ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหการ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
สร้างหน้าด้วย " '''เรียบเรียงโดย'''  ผศ.ดร.ณัฐพล ใจจริงและกฤษณ์  วงศ์วิเ..."
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 5: บรรทัดที่ 5:


----
----
<p style="text-align: center;">'''สหการ'''</p>
 
'''1. ความสำคัญ'''
'''1. ความสำคัญ'''


บรรทัดที่ 16: บรรทัดที่ 16:
'''สอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับบุคคลอื่นในการจัดทำบริการสาธารณะ'''
'''สอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับบุคคลอื่นในการจัดทำบริการสาธารณะ'''


วิธีการนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นตาม
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วิธีการนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด หรือรวมกันกับเอกชนในการจัดตั้งนิติบุคคลขึ้นมาเพื่อดำเนินการจัดทำบริการสาธารณะ เช่น ตั้งวิสาหกิจมหาชนในท้องถิ่น หรือการจัดตั้งสหการ เป็นต้น
 
เงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด หรือรวมกันกับเอกชนในการจัดตั้งนิติบุคคลขึ้นมาเพื่อดำเนินการจัดทำบริการสาธารณะ เช่น ตั้งวิสาหกิจมหาชนในท้องถิ่น หรือการจัดตั้งสหการ เป็นต้น


'''สาม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมายให้เอกชนทำ'''
'''สาม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมายให้เอกชนทำ'''


วิธีการนี้เป็นวิธีการที่ประหยัดงบประมาณมากที่สุดในการจัดทำบริการสาธารณะ โดยการใช้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วิธีการนี้เป็นวิธีการที่ประหยัดงบประมาณมากที่สุดในการจัดทำบริการสาธารณะ โดยการใช้เครื่องมือทางกฎหมายที่เรียกว่า “สัญญาทางปกครอง” ควบคุมการจัดทำบริการสาธารณะของเอกชน อย่างไรก็ตาม การให้เอกชนเป็นผู้จัดทำทั้งหมดอาจส่งผลให้บริการสาธารณะนั้น ๆ อาจไม่ตรงตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเองก็ไม่สามารถลงไปควบคุมได้ทุกขั้นตอน ทำได้แต่เพียงควบคุมให้เป็นไปตามสัญญาทางปกครองเท่านั้น
 
เครื่องมือทางกฎหมายที่เรียกว่า “สัญญาทางปกครอง” ควบคุมการจัดทำบริการสาธารณะของเอกชน อย่างไรก็ตาม การให้เอกชนเป็นผู้จัดทำทั้งหมดอาจส่งผลให้บริการสาธารณะนั้น ๆ อาจไม่ตรงตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเองก็ไม่สามารถลงไปควบคุมได้ทุกขั้นตอน ทำได้แต่เพียงควบคุมให้เป็นไปตามสัญญาทางปกครองเท่านั้น


&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จะเห็นได้ว่าการจัดทำบริการสาธารณะในลักษณะการจัดตั้งสหการ เป็นรูปแบบหนึ่งที่น่าสนใจเนื่องจากเป็นรูปแบบที่เกิดจากความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับบุคคลอื่นไม่ว่าจะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเอง หรือหน่วยงานอื่นตามที่กฎหมายกำหนด การจัดตั้งสหการมีข้อดีอย่างน้อยสองประการคือ


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จะเห็นได้ว่าการจัดทำบริการสาธารณะในลักษณะการจัดตั้งสหการ เป็นรูปแบบหนึ่งที่น่าสนใจเนื่องจากเป็นรูปแบบที่เกิดจากความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับบุคคลอื่นไม่ว่าจะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเอง หรือหน่วยงานอื่นตามที่กฎหมายกำหนด การจัดตั้งสหการมีข้อดีอย่างน้อยสองประการคือ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;'''ประการแรก '''เป็นวิธีการจัดทำบริการสาธารณะที่อยู่ตรงกลางระหว่างรูปแบบที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเองทั้งหมด ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณเป็นจำนวนมาก และรูปแบบที่ให้เอกชนเป็นคนดำเนินการแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งการควบคุมสามารถทำได้แต่เพียงตามที่สัญญากำหนดเท่านั้น


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประการแรก เป็นวิธีการจัดทำบริการสาธารณะที่อยู่ตรงกลางระหว่างรูปแบบที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเองทั้งหมด ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณเป็นจำนวนมาก และรูปแบบที่ให้เอกชนเป็นคนดำเนินการแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งการควบคุมสามารถทำได้แต่เพียงตามที่สัญญากำหนดเท่านั้น
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;'''ประการที่สอง''' ในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความจำเป็นที่จะต้องจัดทำบริการสาธารณะนอกเขตพื้นที่ของตน เช่น บริการรถรับขนส่งคนโดยสาร ตามกฎหมายแล้วองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ จะต้องได้รับความยินยอมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเจ้าของพื้นที่ที่ตนจะข้ามเขตพื้นที่ และได้รับความเห็นชอบจากผู้กำกับดูแลด้วย ซึ่งเป็นเรื่องยุ่งยากหลายขั้นตอน หากดำเนินการจัดตั้งสหการขึ้นมาย่อมสะดวกและสามารถจัดทำบริการสาธารณะได้หลากหลาย
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประการที่สอง ในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความจำเป็นที่จะต้องจัดทำบริการสาธารณะนอกเขตพื้นที่ของตน เช่น บริการรถรับขนส่งคนโดยสาร ตามกฎหมายแล้วองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ จะต้องได้รับความยินยอมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเจ้าของพื้นที่ที่ตนจะข้ามเขตพื้นที่ และได้รับความเห็นชอบจากผู้กำกับดูแลด้วย ซึ่งเป็นเรื่องยุ่งยากหลายขั้นตอน หากดำเนินการจัดตั้งสหการขึ้นมาย่อมสะดวกและสามารถจัดทำบริการสาธารณะได้หลากหลาย


&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 40: บรรทัดที่ 34:
'''2.1 ความหมายของสหการ'''
'''2.1 ความหมายของสหการ'''


สหการ คือ องค์กรที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่เกิดจากการร่วมมือกันขององค์กรปกครองส่วน
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สหการ คือ องค์กรที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่เกิดจากการร่วมมือกันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งแต่สองแห่งขึ้นไปหรือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับนิติบุคคลมหาชนอื่น มีความเป็นอิสระจากหน่วยการปกครองท้องถิ่นเดิมเพื่อจัดทำบริการสาธารณะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการจัดองค์กรและการแสวงหารายได้จากแหล่งต่าง ๆ ในนามของสหการเอง[[#_ftn2|[2]]]
 
ท้องถิ่นตั้งแต่สองแห่งขึ้นไปหรือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับนิติบุคคลมหาชนอื่น มีความเป็นอิสระจากหน่วยการปกครองท้องถิ่นเดิมเพื่อจัดทำบริการสาธารณะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการจัดองค์กรและการแสวงหารายได้จากแหล่งต่าง ๆ ในนามของสหการเอง[[#_ftn2|[2]]]


'''2.2 ประเภท และลักษณะของสหการตามกฎหมาย'''
'''2.2 ประเภท และลักษณะของสหการตามกฎหมาย'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อสำรวจกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 5 ฉบับ พบว่ามีเพียงพระราชบัญญัติ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อสำรวจกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 5 ฉบับ พบว่ามีเพียงพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 เท่านั้นที่บัญญัติให้อำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดตั้งสหการได้ และจากบทบัญญัติแห่งกฎหมายทั้งสามฉบับนี้ เราอาจจำแนกประเภทสหการได้เป็น 2 ประเภทด้วยกันคือ
 
เทศบาล พ.ศ. 2496 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 เท่านั้นที่บัญญัติให้อำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดตั้งสหการได้ และจากบทบัญญัติแห่งกฎหมายทั้งสามฉบับนี้ เราอาจจำแนกประเภทสหการได้เป็น 2 ประเภทด้วยกันคือ


'''2.2.1 สหการเทศบาล'''
'''2.2.1 สหการเทศบาล'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตามความในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 58 บัญญัติว่า
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตามความในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 58 บัญญัติว่า “ถ้ามีกิจการใดอันอยู่ภายในอํานาจหน้าที่ของเทศบาลตั้งแต่สองแห่งขึ้นไปที่จะร่วมกันทําเพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างยิ่ง ก็ให้จัดตั้งเป็นองค์การขึ้นเรียกว่าสหการ มีสภาพเป็นทบวงการเมือง และมีคณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยผู้แทนของเทศบาลที่เกี่ยวข้องอยู่ด้วย การจัดตั้งสหการจะทําได้โดยก็แต่โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกาซึ่งจะกําหนดชื่อ อํานาจหน้าที่ และระเบียบการดําเนินงานไว้ การยุบเลิกสหการให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาโดยกําหนดวิธีการจัดทรัพย์สินไว้ด้วย"
 
“ถ้ามีกิจการใดอันอยู่ภายในอํานาจหน้าที่ของเทศบาลตั้งแต่สองแห่งขึ้นไปที่จะ
 
ร่วมกันทําเพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างยิ่ง ก็ให้จัดตั้งเป็นองค์การขึ้นเรียกว่าสหการ มีสภาพเป็นทบวงการเมือง และมีคณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยผู้แทนของเทศบาลที่เกี่ยวข้องอยู่ด้วย การจัดตั้งสหการจะทําได้โดยก็แต่โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกาซึ่งจะกําหนดชื่อ อํานาจหน้าที่ และระเบียบการดําเนินงานไว้ การยุบเลิกสหการให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาโดยกําหนดวิธีการจัดทรัพย์สินไว้ด้วย"
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พิจารณาจากบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าวนี้ สามารถจำแนกองค์ประกอบหรือลักษณะของสหการตามพระราชบัญญัติเทศบาลฯ ได้ดังนี้คือ
 
1. มีฐานะเป็น "ทบวงการเมือง” ซึ่งก็คือมีฐานะเป็นนิติบุคคลนั่นเอง เหตุที่สหการ
 
จำเป็นต้องมีฐานะเป็นนิติบุคคลเนื่องจากต้องการความคล่องตัวและความเป็นอิสระ ซึ่งจะเกิดความคล่องตัวและเป็นอิสระได้นั้นจะต้องมีฐานะเป็นนิติบุคคลแยกออกมาจากต่างหากจากองค์ปรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. ก่อตั้งโดยกฎหมายลำดับรอง คือ พระราชกฤษฎีกา และการยุบเลิกสหการก็ต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกาเช่นเดียวกันองค์ประกอบในข้อนี้สืบเนื่องมาจากข้อแรกกล่าวคือ การที่สหการจะมีฐานะเป็นนิติบุคคลได้นั้นจะต้องจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมาย ซึ่งในที่นี้จัดตั้งโดยกฎหมายลำดับรองคือ “พระราชกฤษฎีกา” มีข้อสังเกตว่าลักษณะการตั้งสหการโดยการตราพระราชกฤษฎีกานี้มีลักษณะเช่นเดียวกับการจัดตั้งองค์การมหาชน และวิสาหกิจมหาชน
 
3. เป็นกรณีเฉพาะเทศบาลรวมกับเทศบาลด้วยกันเท่านั้น ตามความในมาตรา 58 ไม่


อนุญาตให้เทศบาลร่วมมือกับเอกชน หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่นนอกไปจากร่วมมือกันระหว่างเทศบาลด้วยกันเองเท่านั้นอย่างไรก็ตามในปัจจุบันคำว่า “เทศบาล” ตามความในมาตรา 58 ก็มิได้กำหนดอย่างตายตัวว่าระหว่างเทศบาลด้วยกันนั้นจะต้องเป็นเทศบาลระดับเดียวกัน ดังนั้น เทศบาลนครอาจร่วมกับเทศบาลตำบลเพื่อจัดตั้ง “สหการ” ขึ้นมาได้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พิจารณาจากบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าวนี้ สามารถจำแนกองค์ประกอบหรือลักษณะของสหการตามพระราชบัญญัติเทศบาลฯ ได้ดังนี้คือ


4. มีคณะกรรมการบริหาร อำนาจหน้าที่ และระเบียบการดำเนินงานเป็นของตัวเอง
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. มีฐานะเป็น "ทบวงการเมือง” ซึ่งก็คือมีฐานะเป็นนิติบุคคลนั่นเอง เหตุที่สหการจำเป็นต้องมีฐานะเป็นนิติบุคคลเนื่องจากต้องการความคล่องตัวและความเป็นอิสระ ซึ่งจะเกิดความคล่องตัวและเป็นอิสระได้นั้นจะต้องมีฐานะเป็นนิติบุคคลแยกออกมาจากต่างหากจากองค์ปรปกครองส่วนท้องถิ่น


กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สหการมีความคล่องตัวจากระบบราชการ การที่มีคณะกรรมการบริหารงาน อำนาจหน้าที่ และระเบียบเป็นของตนเองเป็นการช่วยให้สหการปราศจากอิทธิพลและการครอบงำของผู้บริหารท้องถิ่นได้&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. ก่อตั้งโดยกฎหมายลำดับรอง คือ พระราชกฤษฎีกา และการยุบเลิกสหการก็ต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกาเช่นเดียวกันองค์ประกอบในข้อนี้สืบเนื่องมาจากข้อแรกกล่าวคือ การที่สหการจะมีฐานะเป็นนิติบุคคลได้นั้นจะต้องจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมาย ซึ่งในที่นี้จัดตั้งโดยกฎหมายลำดับรองคือ “พระราชกฤษฎีกา” มีข้อสังเกตว่าลักษณะการตั้งสหการโดยการตราพระราชกฤษฎีกานี้มีลักษณะเช่นเดียวกับการจัดตั้งองค์การมหาชน และวิสาหกิจมหาชน


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5. มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำบริการสาธารณะร่วมกัน การจัดทำบริการสาธารณะถือเป็น
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. เป็นกรณีเฉพาะเทศบาลรวมกับเทศบาลด้วยกันเท่านั้น ตามความในมาตรา 58 ไม่อนุญาตให้เทศบาลร่วมมือกับเอกชน หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่นนอกไปจากร่วมมือกันระหว่างเทศบาลด้วยกันเองเท่านั้นอย่างไรก็ตามในปัจจุบันคำว่า “เทศบาล” ตามความในมาตรา 58 ก็มิได้กำหนดอย่างตายตัวว่าระหว่างเทศบาลด้วยกันนั้นจะต้องเป็นเทศบาลระดับเดียวกัน ดังนั้น เทศบาลนครอาจร่วมกับเทศบาลตำบลเพื่อจัดตั้ง “สหการ” ขึ้นมาได้


อำนาจหน้าที่หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดตั้งสหการนั้นต้องเป็นไปเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว อย่างไรก็ตามมีข้อสังเกตว่า การจัดทำบริการสาธารณะของสหการนี้ไม่อาจทำในลักษณะเชิงพาณิชยกรรมการค้าได้ เพราะหากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประสงค์จะดำเนินกิจการไปในทางพาณิชยกรรมการค้าจะต้องจัดตั้งองค์กรที่เรียกว่า “วิสาหกิจมหาชน” ในท้องถิ่นขึ้น ซึ่งกฎหมายได้กำหนดแยกไว้ในอีกมาตราหนึ่ง
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. มีคณะกรรมการบริหาร อำนาจหน้าที่ และระเบียบการดำเนินงานเป็นของตัวเองกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สหการมีความคล่องตัวจากระบบราชการ การที่มีคณะกรรมการบริหารงาน อำนาจหน้าที่ และระเบียบเป็นของตนเองเป็นการช่วยให้สหการปราศจากอิทธิพลและการครอบงำของผู้บริหารท้องถิ่นได้&nbsp;


&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5. มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำบริการสาธารณะร่วมกัน การจัดทำบริการสาธารณะถือเป็นอำนาจหน้าที่หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดตั้งสหการนั้นต้องเป็นไปเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว อย่างไรก็ตามมีข้อสังเกตว่า การจัดทำบริการสาธารณะของสหการนี้ไม่อาจทำในลักษณะเชิงพาณิชยกรรมการค้าได้ เพราะหากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประสงค์จะดำเนินกิจการไปในทางพาณิชยกรรมการค้าจะต้องจัดตั้งองค์กรที่เรียกว่า “วิสาหกิจมหาชน” ในท้องถิ่นขึ้น ซึ่งกฎหมายได้กำหนดแยกไว้ในอีกมาตราหนึ่ง


&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 84: บรรทัดที่ 60:
'''2.2.2 สหการผสม'''
'''2.2.2 สหการผสม'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สหการผสมเป็นสหการที่ไม่จำกัดเฉพาะการรวมตัวกันระหว่างเทศบาลด้วยกันตาม
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สหการผสมเป็นสหการที่ไม่จำกัดเฉพาะการรวมตัวกันระหว่างเทศบาลด้วยกันตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 โดยสหการผสมปรากฏตัวอยู่ในบทบัญญัติแห่งกฎหมายสองฉบับได้แก่ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครพ.ศ. 2528 มาตรา 96 บัญญัติว่า&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;
 
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 โดยสหการผสมปรากฏตัวอยู่ในบทบัญญัติแห่งกฎหมายสองฉบับได้แก่ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครพ.ศ. 2528 มาตรา 96 บัญญัติว่า&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ''“ถ้ากิจการใดอยู่ภายใต้อํานาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครอาจดําเนินการนั้นร่วมกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่นอื่นได้โดยจัดตั้งเป็นองค์การเรียกว่า สหการ มีฐานะเป็นนิติบุคคล และมีคณะกรรมการบริหารประกอบด้วย ผู้แทนของกรุงเทพมหานคร ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐรัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี การจัดตั้งสหการจะกระทําได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ในพระราชกฤษฎีกานั้นให้กําหนดชื่อ อํานาจหน้าที่ และวิธีดำเนินการ เมื่อจะยุบเลิกสหการให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และให้ระบุวิธีการจัดการทรัพย์สินไว้ด้วย”''และ


