ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 4: บรรทัดที่ 4:
----
----


คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550 มีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของ ก.พ.ร. และหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือ ก.พ.ร.กำหนด โดยมีเลขาธิการ ก.พ.ร.เป็นผู้บังคับบัญชา   
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัด[[สำนักนายกรัฐมนตรี]] จัดตั้งขึ้นตาม[[พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534]] แก้ไขเพิ่มเติมโดย[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550]] มีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของ [[ก.พ.ร.]] และหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือ ก.พ.ร.กำหนด โดยมีเลขาธิการ ก.พ.ร.เป็นผู้บังคับบัญชา<ref>พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 71/9 </ref>  


==ความสำคัญ==
==ความสำคัญ==
จากที่มีการแก้ไขพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ที่กำหนดให้การบริหารราชต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น กระจายภารกิจและทรัพยากรไปสู่ท้องถิ่น และให้การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการเป็นไปตามวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)   
 
จากที่มีการแก้ไขพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 โดย[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545]] ที่กำหนดให้การบริหารราชต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ [[มีความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ]] [[ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน]] ลดภารกิจและ[[ยุบเลิกหน่วยงาน]]ที่ไม่จำเป็น กระจายภารกิจและทรัพยากรไปสู่ท้องถิ่น และให้การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการเป็นไปตาม[[วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี]] (Good Governance)<ref>พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 3/1</ref>  
การพัฒนาระบบราชการจึงเป็นการดำเนินการที่สำคัญ เพื่อให้การดำเนินการพัฒนาระบบราชการเป็นไปโดยบรรลุประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงได้มีการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550 ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ หรือ ก.พ.ร. ที่มีนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน และมีคณะกรรมการประกอบด้วย
การพัฒนาระบบราชการจึงเป็นการดำเนินการที่สำคัญ เพื่อให้การดำเนินการพัฒนาระบบราชการเป็นไปโดยบรรลุประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงได้มีการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550 ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ หรือ ก.พ.ร. ที่มี[[นายกรัฐมนตรี]]หรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน และมีคณะกรรมการประกอบด้วย<ref>พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 71/1</ref> 


(1) กรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหนึ่งคน
(1) กรรมการที่ได้รับมอบหมายจาก[[คณะกรรมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]หนึ่งคน


(2) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินสิบคนที่แต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ การบริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยาองค์การ และสังคมวิทยา อย่างน้อยด้านละหนึ่งคน โดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระในการดำรงตำแหน่งสี่ปีและได้รับการแต่งตั้งไม่เกินสองวาระติดกัน
(2) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินสิบคนที่แต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ การบริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยาองค์การ และสังคมวิทยา อย่างน้อยด้านละหนึ่งคน โดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระในการดำรงตำแหน่งสี่ปีและได้รับการแต่งตั้งไม่เกินสองวาระติดกัน
บรรทัดที่ 17: บรรทัดที่ 18:
==อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ==
==อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ==
   
   
มีดังต่อไปนี้  
มีดังต่อไปนี้<ref>พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 71/10</ref>


(1) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่น  ซึ่งรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ  ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร  มาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม  ค่าตอบแทน  และวิธีปฏิบัติราชการอื่น  เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 3/1 ของพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 โดยการเสนอแนะจะให้มีการกำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์และมาตรการการดำเนินการ
(1) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่น  ซึ่งรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ  ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร  มาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม  ค่าตอบแทน  และวิธีปฏิบัติราชการอื่น  เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 3/1 ของพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 โดยการเสนอแนะจะให้มีการกำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์และมาตรการการดำเนินการ
บรรทัดที่ 27: บรรทัดที่ 28:
(4) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตั้ง  การรวม การโอน  การยุบเลิก  การกำหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ  การกำหนดอำนาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของส่วนราชการที่เป็นกระทรวง  ทบวง กรม  หรือส่วนราชการอื่น
(4) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตั้ง  การรวม การโอน  การยุบเลิก  การกำหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ  การกำหนดอำนาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของส่วนราชการที่เป็นกระทรวง  ทบวง กรม  หรือส่วนราชการอื่น


(5) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎที่ออกตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550
(5) เสนอความเห็นต่อ[[คณะรัฐมนตรี]]ในการตรา[[พระราชกฤษฎีกา]] และกฎที่ออกตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550


(6) ดำเนินการชี้แจงทำความเข้าใจแก่ส่วนราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไป  รวมถึงการจัดอบรม
(6) ดำเนินการชี้แจงทำความเข้าใจแก่ส่วนราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไป  รวมถึงการจัดอบรม
บรรทัดที่ 33: บรรทัดที่ 34:
(7) จัดให้มีการติดตาม ประเมินผล  และให้คำแนะนำเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย พร้อมทั้งรายงานต่อคณะรัฐมนตรีพร้อมข้อเสนอแนะ
(7) จัดให้มีการติดตาม ประเมินผล  และให้คำแนะนำเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย พร้อมทั้งรายงานต่อคณะรัฐมนตรีพร้อมข้อเสนอแนะ


(8) เป็นผู้ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติ  หรือกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง  ทบวง กรม รวมตลอดทั้งกำหนดแนวทางปฏิบัติ ในกรณีที่เป็นปัญหา มติของคณะกรรมการตามข้อนี้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ใช้บังคับได้ตามกฎหมาย
(8) เป็นผู้ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติ  หรือกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง  ทบวง กรม รวมตลอดทั้งกำหนดแนวทางปฏิบัติ ในกรณีที่เป็นปัญหา มติของคณะกรรมการตามข้อนี้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ใช้บังคับได้ตาม[[กฎหมาย]]


(9) มีอำนาจเรียกให้เจ้าหน้าที่ หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความคิดเห็นประกอบการพิจารณา
(9) มีอำนาจเรียกให้เจ้าหน้าที่ หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความคิดเห็นประกอบการพิจารณา


(10) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราขการและงานของรัฐอย่างอื่น เสนอต่อคณะรัฐมนตรี  เพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา
(10) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราขการและงานของรัฐอย่างอื่น เสนอต่อคณะรัฐมนตรี  เพื่อเสนอต่อ[[สภาผู้แทนราษฎร]]และ[[วุฒิสภา]]


(11) แต่งตั้งคณะกรรมการ  คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ  ตามที่ มอบหมาย  
(11) แต่งตั้งคณะกรรมการ  คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ  ตามที่ มอบหมาย  


(12) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่พระราชบัญญัติกำหนดหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
(12) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่[[พระราชบัญญัติกำหนด]]หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย


==สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ==
==สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ==
   
   
เพื่อให้การดำเนินการของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการบรรลุเป้าหมาย จึงได้มีการจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ โดยทำหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของ ก.พ.ร.และงานอื่นๆตามที่กฎหมายหรือ ก.พ.ร.กำหนด โดยแบ่งส่วนราชการดังต่อไปนี้  
เพื่อให้การดำเนินการของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการบรรลุเป้าหมาย จึงได้มีการจัดตั้ง[[สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ]] โดยทำหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของ ก.พ.ร.และงานอื่นๆตามที่กฎหมายหรือ ก.พ.ร.กำหนด โดยแบ่งส่วนราชการดังต่อไปนี้<ref>กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สํานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2556 ข้อ 3</ref> 


