกข์อันเกี่ยวกับราชการทหารหรือตำรวจ ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎข้อบังคับว่าด้วยการนั้น (มาตรา 3 วรรคสอง) ถือได้ว่าสำหรับทหารและตำรวจจะต้องดำเนินการตามกฎหมายเฉพาะไม่อยู่ภายใต้กฎหมายว่าด้วยเรื่องราวร้องทุกข์ฉบับนี้

          วิธีการยื่นเรื่องราวร้องทุกข์

          กฎหมายกำหนดให้ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายที่มีความประสงค์จะได้รับการปลดเปลื้องทุกข์ต้องยื่น “คำเสนอเรื่องราวร้องทุกข์” อันประกอบด้วย (มาตรา 6)

          1) มีเหตุผลประกอบโดยชัดแจ้ง

          2) ใช้ถ้อยคำสุภาพ

          3) ลงลายมือชื่อและตำบลที่อยู่ของผู้เสนอให้ชัดเจน ในกรณีที่ไม่ปรากฎลายมือชื่อและตำบลที่อยู่ของผู้เสนอ หากเป็นการร้องทุกข์กล่าวหาเจ้าหน้าที่รัฐบาลหรือเทศบาล คณะกรรมการจะรับไว้พิจารณาก็ได้เมื่อมีเหตุผลประกอบโดยชัดแจ้ง และอ้างพยานหลักฐานอันจะเรียกมาพิจารณาได้ (มาตรา 7)

          คำเสนอเรื่องราวร้องทุกข์ให้ถือว่าเป็น “ความลับ” (มาตรา 22)

          ผู้เสนอต้องส่งเสนอเรื่องราวร้องทุกข์ไปที่ “สำนักงานของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์” (มาตรา 8) อนึ่ง สำนักงานฯ ดังกล่าวถูกจัดตั้งโดย “พระราชกฤษฎีกา” อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492 (มาตรา 15)

          เรื่องที่ห้ามมิให้รับไว้พิจารณา

          กฎหมายกำหนดเรื่องที่ห้ามมิให้รับไว้พิจารณา 3 กรณี คือ (มาตรา 5)

          1) เรื่องราวซึ่งมีการฟ้องร้องเป็นคดีอยู่ในศาลยุตติธรรม หรือ ที่ศาลยุตติธรรมพิพากษาหรือสั่งเด็ดขาดแล้ว

          2) เรื่องราวซึ่งคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ได้วินิจฉัยเสร็จเด็ดขาดแล้ว

          3) เรื่องราวซึ่งนายกรัฐมนตรีได้สั่งเด็ดขาดหรือคณะรัฐมนตรีมีมติเด็ดขาดแล้ว

          คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์

          1) องค์ประกอบคณะกรรมการ คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คน และ กรรมการอื่นอีกไม่น้อยกว่า 6 คน (มาตรา 9) โดยให้มีเลขานุการคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์และพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการงานตามสมควร (มาตรา 11)

          2) คุณสมบัติของคณะกรรมการ คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ได้รับการแต่งตั้งโดยพระบรมราชโองการด้วยความเห็นชอบของสภาผู้แทน โดยบุคคลที่จะได้รับแต่งตั้งต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (มาตรา 9 วรรคสอง)

               - เคยเป็นข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าหัวหน้ากองหรือเทียบเท่า และ

               - ต้องไม่เป็นข้าราชการประจำ

          3) วาระการดำรงตำแหน่งและการสิ้นสุด (มาตรา 10) 

               - ประธานกรรมการและกรรมการมีวาระการดำรงตำแหน่ง 2 ปี เมื่อสิ้นกำหนดสองปีแล้วอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่ได้

               - ประธานกรรมการและกรรมการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาให้จำคุก หรือต้องคำพิพากษาให้ล้มละลาย หรือไร้ความสามารถ หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ

          4) อำนาจของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์หรืออนุกรรมการ (มาตรา 17)

               - พิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ว่าเข้าลักษณะที่จะพึงรับไว้พิจารณาหรือไม่ ถ้าเรื่องราวร้องทุกข์ใดเข้าลักษณะที่จะพึงรับไว้พิจารณาจึงให้ดำเนินการต่อไป

               - มีหนังสือสอบถามกระทรวง ทบวง กรม และเทศบาลที่เกี่ยวข้อง ให้ชี้แจงข้อเท็จจริงและการปฏิบัติพร้อมทั้งเหตุผลในกรณีนั้น

               - ให้กระทรวง ทบวง กรม และเทศบาลที่เกี่ยวข้องส่งเอกสารหลักฐานต่าง ๆ หรือสั่งบุคคลในสังกัดมาให้ถ้อยคำประกอบการพิจารณา

               - ให้กระทรวง ทบวง กรม และเทศบาลที่เกี่ยวข้องส่งผู้แทนมาชี้แจง

               - มีหนังสือเรียกผู้ถูกกล่าวหามาทำการสอบสวน หรือ ให้ส่งเอกสารหลักฐานของตนมาประกอบการพิจารณา

               - เรียกให้ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์นำพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณา

               - เรียกบุคคลใดๆ มาให้ถ้อยคำหรือส่งเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกรณีนั้น

               - มีหนังสือขอให้กระทรวง ทบวง กรม และเทศบาลสั่งบุคคลในสังกัดคนใดคนหนึ่งหรือหลายคนทำการสอบปากคำพยานส่งมาประกอบการพิจารณา

          กระบวนการดำเนินงานของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์

          เมื่อ “คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์” ได้รับเรื่องราวร้องทุกข์แล้ว ให้ประธานกรรมการมอบให้กรรมการคนใด หรือตัวประธานกรรมการเองก็ได้ มีหน้าที่ตรวจพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ฉบับนั้นแล้วปรึกษาในคณะกรรมการ โดยองค์ประชุมต้องมีกรรมการเกินกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด (มาตรา 12) อย่างไรก็ดี คณะกรรมการฯ สามารถตั้ง “อนุกรรมการ” เพื่อทำหน้าที่พิจารณา ณ สถานที่ ๆ อ้างว่าเกิดเหตุอันเป็นมูลให้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์นั้น โดยอนุกรรมการที่แต่งตั้งต้องมีจำนวนไม่เกินกว่า 5 คน และอย่างน้อย 2 คน ต้องเป็นบุคคลที่ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ระบุขอให้ตั้งเป็นอนุกรรมการ เว้นแต่ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ไม่ได้ระบุขอ (มาตรา 13)

          ในการพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ หากปรากฏมูลในความผิดทางอาญา คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์หรืออนุกรรมการจะขอให้พนักงานสอบสวนเข้าทำการสอบสวนเรื่องราวนั้นพร้อมกับคณะกรรมการหรืออนุกรรมการก็ได้ (มาตรา 18) คำวินิจฉัยของคณะกรรมการฯ ให้ถือเอาคะแนนเสียงข้างมาก ในกรณีที่คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานกรรมการออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคะแนนเป็นเสียงชี้ขาด (มาตรา 14)

          ในกรณีที่คณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์หรืออนุกรรมการแจ้งไปยังผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ให้อ้างพยานและนำหลักฐานมาแสดง แต่ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ไม่ได้ดำเนินการภายหลังจากล่วงเลยระยะเวลามาแล้วหกสิบวัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรให้ถือว่า “ละทิ้งเรื่องราวร้องทุกข์” คณะกรรมการมีอำนาจสั่งจำหน่ายเรื่องราวร้องทุกข์ออกจากสารบบบัญชี (มาตรา 19)

          เมื่อคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์พิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์รายใดเป็นอย่างใดแล้ว ให้ “แจ้งคำวินิจฉัย” ไปยังนายกรัฐมนตรีและให้คณะกรรมการแจ้งไปให้ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ทราบคำวินิจฉัยของคณะกรรมการด้วย ภายในกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้มีคำวินิจฉัย เมื่อนายกรัฐมนตรีได้รับแจ้งคำวินิจฉัยแล้วได้จัดการไปเป็นประการใดให้แจ้งให้คณะกรรมการทราบภายในกำหนดหกสิบวัน นับแต่วันได้รับแจ้งคำวินิจฉัยของคณะกรรมการและให้คณะกรรมการแจ้งผลให้ผู้เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ทราบด้วย ภายในกำหนดสิบห้าวันนับจากวันที่คณะกรรมการได้รับแจ้ง (มาตรา 20)

 

ข้อสังเกต

          การดำเนินกระบวนพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ของคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ตามกฎหมายฉบับนี้ไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายที่ให้สิทธิแก่เอกชนที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายเนื่องจากรัฐบาล หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเทศบาล ปฏิบัตินอกเหนือจากอำนาจ หรือละเลยต่อหน้าที่ หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควรยื่นเรื่องราวร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ เพราะการดำเนินการอาศัยหลักของกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มากเกินไป ทำให้เมื่อมีการกล่าวอ้างเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการให้เอกชนได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายต้องมีภาระการนำสืบเพื่อให้คณะกรรมการเห็น จึงเป็นเรื่องยากลำบากที่เอกชนจะสามารถหาพยานหลักฐานจากหน่วยงานของรัฐได้ เนื่องจากหน่วยงานของรัฐมักจะเป็นผู้มีเอกสารสำคัญในครอบครอง นอกจากนี้ พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492 ยังขาดการวางระบบการพิจารณาที่เหมาะสม เนื่องจากกฎหมายมิได้มีการกำหนดกระบวนการพิจารณาที่ชัดเจนภายในกำหนดระยะเวลาใด เป็นต้น จึงเป็นเหตุให้เกิดแนวคิดในการควบคุมการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยมีกระบวนการพิจารณาคดีที่แน่ชัดและไม่ผลักภาระการพิสูจน์ให้แก่ผู้เสนอคำร้อง

          ต่อมาได้มีการปรับปรุงพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. 2522 เพื่อปรับปรุงการจัดองค์กร อำนาจหน้าที่และกลไกในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการกฤษฎีกาและสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยให้มีกรรมการ 2 ส่วน คือ กรรมการร่างกฎหมาย และ กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ (มาตรา 7) ให้มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาและวินิจฉัยข้อพิพาททางปกครอง โดยเฉพาะอำนาจในการพิจารณาเรื่องที่ประชาชนได้รับความเดือดร้อนเสียหายจากการกระทำหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือคดีปกครอง คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์จึงเป็นฐานสำคัญของศาลปกครองในเวลาต่อมา จนกระทั่งได้โอนอำนาจไปเป็นอำนาจของศาลปกครองเมื่อมีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นใน ปี พ.ศ. 2542

 

บรรณานุกรม

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 66/ตอนที่ 15/15 มีนาคม 2492. พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พุทธศักราช 2492

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 96/ตอนที่ 69/ฉบับพิเศษ/1 พฤษภาคม 2522. พระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. 2522

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 66/ตอนที่ 17/ฉบับพิเศษ/23 มีนาคม 2492.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย