ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสนาบดีสภาในรัชสมัย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
“...โดยปกติการประชุมเสนาบดี ควรมีเสมอ ถ้าไม่ขัดกับการอื่น ถึงแม้จะไม่มีเรื่องอะไรก็ควรประชุม เพราะว่าเป็นโอกาสที่เสนาบดีได้พบกันอาทิตย์ละครั้ง และอาจมีการจรเสมอ...”
“...โดยปกติการประชุมเสนาบดี ควรมีเสมอ ถ้าไม่ขัดกับการอื่น ถึงแม้จะไม่มีเรื่องอะไรก็ควรประชุม เพราะว่าเป็นโอกาสที่เสนาบดีได้พบกันอาทิตย์ละครั้ง และอาจมีการจรเสมอ...”


พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเกี่ยวกับการประชุมเสนาบดี แสดงถึงพระราชประสงค์ที่จะให้เสนาบดีสภามีบทบาทในการบริหารบ้านเมืองอย่างจริงจัง เสนาบดีสภาเป็นสถาบันทางการเมืองที่มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าหัว แต่ลดบทบาทลงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระราชดำริของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เกี่ยวกับ[[การประชุมเสนาบดี]] แสดงถึงพระราชประสงค์ที่จะให้[[เสนาบดีสภา]]มีบทบาทในการบริหารบ้านเมืองอย่างจริงจัง เสนาบดีสภาเป็น[[สถาบันทางการเมือง]]ที่มีมาตั้งแต่รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าหัว]] แต่ลดบทบาทลงในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]


ทรงเริ่มใช้เสนาบดีสภาเป็นกลไกในการแก้ไข ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการโดยทรงเป็นประธานซึ่งเวลานั้นเรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่าทรงเป็น “Prime Minister” ตลอดรัชกาล มีเสนาบดีทั้งที่เป็นพระบรมวงศ์ ๙ พระองค์ และเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ๖ คน คณะเสนาบดีประชุมกันอย่างสม่ำเสมอ รวมประมาณ ๓๐๐ ครั้ง
ทรงเริ่มใช้เสนาบดีสภาเป็นกลไกในการแก้ไข ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการโดยทรงเป็นประธานซึ่งเวลานั้นเรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่าทรงเป็น “Prime Minister” ตลอดรัชกาล มี[[เสนาบดี]]ทั้งที่เป็นพระบรมวงศ์ ๙ พระองค์ และเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ๖ คน คณะเสนาบดีประชุมกันอย่างสม่ำเสมอ รวมประมาณ ๓๐๐ ครั้ง


'''ที่มา '''
'''ที่มา '''

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:37, 22 มกราคม 2559

“...โดยปกติการประชุมเสนาบดี ควรมีเสมอ ถ้าไม่ขัดกับการอื่น ถึงแม้จะไม่มีเรื่องอะไรก็ควรประชุม เพราะว่าเป็นโอกาสที่เสนาบดีได้พบกันอาทิตย์ละครั้ง และอาจมีการจรเสมอ...”

พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเกี่ยวกับการประชุมเสนาบดี แสดงถึงพระราชประสงค์ที่จะให้เสนาบดีสภามีบทบาทในการบริหารบ้านเมืองอย่างจริงจัง เสนาบดีสภาเป็นสถาบันทางการเมืองที่มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าหัว แต่ลดบทบาทลงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ทรงเริ่มใช้เสนาบดีสภาเป็นกลไกในการแก้ไข ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการโดยทรงเป็นประธานซึ่งเวลานั้นเรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่าทรงเป็น “Prime Minister” ตลอดรัชกาล มีเสนาบดีทั้งที่เป็นพระบรมวงศ์ ๙ พระองค์ และเป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ๖ คน คณะเสนาบดีประชุมกันอย่างสม่ำเสมอ รวมประมาณ ๓๐๐ ครั้ง

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