'''1. สำนักงานเลขาธิการ'''
'''1. สำนักงานเลขาธิการ'''
   
   
มีหน้าที่จัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการของสำนักงาน รวมทั้งติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนประสานการปฏิบัติราชการของสำนักงาน ดำเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานช่วยอำนวยการ งานการเงินและพัสดุงานงบประมาณ งานบริหารงานบุคคล งานพัฒนาข้าราชการ งานวิเทศสัมพันธ์ งานเลขานุการนักบริหารและงานประชาสัมพันธ์ของสำนักงาน
มีหน้าที่จัดทำ[[แผนยุทธศาสตร์]]และ[[แผนปฏิบัติการ]]ของสำนักงาน รวมทั้งติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนประสานการปฏิบัติราชการของสำนักงาน ดำเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานช่วยอำนวยการ งานการเงินและพัสดุงานงบประมาณ งานบริหารงานบุคคล งานพัฒนาข้าราชการ งานวิเทศสัมพันธ์ งานเลขานุการนักบริหารและงานประชาสัมพันธ์ของสำนักงาน
   
   
ดำเนินการเกี่ยวกับการให้บริการและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และงานเลขานุการของ ก.พ.ร. ร่วมกับส่วนราชการอื่นตามที่เลขาธิการ ก.พ.ร. มอบหมาย
ดำเนินการเกี่ยวกับการให้บริการและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และงานเลขานุการของ ก.พ.ร. ร่วมกับส่วนราชการอื่นตามที่เลขาธิการ ก.พ.ร. มอบหมาย
บรรทัดที่ 61: บรรทัดที่ 62:
'''3. กองกิจการองค์การมหาชนและหน่วยงานของรัฐรูปแบบอื่น'''
'''3. กองกิจการองค์การมหาชนและหน่วยงานของรัฐรูปแบบอื่น'''
  
  
มีอำนาจหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และเสนอแนะ เพื่อกำหนดนโยบาย แนวทาง และหลักเกณฑ์กลางที่เกี่ยวกับการจัดตั้ง การรวม การยุบเลิก การบริหารงานและพัฒนา และการประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์การมหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ รวมทั้งให้คำปรึกษา เสนอแนะ และประสานงานกับองค์การมหาชนและหน่วยงานของรัฐรูปแบบอื่นในกำกับของราชการฝ่ายบริหารที่มิใช่ส่วนราชการ เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการบริหารงานและการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ มาตรฐาน และแนวทางที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอของ ก.พ.ร.
มีอำนาจหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และเสนอแนะ เพื่อกำหนดนโยบาย แนวทาง และหลักเกณฑ์กลางที่เกี่ยวกับการจัดตั้ง การรวม การยุบเลิก การบริหารงานและพัฒนา และการประเมินผลการปฏิบัติงานของ[[องค์การมหาชน]]และ[[หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ]] รวมทั้งให้คำปรึกษา เสนอแนะ และประสานงานกับองค์การมหาชนและหน่วยงานของรัฐรูปแบบอื่นในกำกับของราชการฝ่ายบริหารที่มิใช่[[ส่วนราชการ]] เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการบริหารงานและการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ มาตรฐาน และแนวทางที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอของ ก.พ.ร.


'''4. กองติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบราชการ'''
'''4. กองติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบราชการ'''
   
   
มีอำนาจหน้าที่ในการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาระบบราชการ และการดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานอื่นของรัฐ เสนอต่อ ก.พ.ร. รวมถึงให้คำปรึกษา แนะนำ เสนอแนะ และประสานงานเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาระบบราชการ
มีอำนาจหน้าที่ในการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาระบบราชการ และการดำเนินการตาม[[กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี]] จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานอื่นของรัฐ เสนอต่อ ก.พ.ร. รวมถึงให้คำปรึกษา แนะนำ เสนอแนะ และประสานงานเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาระบบราชการ


'''5. กองบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม'''                           
'''5. กองบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม'''                           
บรรทัดที่ 83: บรรทัดที่ 84:
มีอำนาจหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เสนอแนะ และประสานงานเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เรื่องการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม การจัดตั้ง การรวม การโอน การยุบเลิก การกำหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกำหนดอำนาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น ให้คำปรึกษา แนะนำ เสนอแนะ ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานเกี่ยวกับการจัดโครงสร้างและปรับปรุงระบบงาน การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการนำยุทธศาสตร์หรือมาตรการในการพัฒนาระบบราชการไปสู่การปฏิบัติของกระทรวง  ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น
มีอำนาจหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เสนอแนะ และประสานงานเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เรื่องการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม การจัดตั้ง การรวม การโอน การยุบเลิก การกำหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกำหนดอำนาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น ให้คำปรึกษา แนะนำ เสนอแนะ ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานเกี่ยวกับการจัดโครงสร้างและปรับปรุงระบบงาน การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการนำยุทธศาสตร์หรือมาตรการในการพัฒนาระบบราชการไปสู่การปฏิบัติของกระทรวง  ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น


'''9. กองพัฒนาระเบียบราชการส่วนภูมิภาคและความสัมพันธ์กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น'''  
'''9. กองพัฒนาระเบียบ[[ราชการส่วนภูมิภาค]]และความสัมพันธ์กับ[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]'''  


มีอำนาจหน้าที่ในการศึกษาและวิเคราะห์เพื่อเสนอแนะให้ความเห็นเกี่ยวกับมาตรการและระบบการพัฒนาระเบียบราชการส่วนภูมิภาคและความสัมพันธ์กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และระบบการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ให้คำปรึกษาและประสานงานกับหน่วยงานกลางอื่นๆ เกี่ยวกับนโยบายการบริหารราชการส่วนภูมิภาคและความสัมพันธ์กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ดำเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการและคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการที่เกี่ยวข้อง
มีอำนาจหน้าที่ในการศึกษาและวิเคราะห์เพื่อเสนอแนะให้ความเห็นเกี่ยวกับมาตรการและระบบการพัฒนาระเบียบราชการส่วนภูมิภาคและความสัมพันธ์กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และระบบ[[การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ]] ให้คำปรึกษาและประสานงานกับหน่วยงานกลางอื่นๆ เกี่ยวกับนโยบายการบริหารราชการส่วนภูมิภาคและความสัมพันธ์กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ดำเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของ[[คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ]]และ[[คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ]]ที่เกี่ยวข้อง


'''10. กองส่งเสริมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ'''
'''10. กองส่งเสริมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ'''
 
 
มีอำนาจหน้าที่ในการจัดทำและพัฒนาแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการการดำเนินงานของส่วนราชการและแนวทางการสอบทานผลการดำเนินงานของส่วนราชการ จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเสนอนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีรวมทั้งรายงานการประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการตามกฎหรือระเบียบว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ให้คำปรึกษา แนะนำ เสนอแนะ และประสานงานเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
มีอำนาจหน้าที่ในการจัดทำและพัฒนาแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการการดำเนินงานของส่วนราชการและแนวทางการสอบทานผลการดำเนินงานของส่วนราชการ จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเสนอ[[นายกรัฐมนตรี]]และ[[คณะรัฐมนตรี]]รวมทั้งรายงานการประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการตามกฎหรือระเบียบว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ให้คำปรึกษา แนะนำ เสนอแนะ และประสานงานเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ


'''11. กลุ่มตรวจสอบภายใน'''
'''11. กลุ่มตรวจสอบภายใน'''
บรรทัดที่ 97: บรรทัดที่ 98:
'''12. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร'''
'''12. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร'''
 
 
มีอำนาจหน้าที่ในการให้คำเสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่เลขาธิการเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการภายในสำนักงาน ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการในสำนักงาน  ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการร่วมกับหน่วยงานกลางต่าง ๆ และส่วนราชการในสำนักงาน
มีอำนาจหน้าที่ในการให้คำเสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่เลขาธิการเกี่ยวกับยุทธศาสตร์[[การพัฒนาระบบราชการ]]ภายในสำนักงาน ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการในสำนักงาน  ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการร่วมกับหน่วยงานกลางต่าง ๆ และส่วนราชการในสำนักงาน


'''13. ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต'''
'''13. ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต'''
 
 
มีอำนาจหน้าที่ในการเสนอแนะเลขาธิการเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของสำนักงาน รวมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของส่วนราชการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ และนโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง ประสานงาน เร่งรัด และกำกับให้ส่วนราชการในสำนักงานดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของส่วนราชการ  รับข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ในสำนักงาน และส่งต่อไปยังส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และคุ้มครองจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน  
มีอำนาจหน้าที่ในการเสนอแนะเลขาธิการเกี่ยวกับ[[การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ]]ของสำนักงาน รวมทั้งจัดทำ[[แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของส่วนราชการ]]ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ และนโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง ประสานงาน เร่งรัด และกำกับให้ส่วนราชการในสำนักงานดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของส่วนราชการ  รับข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ในสำนักงาน และส่งต่อไปยังส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และคุ้มครองจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน  
   
   
==บทบาทของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ==
==บทบาทของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ==
บรรทัดที่ 107: บรรทัดที่ 108:
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยขึ้นเพื่อเป็นกรอบทิศทางและแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการไทย โดยจัดทำแล้ว 2 ฉบับคือ
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยขึ้นเพื่อเป็นกรอบทิศทางและแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการไทย โดยจัดทำแล้ว 2 ฉบับคือ


1. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555)
1.[[ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555)]]


2. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561)
2.[[ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561)]]
   
   
โดยมีแนวทางของยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยดังนี้
โดยมีแนวทางของยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยดังนี้


'''1. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555)'''  
'''1. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555)'''<ref>สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555) [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://psdg.vec.go.th/Portals/5/doc/strategies_new2_2.pdf . หน้า 30-40 . </ref>


'''ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการและการทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซับซ้อน หลากหลายและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว'''
'''ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการและการทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซับซ้อน หลากหลายและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว'''
บรรทัดที่ 125: บรรทัดที่ 126:
(3) ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการให้บริการให้มีความรวดเร็ว รวมทั้ง แก้ไขกฏ ระเบียบ กฎหมาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานร่วมระหว่างหน่วยงาน และการให้บริการประชาชน
(3) ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการให้บริการให้มีความรวดเร็ว รวมทั้ง แก้ไขกฏ ระเบียบ กฎหมาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานร่วมระหว่างหน่วยงาน และการให้บริการประชาชน


(4) เปิดโอกาสให้ประชาชนมีทางเลือกในการใช้บริการสาธารณะมากขึ้น
(4) เปิดโอกาสให้ประชาชนมีทางเลือกในการใช้[[บริการสาธารณะ]]มากขึ้น


กลยุทธ์ที่ 2  : ส่งเสริมสนับสนุนให้มีกลไกการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและบริการของทางราชการได้โดยสะดวกเป็นธรรม และตรงตามความต้องการ โดย
กลยุทธ์ที่ 2  : ส่งเสริมสนับสนุนให้มีกลไกการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและบริการของทางราชการได้โดยสะดวกเป็นธรรม และตรงตามความต้องการ โดย
บรรทัดที่ 137: บรรทัดที่ 138:
'''ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับรูปแบบการทำงานให้มีลักษณะเชิงบูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม'''
'''ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับรูปแบบการทำงานให้มีลักษณะเชิงบูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม'''


กลยุทธ์ที่ 1 : วางระบบการบริหารงานแบบบูรณาการภายในระบบราชการ โดย
กลยุทธ์ที่ 1 : วางระบบ[[การบริหารงานแบบบูรณาการภายในระบบราชการ]] โดย


(1) จัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ให้มีขอบเขต อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจน  
(1) จัดระบบความสัมพันธ์ระหว่าง[[การบริหารราชการส่วนกลาง]] [[ส่วนภูมิภาค]] และ[[ส่วนท้องถิ่น]] ให้มีขอบเขต อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจน  


(2) ออกแบบระบบบริหารราชการสำหรับพื้นที่เฉพาะ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่ ทั้งปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคง  
(2) ออกแบบระบบบริหารราชการสำหรับพื้นที่เฉพาะ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่ ทั้งปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคง  


(3) เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่จังหวัด/กลุ่มจังหวัดในการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการโดยสนับสนุนให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดมีแผนและงบประมาณ เพื่อพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดเป็นการเฉพาะและอย่างเพียงพอเพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่
(3) เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่[[จังหวัด]]/กลุ่มจังหวัดใน[[การบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ]]โดยสนับสนุนให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดมีแผนและงบประมาณ เพื่อพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดเป็นการเฉพาะและอย่างเพียงพอเพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่


กลยุทธ์ที่ 2 : ส่งเสริม ผลักดันให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานกลางต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินการของส่วนราชการต่าง ๆ โดย  
กลยุทธ์ที่ 2 : ส่งเสริม ผลักดันให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานกลางต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินการของส่วนราชการต่าง ๆ โดย  
บรรทัดที่ 151: บรรทัดที่ 152:
กลยุทธ์ที่ 3: จัดระบบบริหารราชการให้เอื้อต่อการทำงานร่วมกันเป็นเครือข่ายกับภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรชุมชน และภาคส่วนต่าง ๆ ในลักษณะเป็นภาคี/พันธมิตร/หุ้นส่วนในการจัดบริการสาธารณะ โดย  
กลยุทธ์ที่ 3: จัดระบบบริหารราชการให้เอื้อต่อการทำงานร่วมกันเป็นเครือข่ายกับภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรชุมชน และภาคส่วนต่าง ๆ ในลักษณะเป็นภาคี/พันธมิตร/หุ้นส่วนในการจัดบริการสาธารณะ โดย  


(1) ส่งเสริม ผลักดันให้เกิดความร่วมมือในการทำงาน การประสานกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและองค์กรประชาชนในลักษณะการบริหารงานในรูปแบบเครือข่าย (Networking) เน้นการทำงานแบบหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐ และ ภาคเอกชนในงานบริการสาธารณะ (Public-Private Partnership - PPP) โดยศึกษาความเป็นไปได้ในการร่วมทุนในโครงการพัฒนาสำคัญ ๆ ของประเทศ
(1) ส่งเสริม ผลักดันให้เกิดความร่วมมือในการทำงาน การประสานกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและองค์กรประชาชนในลักษณะการบริหารงานในรูปแบบเครือข่าย (Networking) เน้น[[การทำงานแบบหุ้นส่วน]]ระหว่างภาครัฐ และ ภาคเอกชนในงานบริการสาธารณะ (Public-Private Partnership - PPP) โดยศึกษาความเป็นไปได้ในการร่วมทุนในโครงการพัฒนาสำคัญ ๆ ของประเทศ


กลยุทธ์ที่ 4 สนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ โดย
กลยุทธ์ที่ 4 สนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ โดย
บรรทัดที่ 159: บรรทัดที่ 160:
(2) พัฒนารูปแบบ กลไก ระบบ และวิธีทำงาน เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม  
(2) พัฒนารูปแบบ กลไก ระบบ และวิธีทำงาน เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม  


(3) ส่งเสริมให้มีคณะกรรมการภาคประชาชน (Lay Board) ในทุกระดับ และจัดให้มีอาสาสมัครภาคประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐ รวมถึงการริเริ่มให้มีการวางแผนและจัดทำงบประมาณแบบมีส่วนร่วม (Participatory Planning and Budgeting)
(3) ส่งเสริมให้มี[[คณะกรรมการภาคประชาชน]] (Lay Board) ในทุกระดับ และจัดให้มีอาสาสมัครภาคประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐ รวมถึงการริเริ่มให้มี[[การวางแผนและจัดทำงบประมาณแบบมีส่วนร่วม]] (Participatory Planning and Budgeting)


'''ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่มเปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่าง ๆ'''
'''ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่มเปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่าง ๆ'''
บรรทัดที่ 175: บรรทัดที่ 176:
(1) ทบทวนบทบาทภารกิจของภาครัฐให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ยกเลิกภารกิจที่ไม่จำเป็น ถ่ายโอนงานบริการบางอย่างของรัฐให้เอกชน หรือท้องถิ่นดำเนินการแทน
(1) ทบทวนบทบาทภารกิจของภาครัฐให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ยกเลิกภารกิจที่ไม่จำเป็น ถ่ายโอนงานบริการบางอย่างของรัฐให้เอกชน หรือท้องถิ่นดำเนินการแทน


(2) วางรากฐานและแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ หรือหน่วยงานของรัฐอื่น ๆ ภายใต้    กำกับของฝ่ายบริหารให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และสามารถดำเนินงานเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
(2) วางรากฐานและแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริม[[องค์การมหาชน]] [[หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ]] หรือหน่วยงานของรัฐอื่น ๆ ภายใต้    กำกับของฝ่ายบริหารให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และสามารถดำเนินงานเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน


(3) จัดโครงสร้างส่วนราชการให้มีความพร้อมในบริบทของผู้ซื้อบริการ (Service Purchaser) และผู้ให้บริการ/ผู้จัดหาบริการ (Service Provider)
(3) จัดโครงสร้างส่วนราชการให้มีความพร้อมในบริบทของผู้ซื้อบริการ (Service Purchaser) และผู้ให้บริการ/ผู้จัดหาบริการ (Service Provider)


(4) ทบทวนการกระจายอำนาจไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ตามสภาพการณ์ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดวินัยทางการคลังและธรรมาภิบาลในการบริหารงาน
(4) ทบทวน[[การกระจายอำนาจ]]ไปยัง[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]] ให้มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ตามสภาพการณ์ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดวินัยทางการคลังและ[[ธรรมาภิบาล]]ในการบริหารงาน


(5) ทบทวน ปรับปรุง หรือแก้ไขกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานของรัฐ อันมีผลกระทบต่อการจำกัดสิทธิเสรีภาพและการให้บริการแก่ประชาชน
(5) ทบทวน ปรับปรุง หรือแก้ไข[[กฎหมาย]]ที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานของรัฐ อันมีผลกระทบต่อการจำกัดสิทธิเสรีภาพและการให้บริการแก่ประชาชน


กลยุทธ์ที่ 3: เสริมสร้างให้หน่วยงานภาครัฐมีความตื่นตัว ตอบสนอง และไวต่อการเปลี่ยนแปลง มีการบริหารจัดการที่ยืดหยุ่น คล่องตัว สามารถปรับตัว และมีความคิดริเริ่ม ทันต่อสถานการณ์และความท้าทายต่าง ๆ ได้ โดย
กลยุทธ์ที่ 3: เสริมสร้างให้หน่วยงานภาครัฐมีความตื่นตัว ตอบสนอง และไวต่อการเปลี่ยนแปลง มีการบริหารจัดการที่ยืดหยุ่น คล่องตัว สามารถปรับตัว และมีความคิดริเริ่ม ทันต่อสถานการณ์และความท้าทายต่าง ๆ ได้ โดย


(1) มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance Organization) เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และเกิดผลสัมฤทธิ์ โดยปรับแต่งองคาพยพในด้านต่าง ๆ เช่น โครงสร้าง กระบวนการ เทคโนโลยี บุคลากร วัฒนธรรม และค่านิยม ให้มีความเหมาะสม สอดคล้องและเชื่อมโยงไปในทิศทางเดียวกันทั่วทั้งองค์การ
(1) มุ่งสู่การเป็น[[องค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง]] (High Performance Organization) เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และเกิดผลสัมฤทธิ์ โดยปรับแต่งองคาพยพในด้านต่าง ๆ เช่น โครงสร้าง กระบวนการ เทคโนโลยี บุคลากร วัฒนธรรม และค่านิยม ให้มีความเหมาะสม สอดคล้องและเชื่อมโยงไปในทิศทางเดียวกันทั่วทั้งองค์การ


(2) ส่งเสริมให้ส่วนราชการมีการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและส่งมอบบริการสาธารณะ
(2) ส่งเสริมให้ส่วนราชการมีการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและส่งมอบบริการสาธารณะ


(3) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ ๆ เข้ามาใช้ในการบริการสาธารณะผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อลดต้นทุนการให้บริการและรองรับความต้องการของประชาชนตามแนวทางในการมุ่งไปสู่การเป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
(3) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ ๆ เข้ามาใช้ในการบริการสาธารณะผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อลดต้นทุนการให้บริการและรองรับความต้องการของประชาชนตามแนวทางในการมุ่งไปสู่การเป็น[[รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์]] (e-Government)


(4) ปรับปรุงกลไกและระบบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ให้เหมาะสมสอดรับกับพันธกิจและลักษณะของหน่วยงานของรัฐ สามารถวัดผลได้ทั้งในระดับองค์การและระดับบุคคล
(4) ปรับปรุงกลไกและระบบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ให้เหมาะสมสอดรับกับพันธกิจและลักษณะของหน่วยงานของรัฐ สามารถวัดผลได้ทั้งในระดับองค์การและระดับบุคคล
บรรทัดที่ 205: บรรทัดที่ 206:
(5) จัดให้มีข้าราชการวิสามัญเพื่อรองรับการปฏิบัติงานในหน่วยงานราชการที่มีการจัดโครงสร้างองค์การลักษณะพิเศษ หรือเพื่อไว้รองรับบางตำแหน่งในส่วนราชการที่มีอยู่เดิม
(5) จัดให้มีข้าราชการวิสามัญเพื่อรองรับการปฏิบัติงานในหน่วยงานราชการที่มีการจัดโครงสร้างองค์การลักษณะพิเศษ หรือเพื่อไว้รองรับบางตำแหน่งในส่วนราชการที่มีอยู่เดิม