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 มาตรา 69 บัญญัติว่า
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''''“ถ้ากิจการใดอยู่ภายใต้อํานาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครอาจดําเนินการนั้นร่วมกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่นอื่นได้โดยจัดตั้งเป็นองค์การเรียกว่า สหการ มีฐานะเป็นนิติบุคคล และมีคณะกรรมการบริหารประกอบด้วย ผู้แทนของกรุงเทพมหานคร ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐรัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี การจัดตั้งสหการจะกระทําได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ในพระราชกฤษฎีกานั้นให้กําหนดชื่อ อํานาจหน้าที่ และวิธีดำเนินการ เมื่อจะยุบเลิกสหการให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และให้ระบุวิธีการจัดการทรัพย์สินไว้ด้วย”''และ'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ''“เมืองพัทยาอาจร่วมกับหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งองค์กรขึ้นเรียกว่า สหการ มีฐานะเป็นนิติบุคคล เพื่อทํากิจการใดอันอยู่ภายใต้อํานาจหน้าที่ของเมืองพัทยาได้ การจัดตั้งสหการจะทําได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา โดยระบุชื่อ อํานาจหน้าที่ และวิธีการบริหารและการดําเนินการไว้ และเมืองจะยุบเลิกสหการให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา โดยระบุวิธีจัดการทรัพย์สินด้วย”''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 มาตรา 69 บัญญัติว่า


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จากกฎหมายทั้งสองฉบับเราอาจจำแนกองค์ประกอบ และลักษณะของสหการผสมได้ดังนี้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''''“เมืองพัทยาอาจร่วมกับหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งองค์กรขึ้นเรียกว่า สหการ มีฐานะเป็นนิติบุคคล เพื่อทํากิจการใดอันอยู่ภายใต้อํานาจหน้าที่ของเมืองพัทยาได้ การจัดตั้งสหการจะทําได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา โดยระบุชื่อ อํานาจหน้าที่ และวิธีการบริหารและการดําเนินการไว้ และเมืองจะยุบเลิกสหการให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา โดยระบุวิธีจัดการทรัพย์สินด้วย”'''''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.มีฐานะเป็น "นิติบุคคล" ด้วยเหตุผลดังเช่นที่ได้อธิบายไว้แล้วในสหการเทศบาล
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จากกฎหมายทั้งสองฉบับเราอาจจำแนกองค์ประกอบ และลักษณะของสหการผสมได้ดังนี้


2.ก่อตั้งโดยกฎหมายลำดับรอง คือ พระราชกฤษฎีกา การยุบเลิกสหการก็ต้องตราเป็น
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.มีฐานะเป็น "นิติบุคคล" ด้วยเหตุผลดังเช่นที่ได้อธิบายไว้แล้วในสหการเทศบาล


พระราชกฤษฎีกา
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.ก่อตั้งโดยกฎหมายลำดับรอง คือ พระราชกฤษฎีกา การยุบเลิกสหการก็ต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา อาจรวมกับหน่วยงานของรัฐอื่น ๆ เช่น หน่วยงาน
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา อาจรวมกับหน่วยงานของรัฐอื่น ๆ เช่น หน่วยงานราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค หรือรัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่นอื่น ๆ ได้ ซึ่งตรงนี้เองที่ทำให้สหการประเภทนี้เรียกว่าสหการผสม เนื่องจากไม่ถูกจำกัดเฉพาะการร่วมมือกันระหว่างองค์ปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเดียวกันอย่างเช่นสหการเทศบาลอย่างไรก็ตามการจัดตั้งสหการผสมนี้จะต้องริเริ่มโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ กรุงเทพมหานคร หรือเมืองพัทยาเท่านั้น จะริเริ่มโดยหน่วยงานอื่นมิได้


ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค หรือรัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่นอื่น ๆ ได้ ซึ่งตรงนี้เองที่ทำให้สหการประเภทนี้เรียกว่าสหการผสม เนื่องจากไม่ถูกจำกัดเฉพาะการร่วมมือกันระหว่างองค์ปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเดียวกันอย่างเช่นสหการเทศบาลอย่างไรก็ตามการจัดตั้งสหการผสมนี้จะต้องริเริ่มโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ กรุงเทพมหานคร หรือเมืองพัทยาเท่านั้น จะริเริ่มโดยหน่วยงานอื่นมิได้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.มีคณะกรรมการบริหาร อำนาจหน้าที่ และระเบียบการดำเนินงานเป็นของตัวเอง (โปรดดูรายละเอียดในสหการเทศบาล)


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.มีคณะกรรมการบริหาร อำนาจหน้าที่ และระเบียบการดำเนินงานเป็นของตัวเอง
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5. มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำบริการสาธารณะร่วมกัน(โปรดดูรายละเอียดในสหการเทศบาล)
 
(โปรดดูรายละเอียดในสหการเทศบาล)
 
5. มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำบริการสาธารณะร่วมกัน(โปรดดูรายละเอียดในสหการ
 
เทศบาล)


&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 132: บรรทัดที่ 98:
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''4.1 ประเทศฝรั่งเศส[[#_ftn4|'''[4]''']]'''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''4.1 ประเทศฝรั่งเศส[[#_ftn4|'''[4]''']]'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สหการ หรือ "syndicats" ตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาล (commune)เป็นความร่วมมือระหว่างท้องถิ่นที่เก่าแก่ที่สุดในฝรั่งเศส ( ค.ศ. 1890: พ.ศ. 2433) โดยสหการในประเทศฝรั่งเศสนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก คือ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สหการ หรือ "syndicats" ตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาล (commune)เป็นความร่วมมือระหว่างท้องถิ่นที่เก่าแก่ที่สุดในฝรั่งเศส ( ค.ศ. 1890: พ.ศ. 2433) โดยสหการในประเทศฝรั่งเศสนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก คือ หนึ่ง '''สหการระดับเดียวกัน''': เป็นความร่วมมือระหว่างเทศบาลด้วยกันเท่านั้น ปัจจุบันมีสหการแบบนี้อยู่ 15,253 แห่ง&nbsp;&nbsp;สอง '''สหการผสม''': ท้องถิ่นอาจร่วมกับราชการส่วนอื่น เช่น จังหวัด (départements) หรือ ภาค (régions) เพื่อจัดตั้งสหการได้ โดยปัจจุบันมีสหการแบบนี้&nbsp; 542 แห่ง
 
หนึ่ง '''สหการระดับเดียวกัน''': เป็นความร่วมมือระหว่างเทศบาลด้วยกันเท่านั้น ปัจจุบันมีสหการแบบนี้อยู่ 15,253 แห่ง
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สอง '''สหการผสม''': ท้องถิ่นอาจร่วมกับราชการส่วนอื่น เช่น จังหวัด (départements) หรือ ภาค (régions) เพื่อจัดตั้งสหการได้ โดยปัจจุบันมีสหการแบบนี้&nbsp; 542 แห่ง


