ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิสังขรณ์วัดสุวรรณดาราม"
หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'พระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ ท...' |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
พระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ ทรงทำนุบำรุง ซ่อมแซมปฏิสังขรณ์ วัดสุวรรณดาราราม ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามาโดยตลอด ด้วยทรงถือว่าเป็นวัดแห่งพระราชวงศ์ | พระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ ทรงทำนุบำรุง ซ่อมแซมปฏิสังขรณ์ วัดสุวรรณดาราราม ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามาโดยตลอด ด้วยทรงถือว่าเป็นวัดแห่งพระราชวงศ์ เนื่องจากพระอัยกาของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] สร้างขึ้นตั้งแต่ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา | ||
เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสที่พระบรมราชจักรีวงศ์ ประดิษฐานมาได้ครบ ๑๕๐ ปี พุทธศักราช ๒๔๗๕ และกรุงรัตนโกสินทร์ ครบ ๑๕๐ ปี | เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสที่พระบรมราชจักรีวงศ์ ประดิษฐานมาได้ครบ ๑๕๐ ปี พุทธศักราช ๒๔๗๕ และกรุงรัตนโกสินทร์ ครบ ๑๕๐ ปี [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ปฏิสังขรณ์พระอารามนี้ครั้งใหญ่ | ||
ในการนี้ให้[[พระยาอนุศาสน์จิตรกร]] ([[จันทร์ จิตรกร]]) เขียนภาพพระราชประวัติ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ไว้ที่พระวิหารวัดสุวรรณดาราราม เริ่มเขียนตั้งแต่ พุทธศักราช ๒๔๗๒ เรื่องราวนับตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เสด็จไปประทับในราชสำนักหงสาวดี ทรงตีกระบี่กระบองกับมังสามเกียด ซึ่งต่อมาคือ พระมหาอุปราชา เฉพาะพระพักตร์พระเจ้าบุเรงนอง เรื่อยมาจนกระทั่งประกาศอิสรภาพ และทำสงครามกับหงสาวดีหลายครั้ง | |||
จนกระทั่งสงครามยุทธหัตถีซึ่งอยู่เหนือประตูวิหารด้านหน้า ตำแหน่งตรงข้ามกับพระประธาน โดยปกติแล้วหากเป็นจิตรกรรมเล่าเรื่องพระพุทธประวัติ ตำแหน่งนี้จะต้องเป็นภาพมารผจญ งานจิตรกรรมที่วัดสุวรรณดารารามนี้ นับได้ว่าเป็นต้นแบบของการเล่าเรื่องสมเด็จพระนเรศวรมหาราชในกาลต่อมา ในหลายรูปแบบ ทั้งแบบเรียน นิยาย ละคร เพลง ตำนาน และการ์ตูน ทำให้พระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระชนม์เมื่อ ๔๐๐ ปีก่อน ยังคงอยู่ในความทรงจำของคนรุ่นหลัง | จนกระทั่งสงครามยุทธหัตถีซึ่งอยู่เหนือประตูวิหารด้านหน้า ตำแหน่งตรงข้ามกับพระประธาน โดยปกติแล้วหากเป็นจิตรกรรมเล่าเรื่องพระพุทธประวัติ ตำแหน่งนี้จะต้องเป็นภาพมารผจญ งานจิตรกรรมที่วัดสุวรรณดารารามนี้ นับได้ว่าเป็นต้นแบบของการเล่าเรื่องสมเด็จพระนเรศวรมหาราชในกาลต่อมา ในหลายรูปแบบ ทั้งแบบเรียน นิยาย ละคร เพลง ตำนาน และการ์ตูน ทำให้พระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระชนม์เมื่อ ๔๐๐ ปีก่อน ยังคงอยู่ในความทรงจำของคนรุ่นหลัง | ||
บรรทัดที่ 12: | บรรทัดที่ 12: | ||
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖ | บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖ | ||
*[https://www.youtube.com/watch?v=jsL83ZmejTo&index=54&list=PLz3ADrKTT5i0vjsCnIPrpraHExclR_Odo YOU TUBE : พระราชนิยมในพระปกเกล้า : ปฏิสังขรณ์วัดสุวรรณดาราม] | |||
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]] | [[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:40, 9 กุมภาพันธ์ 2559
พระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ ทรงทำนุบำรุง ซ่อมแซมปฏิสังขรณ์ วัดสุวรรณดาราราม ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามาโดยตลอด ด้วยทรงถือว่าเป็นวัดแห่งพระราชวงศ์ เนื่องจากพระอัยกาของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สร้างขึ้นตั้งแต่ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา
เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสที่พระบรมราชจักรีวงศ์ ประดิษฐานมาได้ครบ ๑๕๐ ปี พุทธศักราช ๒๔๗๕ และกรุงรัตนโกสินทร์ ครบ ๑๕๐ ปี พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ปฏิสังขรณ์พระอารามนี้ครั้งใหญ่
ในการนี้ให้พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) เขียนภาพพระราชประวัติ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ไว้ที่พระวิหารวัดสุวรรณดาราราม เริ่มเขียนตั้งแต่ พุทธศักราช ๒๔๗๒ เรื่องราวนับตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เสด็จไปประทับในราชสำนักหงสาวดี ทรงตีกระบี่กระบองกับมังสามเกียด ซึ่งต่อมาคือ พระมหาอุปราชา เฉพาะพระพักตร์พระเจ้าบุเรงนอง เรื่อยมาจนกระทั่งประกาศอิสรภาพ และทำสงครามกับหงสาวดีหลายครั้ง
จนกระทั่งสงครามยุทธหัตถีซึ่งอยู่เหนือประตูวิหารด้านหน้า ตำแหน่งตรงข้ามกับพระประธาน โดยปกติแล้วหากเป็นจิตรกรรมเล่าเรื่องพระพุทธประวัติ ตำแหน่งนี้จะต้องเป็นภาพมารผจญ งานจิตรกรรมที่วัดสุวรรณดารารามนี้ นับได้ว่าเป็นต้นแบบของการเล่าเรื่องสมเด็จพระนเรศวรมหาราชในกาลต่อมา ในหลายรูปแบบ ทั้งแบบเรียน นิยาย ละคร เพลง ตำนาน และการ์ตูน ทำให้พระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระชนม์เมื่อ ๔๐๐ ปีก่อน ยังคงอยู่ในความทรงจำของคนรุ่นหลัง
การเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังชุดนี้ ได้เสร็จสิ้นลงเมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๔ ใช้เวลาเกือบ ๒ ปี
ที่มา
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