'''ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจ และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเองต่อประชาชนและต่อสังคมโดยรวม'''
'''ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบ[[การกำกับดูแลตนเองที่ดี]] เกิด[[ความโปร่งใส]] มั่นใจ และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิต[[สำนึกความรับผิดชอบ]]ต่อตนเองต่อประชาชนและต่อสังคมโดยรวม'''
 
 
กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสรางระบบคุณธรรม จริยธรรม ปรับกระบวนทัศน หลอหลอมวัฒนธรรมใหมใหเกิดขึ้นในหนวยงานภาครัฐ โดย  
กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสรางระบบ[[คุณธรรม จริยธรรม]] ปรับกระบวนทัศน หลอหลอมวัฒนธรรมใหมใหเกิดขึ้นในหนวยงานภาครัฐ โดย  


(1) สงเสริมใหหนวยงานของรัฐใชหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีเปนแนวทางในการทํางาน และยกระดับธรรมาภิบาลของหนวยงานภาครัฐ ใหอยูในระดับที่เปนที่ยอมรับของประชาชน โดยเฉพาะการพัฒนาขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐใหมีความรูความเขาใจในเรื่องธรรมาภิบาล รวมทั้งกําหนดใหมีกลไกเพื่อรับผิดชอบดูแลในเรื่องการสงเสริมธรรมาภิบาลขึ้นในแตละสวนราชการ  
(1) สงเสริมใหหนวยงานของรัฐใชหลัก[[การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี]]เปนแนวทางในการทํางาน และยกระดับ[[ธรรมาภิบาล]]ของหนวยงานภาครัฐ ใหอยูในระดับที่เปนที่ยอมรับของประชาชน โดยเฉพาะการพัฒนาขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐใหมีความรูความเขาใจในเรื่องธรรมาภิบาล รวมทั้งกําหนดใหมีกลไกเพื่อรับผิดชอบดูแลในเรื่องการสงเสริมธรรมาภิบาลขึ้นในแตละสวนราชการ  


(2) สงเสริมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน คานิยม และหลอหลอมวัฒนธรรมใหม ใหเอื้อตอทิศทางและแนวทางการพัฒนาระบบราชการ สงเสริมใหหนวยงาน ขาราชการ และเจาหนาที่ของภาครัฐปฏิบัติตนเปนตัวอยางที่ดีของสังคม เพื่อชี้นําสังคมไปสูการประพฤติปฏิบัติที่ดีงาม รวมทั้งสรางกลไกลงโทษที่มีประสิทธิภาพ วางแนวทางการเชื่อมโยงคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลไวกับระบบงานอื่นๆ เพื่อใหขยายผลเปนวัฒนธรรมองคการอยางยั่งยืนตอไป  
(2) สงเสริมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน คานิยม และหลอหลอมวัฒนธรรมใหม ใหเอื้อตอทิศทางและแนวทาง[[การพัฒนาระบบราชการ]] สงเสริมใหหนวยงาน ขาราชการ และเจาหนาที่ของภาครัฐปฏิบัติตนเปนตัวอยางที่ดีของสังคม เพื่อชี้นําสังคมไปสูการประพฤติปฏิบัติที่ดีงาม รวมทั้งสรางกลไกลงโทษที่มีประสิทธิภาพ วางแนวทางการเชื่อมโยงคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลไวกับระบบงานอื่นๆ เพื่อใหขยายผลเปนวัฒนธรรมองคการอยางยั่งยืนตอไป  


(3) สรางจิตสํานึก คานิยม คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในหนวยงานภาครัฐใหปฏิบัติงานดวยความประพฤติชอบ ซื่อสัตย สุจริต เปนกลางไมเลือกปฏิบัติ ยึดถือคุณธรรมและจริยธรรมเปนหลักในการทํางาน โดยจัดใหมีการวางระบบโครงสรางปจจัยพื้นฐานทางดานจริยธรรม (Ethics Infrastructure) ที่เอื้ออํานวยทั้งในดานการควบคุม การชี้แนะใหคําปรึกษา และการบริหารจัดการ เชน การจัดการความรูและระบบฐานขอมูลในเรื่องจริยธรรม เพื่อใหหนวยงานของรัฐมุงสูความเปนองคการแหงสุจริตธรรม
(3) สรางจิตสํานึก คานิยม คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในหนวยงานภาครัฐใหปฏิบัติงานดวยความประพฤติชอบ ซื่อสัตย สุจริต เปนกลางไมเลือกปฏิบัติ ยึดถือคุณธรรมและจริยธรรมเปนหลักในการทํางาน โดยจัดใหมีการวาง[[ระบบโครงสรางปจจัยพื้นฐานทางดานจริยธรรม]] (Ethics Infrastructure) ที่เอื้ออํานวยทั้งในดานการควบคุม การชี้แนะใหคําปรึกษา และการบริหารจัดการ เชน การจัดการความรูและระบบฐานขอมูลในเรื่องจริยธรรม เพื่อใหหนวยงานของรัฐมุงสูความเปน[[องคการแหงสุจริตธรรม]]


(4) จัดใหมีกลไกรับผิดชอบดูแลในเรื่องจริยธรรมขึ้นในแตละสวนราชการ เพื่อสงเสริมและใหคําปรึกษาแนะนํา เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และคอยสอดสองดูแลใหมีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของหนวยงาน และใหมีผูบริหารระดับสูงที่รับผิดชอบดานจริยธรรม (Chief Ethics Officer) รวมทั้งใหมีระบบการวัดผลอยางเปนรูปธรรมและการรายงานตอสาธารณะ ตลอดจนยกยองเชิดชูเกียรติผูที่มีผลสัมฤทธิ์ของงานและจริยธรรมสูง เพื่อใหเปนผูนําตนแบบที่ดี (Exemplary Leadership) สําหรับการปฏิบัติตนของขาราชการ
(4) จัดใหมีกลไกรับผิดชอบดูแลในเรื่องจริยธรรมขึ้นในแตละสวนราชการ เพื่อสงเสริมและใหคําปรึกษาแนะนํา เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และคอยสอดสองดูแลใหมีการปฏิบัติตาม[[ประมวลจริยธรรม]]ของหนวยงาน และใหมี[[ผูบริหารระดับสูงที่รับผิดชอบดานจริยธรรม]] (Chief Ethics Officer) รวมทั้งใหมีระบบการวัดผลอยางเปนรูปธรรมและการรายงานตอสาธารณะ ตลอดจนยกยองเชิดชูเกียรติผูที่มีผลสัมฤทธิ์ของงานและจริยธรรมสูง เพื่อใหเปน[[ผูนําตนแบบที่ดี]] (Exemplary Leadership) สําหรับการปฏิบัติตนของขาราชการ


(5) อื่นๆตอไป  
(5) อื่นๆตอไป  
บรรทัดที่ 229: บรรทัดที่ 230:


(3) สงเสริมใหภาคประชาชนไดมีความรู ความเขาใจเพียงพอและกระตุนใหประชาชนมีสวนรวมในการ
(3) สงเสริมใหภาคประชาชนไดมีความรู ความเขาใจเพียงพอและกระตุนใหประชาชนมีสวนรวมในการ
เฝาระวัง ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐ (People's Audit) โดยเฉพาะคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด
เฝาระวัง ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐ (People's Audit) โดยเฉพาะ[[คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด]]