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;


&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''4.2 ประเทศญี่ปุ่น[[#_ftn5|'''[5]''']]'''
 
'''4.2 ประเทศญี่ปุ่น[[#_ftn5|'''[5]''']]'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การจัดตั้งองค์กรความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศญี่ปุ่น มีขึ้นครั้งแรกในสมัยเมจิที่ 21 ตามระเบียบว่าด้วยเทศบาล มาตรา 6 โดยสหการตามระเบียบดังกล่าวมีชื่อว่า “อิจิบุจิมุคุมิอะอิ”ต่อมาภายหลังสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง มีการออกกฎหมายว่าด้วยการปกครองตนเองของท้องถิ่น (Local Autonomous Law 1947) เพื่อเป็นการวางระเบียบเกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในประเทศญี่ปุ่นเสียใหม่ รวมถึงความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบต่าง ๆ ด้วย ต่อจำนวนของสหการในประเทศญี่ปุ่นได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาประการหนึ่งที่สำคัญนั้นเกิดจากการดำเนินงานของสหการเองที่มีคามไม่โปร่งใส เนื่องจากกลไกตามกฎหมายมิได้เปิดโอกาสหรือเอื้ออำนวยให้มีการตรวจสอบการดำเนินงานของสหการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล&nbsp; เพื่อแก้ปัญหาการลดลงของสหการและปัญหาต่าง ๆ ที่สืบเนื่องมาจากสหการ จึงมีการเสนอรูปแบบใหม่ที่ยืดหยุ่นขึ้น เป็นสหการแบบใหม่ที่ชื่อว่า "โควอิกิเรงโคว" มีการบริหารงานโดยใช้รูปแบบคณะกรรมการซึ่งอาจมาจากการเลือกตั้งทางตรงหรือการแต่งตั้งก็ได้ นอกจากนี้อาจมีการแต่งตั้งหรือเลือกตั้งสภาเพื่อทำหน้าที่ในการตรวจสอบการทำงานของคณะกรรมการบริหารอีกชั้นหนึ่งด้วย
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การจัดตั้งองค์กรความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศญี่ปุ่น มีขึ้นครั้งแรกในสมัยเมจิที่ 21 ตามระเบียบว่าด้วยเทศบาล มาตรา 6 โดยสหการตามระเบียบดังกล่าวมีชื่อว่า “อิจิบุจิมุคุมิอะอิ”ต่อมาภายหลังสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง มีการออกกฎหมายว่าด้วยการปกครองตนเองของท้องถิ่น (Local Autonomous Law 1947) เพื่อเป็นการวางระเบียบเกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในประเทศญี่ปุ่นเสียใหม่ รวมถึงความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบต่าง ๆ ด้วย ต่อจำนวนของสหการในประเทศญี่ปุ่นได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาประการหนึ่งที่สำคัญนั้นเกิดจากการดำเนินงานของสหการเองที่มีคามไม่โปร่งใส เนื่องจากกลไกตามกฎหมายมิได้เปิดโอกาสหรือเอื้ออำนวยให้มีการตรวจสอบการดำเนินงานของสหการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล&nbsp; เพื่อแก้ปัญหาการลดลงของสหการและปัญหาต่าง ๆ ที่สืบเนื่องมาจากสหการ จึงมีการเสนอรูปแบบใหม่ที่ยืดหยุ่นขึ้น เป็นสหการแบบใหม่ที่ชื่อว่า "โควอิกิเรงโคว" มีการบริหารงานโดยใช้รูปแบบคณะกรรมการซึ่งอาจมาจากการเลือกตั้งทางตรงหรือการแต่งตั้งก็ได้ นอกจากนี้อาจมีการแต่งตั้งหรือเลือกตั้งสภาเพื่อทำหน้าที่ในการตรวจสอบการทำงานของคณะกรรมการบริหารอีกชั้นหนึ่งด้วย
บรรทัดที่ 152: บรรทัดที่ 112:
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''4.3 ประเทศสหรัฐอเมริกา[[#_ftn6|'''[6]''']]'''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''4.3 ประเทศสหรัฐอเมริกา[[#_ftn6|'''[6]''']]'''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความร่วมมือระหว่างท้องถิ่นที่เรียกว่าสหการนั้นมีในรูปแบบที่เรียกว่า "เขตพิเศษ" (special district)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความร่วมมือระหว่างท้องถิ่นที่เรียกว่าสหการนั้นมีในรูปแบบที่เรียกว่า "เขตพิเศษ" (special district) เป็นรูปแบบที่มีมากที่สุดในอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เขตพิเศษที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา (school district)อาจเกิดจากความร่วมมือระหว่างเทศบาลเมือง (municipalities) ด้วยกันเอง หรือระหว่างเทศบาลเมืองกับทาวน์ (town) เขตพิเศษมีฐานะเป็น "นิติบุคคล" แยกต่างหากจากท้องถิ่น มีงาน เงิน คน เป็นของตนเอง
 
เป็นรูปแบบที่มีมากที่สุดในอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เขตพิเศษที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา (school district)อาจเกิดจากความร่วมมือระหว่างเทศบาลเมือง (municipalities) ด้วยกันเอง หรือระหว่างเทศบาลเมืองกับทาวน์ (town) เขตพิเศษมีฐานะเป็น "นิติบุคคล" แยกต่างหากจากท้องถิ่น มีงาน เงิน คน เป็นของตนเอง


&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 160: บรรทัดที่ 118:
'''บรรณานุกรม'''
'''บรรณานุกรม'''


&nbsp;
ธนิษฐา&nbsp; สุขะวัฒนะ.'''ความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบและความเป็นไปได้'''. นนทบุรี: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2550.
 
ธนิษฐา&nbsp; สุขะวัฒนะ.'''ความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบและความเป็นไปได้'''. นนทบุรี:
 
วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2550.


สมคิด&nbsp; เลิศไพฑูรย์.'''กฎหมายการปกครองท้องถิ่น'''. กรุงเทพมหานคร: ธรรกมลการพิมพ์, 2550.
สมคิด&nbsp; เลิศไพฑูรย์.'''กฎหมายการปกครองท้องถิ่น'''. กรุงเทพมหานคร: ธรรกมลการพิมพ์, 2550.

