ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพยนตร์อัมพร"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤ...'
 
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยในศิลปะการถ่ายภาพยนตร์มาตั้งแต่ก่อนเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ โดยมีพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินซึ่งทรงรอบรู้และสนพระทัยในการถ่ายภาพยนตร์มาก่อน และทรงเป็นผู้ก่อตั้งกองภาพยนตร์เผยแผ่ข่าวกรมรถไฟหลวงถวายคำแนะนำ  
[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงสนพระราชหฤทัยในศิลปะการถ่ายภาพยนตร์มาตั้งแต่ก่อนเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ โดยมี[[พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน]]ซึ่งทรงรอบรู้และสนพระทัยในการถ่ายภาพยนตร์มาก่อน และทรงเป็นผู้ก่อตั้งกองภาพยนตร์เผยแผ่ข่าวกรมรถไฟหลวงถวายคำแนะนำ  


เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระราชนิยมและพระราชจริยาวัตรในเรื่องนี้ยิ่งชัดเจน ดังจะเห็นได้จาก ไม่ว่าจะเสด็จพระราชดำเนินที่ใดจะทรงมีกล้องถ่ายภาพยนตร์ขนาดเล็กติดพระหัตถ์เพื่อทรงถ่ายภาพยนตร์ด้วยพระองค์เองเสมอ  
เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระราชนิยมและพระราชจริยาวัตรในเรื่องนี้ยิ่งชัดเจน ดังจะเห็นได้จาก ไม่ว่าจะเสด็จพระราชดำเนินที่ใดจะทรงมีกล้องถ่ายภาพยนตร์ขนาดเล็กติดพระหัตถ์เพื่อทรงถ่ายภาพยนตร์ด้วยพระองค์เองเสมอ  


ภาพยนตร์ฝีพระหัตถ์ ในช่วงแรกโปรดให้เรียก “ภาพยนตร์ทรงถ่าย” ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น “ภาพยนตร์อัมพร” ตามชื่อพระที่นั่งอัมพรสถานที่ประทับในรัชกาล ภาพยนตร์ทรงถ่ายมีทั้งที่บันทึกเป็นเหตุการณ์ทั่วไป  และภาพยนตร์ดำเนินเรื่อง  ซึ่งทรงเป็นทั้งผู้กำกับและเขียนบท
ภาพยนตร์ฝีพระหัตถ์ ในช่วงแรกโปรดให้เรียก “[[ภาพยนตร์ทรงถ่าย]]” ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น “[[ภาพยนตร์อัมพร]]” ตามชื่อ[[พระที่นั่งอัมพรสถาน]]ที่ประทับในรัชกาล ภาพยนตร์ทรงถ่ายมีทั้งที่บันทึกเป็นเหตุการณ์ทั่วไป  และภาพยนตร์ดำเนินเรื่อง  ซึ่งทรงเป็นทั้งผู้กำกับและเขียนบท


พระราชนิยมในการถ่ายภาพยนตร์ได้มีผลต่อกิจการภาพยนตร์ไทยอย่างกว้างขวางในรัชกาลนี้ และยังมีผลต่อกิจการภาพยนตร์ของไทยให้ก้าวหน้ายั่งยืนมาจนปัจจุบัน
พระราชนิยมในการถ่ายภาพยนตร์ได้มีผลต่อกิจการภาพยนตร์ไทยอย่างกว้างขวางในรัชกาลนี้ และยังมีผลต่อกิจการภาพยนตร์ของไทยให้ก้าวหน้ายั่งยืนมาจนปัจจุบัน
บรรทัดที่ 10: บรรทัดที่ 10:
   
   
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖
*[https://www.youtube.com/watch?v=ruFjHeUWk2c&index=59&list=PLz3ADrKTT5i0vjsCnIPrpraHExclR_Odo  YOU TUBE : พระราชนิยมในพระปกเกล้า : ภาพยนตร์อัมพร]


[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]]
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:11, 9 กุมภาพันธ์ 2559

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยในศิลปะการถ่ายภาพยนตร์มาตั้งแต่ก่อนเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ โดยมีพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินซึ่งทรงรอบรู้และสนพระทัยในการถ่ายภาพยนตร์มาก่อน และทรงเป็นผู้ก่อตั้งกองภาพยนตร์เผยแผ่ข่าวกรมรถไฟหลวงถวายคำแนะนำ

เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระราชนิยมและพระราชจริยาวัตรในเรื่องนี้ยิ่งชัดเจน ดังจะเห็นได้จาก ไม่ว่าจะเสด็จพระราชดำเนินที่ใดจะทรงมีกล้องถ่ายภาพยนตร์ขนาดเล็กติดพระหัตถ์เพื่อทรงถ่ายภาพยนตร์ด้วยพระองค์เองเสมอ

ภาพยนตร์ฝีพระหัตถ์ ในช่วงแรกโปรดให้เรียก “ภาพยนตร์ทรงถ่าย” ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น “ภาพยนตร์อัมพร” ตามชื่อพระที่นั่งอัมพรสถานที่ประทับในรัชกาล ภาพยนตร์ทรงถ่ายมีทั้งที่บันทึกเป็นเหตุการณ์ทั่วไป และภาพยนตร์ดำเนินเรื่อง ซึ่งทรงเป็นทั้งผู้กำกับและเขียนบท

พระราชนิยมในการถ่ายภาพยนตร์ได้มีผลต่อกิจการภาพยนตร์ไทยอย่างกว้างขวางในรัชกาลนี้ และยังมีผลต่อกิจการภาพยนตร์ของไทยให้ก้าวหน้ายั่งยืนมาจนปัจจุบัน

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