(4) เรงรัดใหสวนราชการนําเสนอขอมูลสารสนเทศที่มีความจําเปนตอการแสดงภาระรับผิดชอบ ความโปรงใส และเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงาน โดยจัดใหมีชองทางการสื่อสารใหประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลสารสนเทศดังกลาวไดโดยงาย  
(4) เรงรัดใหสวนราชการนําเสนอขอมูลสารสนเทศที่มีความจําเปนตอการแสดงภาระรับผิดชอบ ความโปรงใส และเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงาน โดยจัดใหมีชองทางการสื่อสารใหประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลสารสนเทศดังกลาวไดโดยงาย  
บรรทัดที่ 241: บรรทัดที่ 242:
(1) สงเสริมความสัมพันธที่ดีในการปฏิบัติราชการรวมกันระหวางขาราชการการเมืองและขาราชการประจํา โดยเฉพาะการสรางและพัฒนาระบบพิทักษคุณธรรม (Merit System Protection) ใหเปนที่ยอมรับและเกิดความมั่นใจ รวมทั้งทําใหระบบราชการมีจุดยืนและทิศทางในการพัฒนาประเทศที่ชัดเจน และสามารถนํานโยบายของรัฐบาลมาถายทอดสูการปฏิบัติไดอยางเหมาะสมถูกตอง เปนธรรม เพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนและสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของพลวัตรโลก
(1) สงเสริมความสัมพันธที่ดีในการปฏิบัติราชการรวมกันระหวางขาราชการการเมืองและขาราชการประจํา โดยเฉพาะการสรางและพัฒนาระบบพิทักษคุณธรรม (Merit System Protection) ใหเปนที่ยอมรับและเกิดความมั่นใจ รวมทั้งทําใหระบบราชการมีจุดยืนและทิศทางในการพัฒนาประเทศที่ชัดเจน และสามารถนํานโยบายของรัฐบาลมาถายทอดสูการปฏิบัติไดอยางเหมาะสมถูกตอง เปนธรรม เพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนและสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของพลวัตรโลก


'''2.แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561)'''  
'''2.แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561)'''<ref>สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 – พ.ศ. 2561), (กรุงเทพมหานคร : บริษัท วิชั่น พริ้นท์ แอนด์ มีเดีย, 2556),  หน้า 31-47. </ref>
   
   
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561) ในการประชุมเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2556 โดยกำหนดเป็น 3 หัวข้อ 7 ประเด็นยุทธศาสตร์ คือ
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561) ในการประชุมเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2556 โดยกำหนดเป็น 3 หัวข้อ 7 ประเด็นยุทธศาสตร์ คือ
บรรทัดที่ 271: บรรทัดที่ 272:
'''ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การสร้างความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน'''  
'''ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การสร้างความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน'''  
 
 
เตรียมความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อรองรับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน รวมทั้งประสาน พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกันในการส่งเสริมและยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐของ ประเทศสมาชิกอาเซียน อันจะนำไปสู่ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางการเมือง และความเจริญผาสุกของสังคมร่วมกัน
เตรียมความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อรองรับการก้าวเข้าสู่[[ประชาคมอาเซียน]] รวมทั้งประสาน พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกันในการส่งเสริมและยกระดับ[[ธรรมาภิบาล]]ในภาครัฐของ [[ประเทศสมาชิกอาเซียน]] อันจะนำไปสู่ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางการเมือง และความเจริญผาสุกของสังคมร่วมกัน
 
==อ้างอิง==
 
<references/>


==หนังสืออ่านประกอบ==
==หนังสืออ่านประกอบ==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:37, 8 ธันวาคม 2557

เรียบเรียงโดย : อาจารย์บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และคณะ

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล


คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550 มีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของ ก.พ.ร. และหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือ ก.พ.ร.กำหนด โดยมีเลขาธิการ ก.พ.ร.เป็นผู้บังคับบัญชา[1]

ความสำคัญ

จากที่มีการแก้ไขพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ที่กำหนดให้การบริหารราชต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น กระจายภารกิจและทรัพยากรไปสู่ท้องถิ่น และให้การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการเป็นไปตามวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)[2]

การพัฒนาระบบราชการจึงเป็นการดำเนินการที่สำคัญ เพื่อให้การดำเนินการพัฒนาระบบราชการเป็นไปโดยบรรลุประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงได้มีการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550 ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ หรือ ก.พ.ร. ที่มีนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน และมีคณะกรรมการประกอบด้วย[3]

(1) กรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหนึ่งคน

(2) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินสิบคนที่แต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ การบริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยาองค์การ และสังคมวิทยา อย่างน้อยด้านละหนึ่งคน โดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระในการดำรงตำแหน่งสี่ปีและได้รับการแต่งตั้งไม่เกินสองวาระติดกัน

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

มีดังต่อไปนี้[4]

(1) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่น ซึ่งรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร มาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม ค่าตอบแทน และวิธีปฏิบัติราชการอื่น เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 3/1 ของพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 โดยการเสนอแนะจะให้มีการกำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์และมาตรการการดำเนินการ

(2) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานอื่นของรัฐที่มิได้อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหารเมื่อหน่วยงานดังกล่าวร้องขอ

(3) ในกรณีที่มีการดำเนินการขัดหรือไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่กำหนดในมาตรา3/1 ให้รายงานต่อคณะรัฐมนตรี

(4) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตั้ง การรวม การโอน การยุบเลิก การกำหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกำหนดอำนาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของส่วนราชการที่เป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น

(5) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎที่ออกตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550

(6) ดำเนินการชี้แจงทำความเข้าใจแก่ส่วนราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไป รวมถึงการจัดอบรม

(7) จัดให้มีการติดตาม ประเมินผล และให้คำแนะนำเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย พร้อมทั้งรายงานต่อคณะรัฐมนตรีพร้อมข้อเสนอแนะ

(8) เป็นผู้ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติ หรือกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม รวมตลอดทั้งกำหนดแนวทางปฏิบัติ ในกรณีที่เป็นปัญหา มติของคณะกรรมการตามข้อนี้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ใช้บังคับได้ตามกฎหมาย

(9) มีอำนาจเรียกให้เจ้าหน้าที่ หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความคิดเห็นประกอบการพิจารณา

(10) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราขการและงานของรัฐอย่างอื่น เสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา

(11) แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่ มอบหมาย

(12) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่พระราชบัญญัติกำหนดหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

เพื่อให้การดำเนินการของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการบรรลุเป้าหมาย จึงได้มีการจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ โดยทำหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของ ก.พ.ร.และงานอื่นๆตามที่กฎหมายหรือ ก.พ.ร.กำหนด โดยแบ่งส่วนราชการดังต่อไปนี้[5]

1. สำนักงานเลขาธิการ

มีหน้าที่จัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการของสำนักงาน รวมทั้งติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนประสานการปฏิบัติราชการของสำนักงาน ดำเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานช่วยอำนวยการ งานการเงินและพัสดุงานงบประมาณ งานบริหารงานบุคคล งานพัฒนาข้าราชการ งานวิเทศสัมพันธ์ งานเลขานุการนักบริหารและงานประชาสัมพันธ์ของสำนักงาน

ดำเนินการเกี่ยวกับการให้บริการและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และงานเลขานุการของ ก.พ.ร. ร่วมกับส่วนราชการอื่นตามที่เลขาธิการ ก.พ.ร. มอบหมาย

2. กองกฎหมายและระเบียบราชการ

มีอำนาจหน้าที่ในการจัดทำร่างกฎหมายและระเบียบ ให้ความเห็นและวินิจฉัยปัญหากฎหมาย รวมทั้งศึกษาและวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนากฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของ ก.พ.ร.