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:31, 2 สิงหาคม 2560

เรียบเรียงโดย  ผศ.ดร.ณัฐพล ใจจริงและกฤษณ์  วงศ์วิเศษธร

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล


1. ความสำคัญ

การจัดทำบริการสาธารณะโดยท้องถิ่นในปัจจุบันอาจแบ่งได้เป็น 3 วิธีด้วยกัน[1] คือ

หนึ่ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเอง

          การจัดทำบริการสาธารณะโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเองเป็นกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำบริการสาธารณะโดยใช้บุคคลากรและงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ เอง การดำเนินการวิธีนี้มีข้อดีคือ ท้องถิ่นสามารถควบคุมกระบวนการดำเนินการด้วยตัวเองให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถควบคมตรวจสอบได้ทั้งหมด สำหรับข้อเสียคือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมากในการจัดทำบริการสาธารณะด้วยตนเอง อาทิ การเสียงบประมาณว่าจ้างเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน หรือการลงทุนในเครื่องมือในการจัดทำบริการสาธารณะ เป็นต้น ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดคือ บริการสาธารณะด้านการขนส่งมวลชน ในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการด้วยตนเอง จะต้องใช้งบประมาณเป็นอันมากในการว่าจ้างพนักงานขับรถ พนักงานเก็บเงิน และที่สำคัญที่สุด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องเสียงบประมาณในการจัดซื้อรถขนส่งสาธารณะซึ่งมีราคาสูง รวมถึงค่าบำรุงรักษารถขนส่งสาธารณะด้วย

สอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับบุคคลอื่นในการจัดทำบริการสาธารณะ

          วิธีการนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด หรือรวมกันกับเอกชนในการจัดตั้งนิติบุคคลขึ้นมาเพื่อดำเนินการจัดทำบริการสาธารณะ เช่น ตั้งวิสาหกิจมหาชนในท้องถิ่น หรือการจัดตั้งสหการ เป็นต้น

สาม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมายให้เอกชนทำ

          วิธีการนี้เป็นวิธีการที่ประหยัดงบประมาณมากที่สุดในการจัดทำบริการสาธารณะ โดยการใช้เครื่องมือทางกฎหมายที่เรียกว่า “สัญญาทางปกครอง” ควบคุมการจัดทำบริการสาธารณะของเอกชน อย่างไรก็ตาม การให้เอกชนเป็นผู้จัดทำทั้งหมดอาจส่งผลให้บริการสาธารณะนั้น ๆ อาจไม่ตรงตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเองก็ไม่สามารถลงไปควบคุมได้ทุกขั้นตอน ทำได้แต่เพียงควบคุมให้เป็นไปตามสัญญาทางปกครองเท่านั้น

          จะเห็นได้ว่าการจัดทำบริการสาธารณะในลักษณะการจัดตั้งสหการ เป็นรูปแบบหนึ่งที่น่าสนใจเนื่องจากเป็นรูปแบบที่เกิดจากความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับบุคคลอื่นไม่ว่าจะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเอง หรือหน่วยงานอื่นตามที่กฎหมายกำหนด การจัดตั้งสหการมีข้อดีอย่างน้อยสองประการคือ

             ประการแรก เป็นวิธีการจัดทำบริการสาธารณะที่อยู่ตรงกลางระหว่างรูปแบบที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเองทั้งหมด ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณเป็นจำนวนมาก และรูปแบบที่ให้เอกชนเป็นคนดำเนินการแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งการควบคุมสามารถทำได้แต่เพียงตามที่สัญญากำหนดเท่านั้น

             ประการที่สอง ในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความจำเป็นที่จะต้องจัดทำบริการสาธารณะนอกเขตพื้นที่ของตน เช่น บริการรถรับขนส่งคนโดยสาร ตามกฎหมายแล้วองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ จะต้องได้รับความยินยอมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเจ้าของพื้นที่ที่ตนจะข้ามเขตพื้นที่ และได้รับความเห็นชอบจากผู้กำกับดูแลด้วย ซึ่งเป็นเรื่องยุ่งยากหลายขั้นตอน หากดำเนินการจัดตั้งสหการขึ้นมาย่อมสะดวกและสามารถจัดทำบริการสาธารณะได้หลากหลาย

 

2. ความหมาย และประเภทของสหการ

2.1 ความหมายของสหการ

          สหการ คือ องค์กรที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่เกิดจากการร่วมมือกันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งแต่สองแห่งขึ้นไปหรือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับนิติบุคคลมหาชนอื่น มีความเป็นอิสระจากหน่วยการปกครองท้องถิ่นเดิมเพื่อจัดทำบริการสาธารณะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการจัดองค์กรและการแสวงหารายได้จากแหล่งต่าง ๆ ในนามของสหการเอง[2]

2.2 ประเภท และลักษณะของสหการตามกฎหมาย

          เมื่อสำรวจกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 5 ฉบับ พบว่ามีเพียงพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 เท่านั้นที่บัญญัติให้อำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดตั้งสหการได้ และจากบทบัญญัติแห่งกฎหมายทั้งสามฉบับนี้ เราอาจจำแนกประเภทสหการได้เป็น 2 ประเภทด้วยกันคือ

2.2.1 สหการเทศบาล

          ตามความในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 58 บัญญัติว่า “ถ้ามีกิจการใดอันอยู่ภายในอํานาจหน้าที่ของเทศบาลตั้งแต่สองแห่งขึ้นไปที่จะร่วมกันทําเพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างยิ่ง ก็ให้จัดตั้งเป็นองค์การขึ้นเรียกว่าสหการ มีสภาพเป็นทบวงการเมือง และมีคณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยผู้แทนของเทศบาลที่เกี่ยวข้องอยู่ด้วย การจัดตั้งสหการจะทําได้โดยก็แต่โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกาซึ่งจะกําหนดชื่อ อํานาจหน้าที่ และระเบียบการดําเนินงานไว้ การยุบเลิกสหการให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาโดยกําหนดวิธีการจัดทรัพย์สินไว้ด้วย"

          พิจารณาจากบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าวนี้ สามารถจำแนกองค์ประกอบหรือลักษณะของสหการตามพระราชบัญญัติเทศบาลฯ ได้ดังนี้คือ