ดำเนินการเกี่ยวกับงานนิติกรรมและสัญญา งานเกี่ยวกับความรับผิดทางแพ่ง อาญางานคดีปกครอง และงานคดีอื่นที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของสำนักงานให้คำปรึกษา แนะนำ และปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายในความรับผิดชอบ และจัดทำคู่มือเผยแพร่การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

3. กองกิจการองค์การมหาชนและหน่วยงานของรัฐรูปแบบอื่น

มีอำนาจหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และเสนอแนะ เพื่อกำหนดนโยบาย แนวทาง และหลักเกณฑ์กลางที่เกี่ยวกับการจัดตั้ง การรวม การยุบเลิก การบริหารงานและพัฒนา และการประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์การมหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ รวมทั้งให้คำปรึกษา เสนอแนะ และประสานงานกับองค์การมหาชนและหน่วยงานของรัฐรูปแบบอื่นในกำกับของราชการฝ่ายบริหารที่มิใช่ส่วนราชการ เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการบริหารงานและการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ มาตรฐาน และแนวทางที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอของ ก.พ.ร.

4. กองติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบราชการ

มีอำนาจหน้าที่ในการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาระบบราชการ และการดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานอื่นของรัฐ เสนอต่อ ก.พ.ร. รวมถึงให้คำปรึกษา แนะนำ เสนอแนะ และประสานงานเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาระบบราชการ

5. กองบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม

มีอำนาจหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ เสนอแนะนโยบาย มาตรการ และกำกับ ติดตาม ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นศูนย์กลางเกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลงของส่วนราชการต่างๆ เพื่อให้การสนับสนุนผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลงของกรมและจังหวัด ในการบริหารการเปลี่ยนแปลงให้ประสบความสำเร็จ

6. กองเผยแพร่ และสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบราชการ

มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน และชี้แจงทำความเข้าใจกับส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไป รวมทั้งดำเนินการส่งเสริมให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาระบบราชการอย่างต่อเนื่อง สร้างความเข้าใจ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของบุคคลกลุ่มต่าง ๆในการพัฒนาระบบราชการ

7. กองพัฒนาระบบราชการ 1

มีอำนาจหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เสนอแนะ และประสานงานเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เรื่องการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม การจัดตั้ง การรวม การโอน การยุบเลิก การกำหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกำหนดอำนาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น ให้คำปรึกษา แนะนำ เสนอแนะ ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานเกี่ยวกับการจัดโครงสร้าง และปรับปรุงระบบงาน การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการนำยุทธศาสตร์หรือมาตรการในการพัฒนาระบบราชการไปสู่การปฏิบัติของกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น   8. กองพัฒนาระบบราชการ 2

มีอำนาจหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เสนอแนะ และประสานงานเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เรื่องการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม การจัดตั้ง การรวม การโอน การยุบเลิก การกำหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกำหนดอำนาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น ให้คำปรึกษา แนะนำ เสนอแนะ ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานเกี่ยวกับการจัดโครงสร้างและปรับปรุงระบบงาน การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการนำยุทธศาสตร์หรือมาตรการในการพัฒนาระบบราชการไปสู่การปฏิบัติของกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น

9. กองพัฒนาระเบียบราชการส่วนภูมิภาคและความสัมพันธ์กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

มีอำนาจหน้าที่ในการศึกษาและวิเคราะห์เพื่อเสนอแนะให้ความเห็นเกี่ยวกับมาตรการและระบบการพัฒนาระเบียบราชการส่วนภูมิภาคและความสัมพันธ์กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และระบบการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ให้คำปรึกษาและประสานงานกับหน่วยงานกลางอื่นๆ เกี่ยวกับนโยบายการบริหารราชการส่วนภูมิภาคและความสัมพันธ์กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ดำเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการและคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการที่เกี่ยวข้อง

10. กองส่งเสริมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ

มีอำนาจหน้าที่ในการจัดทำและพัฒนาแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการการดำเนินงานของส่วนราชการและแนวทางการสอบทานผลการดำเนินงานของส่วนราชการ จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเสนอนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีรวมทั้งรายงานการประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการตามกฎหรือระเบียบว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ให้คำปรึกษา แนะนำ เสนอแนะ และประสานงานเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ

11. กลุ่มตรวจสอบภายใน

มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการบัญชีของสำนักงาน

12. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

มีอำนาจหน้าที่ในการให้คำเสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่เลขาธิการเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการภายในสำนักงาน ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการในสำนักงาน ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการร่วมกับหน่วยงานกลางต่าง ๆ และส่วนราชการในสำนักงาน

13. ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต

มีอำนาจหน้าที่ในการเสนอแนะเลขาธิการเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของสำนักงาน รวมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของส่วนราชการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ และนโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง ประสานงาน เร่งรัด และกำกับให้ส่วนราชการในสำนักงานดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของส่วนราชการ รับข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ในสำนักงาน และส่งต่อไปยังส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และคุ้มครองจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน

บทบาทของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยขึ้นเพื่อเป็นกรอบทิศทางและแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการไทย โดยจัดทำแล้ว 2 ฉบับคือ

1.[[ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555)]]

2.[[ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561)]]

โดยมีแนวทางของยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยดังนี้

1. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555)[6]

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการและการทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซับซ้อน หลากหลายและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว

กลยุทธ์ที่ 1 : ส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐปรับปรุงการให้บริการประชาชนให้มีความหลากหลาย ได้รับการบริการที่สะดวก รวดเร็ว และสามารถปรับตัวให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน โดย

(1) ยกระดับคุณภาพการให้บริการประชาชนโดยให้ประชาชนมีทางเลือกที่จะใช้บริการที่มีความหลากหลาย พัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ในการให้บริการ

(2) ส่งเสริมให้ส่วนราชการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการให้บริการประชาชนที่มีความเชื่อมโยงกันระหว่างหลายส่วนราชการ

(3) ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการให้บริการให้มีความรวดเร็ว รวมทั้ง แก้ไขกฏ ระเบียบ กฎหมาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานร่วมระหว่างหน่วยงาน และการให้บริการประชาชน

(4) เปิดโอกาสให้ประชาชนมีทางเลือกในการใช้บริการสาธารณะมากขึ้น

กลยุทธ์ที่ 2  : ส่งเสริมสนับสนุนให้มีกลไกการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและบริการของทางราชการได้โดยสะดวกเป็นธรรม และตรงตามความต้องการ โดย

(1) ส่งเสริม สนับสนุนหน่วยราชการให้มีการพัฒนาช่องทางการสื่อสาร เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและบริการของทางราชการได้ง่าย