          1. มีฐานะเป็น "ทบวงการเมือง” ซึ่งก็คือมีฐานะเป็นนิติบุคคลนั่นเอง เหตุที่สหการจำเป็นต้องมีฐานะเป็นนิติบุคคลเนื่องจากต้องการความคล่องตัวและความเป็นอิสระ ซึ่งจะเกิดความคล่องตัวและเป็นอิสระได้นั้นจะต้องมีฐานะเป็นนิติบุคคลแยกออกมาจากต่างหากจากองค์ปรปกครองส่วนท้องถิ่น

          2. ก่อตั้งโดยกฎหมายลำดับรอง คือ พระราชกฤษฎีกา และการยุบเลิกสหการก็ต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกาเช่นเดียวกันองค์ประกอบในข้อนี้สืบเนื่องมาจากข้อแรกกล่าวคือ การที่สหการจะมีฐานะเป็นนิติบุคคลได้นั้นจะต้องจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมาย ซึ่งในที่นี้จัดตั้งโดยกฎหมายลำดับรองคือ “พระราชกฤษฎีกา” มีข้อสังเกตว่าลักษณะการตั้งสหการโดยการตราพระราชกฤษฎีกานี้มีลักษณะเช่นเดียวกับการจัดตั้งองค์การมหาชน และวิสาหกิจมหาชน

          3. เป็นกรณีเฉพาะเทศบาลรวมกับเทศบาลด้วยกันเท่านั้น ตามความในมาตรา 58 ไม่อนุญาตให้เทศบาลร่วมมือกับเอกชน หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่นนอกไปจากร่วมมือกันระหว่างเทศบาลด้วยกันเองเท่านั้นอย่างไรก็ตามในปัจจุบันคำว่า “เทศบาล” ตามความในมาตรา 58 ก็มิได้กำหนดอย่างตายตัวว่าระหว่างเทศบาลด้วยกันนั้นจะต้องเป็นเทศบาลระดับเดียวกัน ดังนั้น เทศบาลนครอาจร่วมกับเทศบาลตำบลเพื่อจัดตั้ง “สหการ” ขึ้นมาได้

          4. มีคณะกรรมการบริหาร อำนาจหน้าที่ และระเบียบการดำเนินงานเป็นของตัวเองกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สหการมีความคล่องตัวจากระบบราชการ การที่มีคณะกรรมการบริหารงาน อำนาจหน้าที่ และระเบียบเป็นของตนเองเป็นการช่วยให้สหการปราศจากอิทธิพลและการครอบงำของผู้บริหารท้องถิ่นได้ 

          5. มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำบริการสาธารณะร่วมกัน การจัดทำบริการสาธารณะถือเป็นอำนาจหน้าที่หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดตั้งสหการนั้นต้องเป็นไปเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว อย่างไรก็ตามมีข้อสังเกตว่า การจัดทำบริการสาธารณะของสหการนี้ไม่อาจทำในลักษณะเชิงพาณิชยกรรมการค้าได้ เพราะหากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประสงค์จะดำเนินกิจการไปในทางพาณิชยกรรมการค้าจะต้องจัดตั้งองค์กรที่เรียกว่า “วิสาหกิจมหาชน” ในท้องถิ่นขึ้น ซึ่งกฎหมายได้กำหนดแยกไว้ในอีกมาตราหนึ่ง

 

2.2.2 สหการผสม

          สหการผสมเป็นสหการที่ไม่จำกัดเฉพาะการรวมตัวกันระหว่างเทศบาลด้วยกันตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 โดยสหการผสมปรากฏตัวอยู่ในบทบัญญัติแห่งกฎหมายสองฉบับได้แก่ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครพ.ศ. 2528 มาตรา 96 บัญญัติว่า              

          “ถ้ากิจการใดอยู่ภายใต้อํานาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครอาจดําเนินการนั้นร่วมกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่นอื่นได้โดยจัดตั้งเป็นองค์การเรียกว่า สหการ มีฐานะเป็นนิติบุคคล และมีคณะกรรมการบริหารประกอบด้วย ผู้แทนของกรุงเทพมหานคร ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐรัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี การจัดตั้งสหการจะกระทําได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ในพระราชกฤษฎีกานั้นให้กําหนดชื่อ อํานาจหน้าที่ และวิธีดำเนินการ เมื่อจะยุบเลิกสหการให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และให้ระบุวิธีการจัดการทรัพย์สินไว้ด้วย”และ

          พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 มาตรา 69 บัญญัติว่า

          “เมืองพัทยาอาจร่วมกับหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งองค์กรขึ้นเรียกว่า สหการ มีฐานะเป็นนิติบุคคล เพื่อทํากิจการใดอันอยู่ภายใต้อํานาจหน้าที่ของเมืองพัทยาได้ การจัดตั้งสหการจะทําได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา โดยระบุชื่อ อํานาจหน้าที่ และวิธีการบริหารและการดําเนินการไว้ และเมืองจะยุบเลิกสหการให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา โดยระบุวิธีจัดการทรัพย์สินด้วย”

          จากกฎหมายทั้งสองฉบับเราอาจจำแนกองค์ประกอบ และลักษณะของสหการผสมได้ดังนี้

          1.มีฐานะเป็น "นิติบุคคล" ด้วยเหตุผลดังเช่นที่ได้อธิบายไว้แล้วในสหการเทศบาล

          2.ก่อตั้งโดยกฎหมายลำดับรอง คือ พระราชกฤษฎีกา การยุบเลิกสหการก็ต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา

          3. กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา อาจรวมกับหน่วยงานของรัฐอื่น ๆ เช่น หน่วยงานราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค หรือรัฐวิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่นอื่น ๆ ได้ ซึ่งตรงนี้เองที่ทำให้สหการประเภทนี้เรียกว่าสหการผสม เนื่องจากไม่ถูกจำกัดเฉพาะการร่วมมือกันระหว่างองค์ปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเดียวกันอย่างเช่นสหการเทศบาลอย่างไรก็ตามการจัดตั้งสหการผสมนี้จะต้องริเริ่มโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ กรุงเทพมหานคร หรือเมืองพัทยาเท่านั้น จะริเริ่มโดยหน่วยงานอื่นมิได้

          4.มีคณะกรรมการบริหาร อำนาจหน้าที่ และระเบียบการดำเนินงานเป็นของตัวเอง (โปรดดูรายละเอียดในสหการเทศบาล)

          5. มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำบริการสาธารณะร่วมกัน(โปรดดูรายละเอียดในสหการเทศบาล)

 

3. ปัญหาของสหการ

          การจัดตั้งสหการอาจเกิดปัญหาดังนี้[3]

          ประการแรก ปัญหาความเป็นอิสระในการดำเนินการ แม้สหการจะมีคณะผู้บริหาร อำนาจหน้าที่ และระเบียบเป็นของตัวเอง แต่สหการยังคงต้องดำเนินงานภายใต้การควบคุมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายได้หลักของสหการมาจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงอาจเป็นช่องทางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถเข้ามาแทรกแซงการดำเนินการของสหการได้

          ประการที่สอง ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในกรณีที่สหการดำเนินการไม่เป็นไปตามความต้องการของประชาชน รวมทั้งเกิดความไม่โปร่งใสในการบริหารงาน ประชาชนไม่สามารถเข้าไปตรวจสอบความโปร่งใสในการปฏิบัติหน้าที่ของสหการได้

          ประการที่สาม ปัญหาการถูกครอบงำโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ เนื่องจากองค์กรปกครองท้องถิ่นที่อยู่ในระดับสูงกว่า มีสัดส่วนความรับผิดชอบต่อสหการมากกว่า อาจดำเนินการแทรกแซงการทำงานของสหการเพื่อให้เป็นไปในแนวทางที่ตนต้องการ ซึ่งในท้ายที่สุดก็ส่งผลให้เกิดปัญหาการให้บริกรที่ไม่เท่าเทียมกันได้

 

4. สหการในต่างประเทศ

          4.1 ประเทศฝรั่งเศส[4]

          สหการ หรือ "syndicats" ตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาล (commune)เป็นความร่วมมือระหว่างท้องถิ่นที่เก่าแก่ที่สุดในฝรั่งเศส ( ค.ศ. 1890: พ.ศ. 2433) โดยสหการในประเทศฝรั่งเศสนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก คือ หนึ่ง สหการระดับเดียวกัน: เป็นความร่วมมือระหว่างเทศบาลด้วยกันเท่านั้น ปัจจุบันมีสหการแบบนี้อยู่ 15,253 แห่ง  สอง สหการผสม: ท้องถิ่นอาจร่วมกับราชการส่วนอื่น เช่น จังหวัด (départements) หรือ ภาค (régions) เพื่อจัดตั้งสหการได้ โดยปัจจุบันมีสหการแบบนี้  542 แห่ง

         

          4.2 ประเทศญี่ปุ่น[5]

          การจัดตั้งองค์กรความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศญี่ปุ่น มีขึ้นครั้งแรกในสมัยเมจิที่ 21 ตามระเบียบว่าด้วยเทศบาล มาตรา 6 โดยสหการตามระเบียบดังกล่าวมีชื่อว่า “อิจิบุจิมุคุมิอะอิ”ต่อมาภายหลังสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง มีการออกกฎหมายว่าด้วยการปกครองตนเองของท้องถิ่น (Local Autonomous Law 1947) เพื่อเป็นการวางระเบียบเกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในประเทศญี่ปุ่นเสียใหม่ รวมถึงความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบต่าง ๆ ด้วย ต่อจำนวนของสหการในประเทศญี่ปุ่นได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาประการหนึ่งที่สำคัญนั้นเกิดจากการดำเนินงานของสหการเองที่มีคามไม่โปร่งใส เนื่องจากกลไกตามกฎหมายมิได้เปิดโอกาสหรือเอื้ออำนวยให้มีการตรวจสอบการดำเนินงานของสหการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล  เพื่อแก้ปัญหาการลดลงของสหการและปัญหาต่าง ๆ ที่สืบเนื่องมาจากสหการ จึงมีการเสนอรูปแบบใหม่ที่ยืดหยุ่นขึ้น เป็นสหการแบบใหม่ที่ชื่อว่า "โควอิกิเรงโคว" มีการบริหารงานโดยใช้รูปแบบคณะกรรมการซึ่งอาจมาจากการเลือกตั้งทางตรงหรือการแต่งตั้งก็ได้ นอกจากนี้อาจมีการแต่งตั้งหรือเลือกตั้งสภาเพื่อทำหน้าที่ในการตรวจสอบการทำงานของคณะกรรมการบริหารอีกชั้นหนึ่งด้วย

          อย่างไรก็ตามปัจจุบันญี่ปุ่นมีนโยบายยุบรวมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากกว่าส่งเสริมให้มีการจัดตั้งสหการ

 

          4.3 ประเทศสหรัฐอเมริกา[6]

          ความร่วมมือระหว่างท้องถิ่นที่เรียกว่าสหการนั้นมีในรูปแบบที่เรียกว่า "เขตพิเศษ" (special district) เป็นรูปแบบที่มีมากที่สุดในอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เขตพิเศษที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา (school district)อาจเกิดจากความร่วมมือระหว่างเทศบาลเมือง (municipalities) ด้วยกันเอง หรือระหว่างเทศบาลเมืองกับทาวน์ (town) เขตพิเศษมีฐานะเป็น "นิติบุคคล" แยกต่างหากจากท้องถิ่น มีงาน เงิน คน เป็นของตนเอง

 

บรรณานุกรม

ธนิษฐา  สุขะวัฒนะ.ความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบและความเป็นไปได้. นนทบุรี: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2550.

สมคิด  เลิศไพฑูรย์.กฎหมายการปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: ธรรกมลการพิมพ์, 2550.

 

อ้างอิง

[1]สมคิด  เลิศไพฑูรย์, กฎหมายการปกครองท้องถิ่น (กรุงเทพมหานคร: ธรรกมลการพิมพ์, 2550), น. 55.

[2]ธนิษฐา  สุขะวัฒนะ, ความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบและความเป็นไปได้ (นนทบุรี: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2550), น. 18.

[3]เพิ่งอ้าง, น. 19-20.

[4]เพิ่งอ้าง, น. 25- 26.

[5]เพิ่งอ้าง, น. 29-31.

[6]เพิ่งอ้าง, น. 31-32.