(2) สนับสนุนการสร้างกลไกการรับฟังความคิดเห็น และความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการของส่วนราชการและท้องถิ่นรวมทั้งระบบการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า

(3) ส่งเสริมให้มีการจัดทำหน้าเว็บหลักหรือเว็บท่าของภาครัฐ (Web Portal) ในลักษณะที่เป็นช่องทางของบริการภาครัฐทุกประเภท (Government Gateway) ซึ่งประชาชนสามารถเข้าถึงได้

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับรูปแบบการทำงานให้มีลักษณะเชิงบูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

กลยุทธ์ที่ 1 : วางระบบการบริหารงานแบบบูรณาการภายในระบบราชการ โดย

(1) จัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ให้มีขอบเขต อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจน

(2) ออกแบบระบบบริหารราชการสำหรับพื้นที่เฉพาะ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่ ทั้งปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคง

(3) เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่จังหวัด/กลุ่มจังหวัดในการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการโดยสนับสนุนให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดมีแผนและงบประมาณ เพื่อพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดเป็นการเฉพาะและอย่างเพียงพอเพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่

กลยุทธ์ที่ 2 : ส่งเสริม ผลักดันให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานกลางต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินการของส่วนราชการต่าง ๆ โดย

(1) ประสานแนวทางการพัฒนาระบบราชการไทยให้มีเอกภาพและอยู่ภายใต้กรอบนโยบายและแบบแผนเดียวกันรวมทั้งบูรณาการการทำงานของหน่วยงานกลางเพื่อให้บรรลุผลลัพธ์ตามที่กำหนดไว้ร่วมกัน

กลยุทธ์ที่ 3: จัดระบบบริหารราชการให้เอื้อต่อการทำงานร่วมกันเป็นเครือข่ายกับภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรชุมชน และภาคส่วนต่าง ๆ ในลักษณะเป็นภาคี/พันธมิตร/หุ้นส่วนในการจัดบริการสาธารณะ โดย

(1) ส่งเสริม ผลักดันให้เกิดความร่วมมือในการทำงาน การประสานกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและองค์กรประชาชนในลักษณะการบริหารงานในรูปแบบเครือข่าย (Networking) เน้นการทำงานแบบหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐ และ ภาคเอกชนในงานบริการสาธารณะ (Public-Private Partnership - PPP) โดยศึกษาความเป็นไปได้ในการร่วมทุนในโครงการพัฒนาสำคัญ ๆ ของประเทศ

กลยุทธ์ที่ 4 สนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ โดย

(1) สร้างความรู้และความเข้าใจแก่เครือข่ายภาคประชาสังคม และภาคประชาชนในการพัฒนาระบบราชการ เน้นการเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง (Action Learning)

(2) พัฒนารูปแบบ กลไก ระบบ และวิธีทำงาน เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

(3) ส่งเสริมให้มีคณะกรรมการภาคประชาชน (Lay Board) ในทุกระดับ และจัดให้มีอาสาสมัครภาคประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐ รวมถึงการริเริ่มให้มีการวางแผนและจัดทำงบประมาณแบบมีส่วนร่วม (Participatory Planning and Budgeting)

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่มเปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่าง ๆ

กลยุทธ์ที่ 1: วางระบบการบริหารงานแบบบูรณาการภายในระบบราชการ โดย

(1) จัดให้มีการวางยุทธศาสตร์การบริหารประเทศในระยะยาว (Scenario Planning) เพื่อคาดการณ์ปัจจัยต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต และผลกระทบต่อการบริหารกิจการบ้านเมือง และกำ หนดเป้าหมายที่พึงประสงค์และต้องการบรรลุผลไว้ เพื่อวัดความก้าวหน้าและผลสัมฤทธิ์สำหรับใช้ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาระยะสั้น-ปานกลาง รวมถึงการเตรียมการวางระบบบริหารงานและบุคลากรภาครัฐในอนาคต

(2) ปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างของภาครัฐ ให้มีขนาดที่เหมาะสม (Rightsizing) เกิดความคุ้มค่าและรองรับกับสภาพแวดล้อม ในการปฏิบัติงานที่มีความหลากหลายซับซ้อนมากขึ้น

(3) เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่จังหวัด/กลุ่มจังหวัดในการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ โดยสนับสนุนให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดมีแผนและงบประมาณ เพื่อพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดเป็นการเฉพาะ และอย่างเพียงพอเพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่

กลยุทธ์ที่ 2 : ปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างของภาครัฐ ให้มีขนาดที่เหมาะสม (Rightsizing) เกิดความคุ้มค่าและรองรับกับสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่มีความหลากหลายซับซ้อนมากขึ้น โดย

(1) ทบทวนบทบาทภารกิจของภาครัฐให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ยกเลิกภารกิจที่ไม่จำเป็น ถ่ายโอนงานบริการบางอย่างของรัฐให้เอกชน หรือท้องถิ่นดำเนินการแทน

(2) วางรากฐานและแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ หรือหน่วยงานของรัฐอื่น ๆ ภายใต้ กำกับของฝ่ายบริหารให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และสามารถดำเนินงานเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน

(3) จัดโครงสร้างส่วนราชการให้มีความพร้อมในบริบทของผู้ซื้อบริการ (Service Purchaser) และผู้ให้บริการ/ผู้จัดหาบริการ (Service Provider)

(4) ทบทวนการกระจายอำนาจไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ตามสภาพการณ์ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดวินัยทางการคลังและธรรมาภิบาลในการบริหารงาน

(5) ทบทวน ปรับปรุง หรือแก้ไขกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานของรัฐ อันมีผลกระทบต่อการจำกัดสิทธิเสรีภาพและการให้บริการแก่ประชาชน

กลยุทธ์ที่ 3: เสริมสร้างให้หน่วยงานภาครัฐมีความตื่นตัว ตอบสนอง และไวต่อการเปลี่ยนแปลง มีการบริหารจัดการที่ยืดหยุ่น คล่องตัว สามารถปรับตัว และมีความคิดริเริ่ม ทันต่อสถานการณ์และความท้าทายต่าง ๆ ได้ โดย

(1) มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance Organization) เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และเกิดผลสัมฤทธิ์ โดยปรับแต่งองคาพยพในด้านต่าง ๆ เช่น โครงสร้าง กระบวนการ เทคโนโลยี บุคลากร วัฒนธรรม และค่านิยม ให้มีความเหมาะสม สอดคล้องและเชื่อมโยงไปในทิศทางเดียวกันทั่วทั้งองค์การ

(2) ส่งเสริมให้ส่วนราชการมีการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและส่งมอบบริการสาธารณะ

(3) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ ๆ เข้ามาใช้ในการบริการสาธารณะผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อลดต้นทุนการให้บริการและรองรับความต้องการของประชาชนตามแนวทางในการมุ่งไปสู่การเป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)

(4) ปรับปรุงกลไกและระบบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ให้เหมาะสมสอดรับกับพันธกิจและลักษณะของหน่วยงานของรัฐ สามารถวัดผลได้ทั้งในระดับองค์การและระดับบุคคล

กลยุทธ์ที่ 4: ปรับปรุงขีดสมรรถนะของทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ให้สามารถเพิ่มผลิตภาพและพัฒนาขีดความสามารถให้มีความเป็นมืออาชีพ โดย

(1) พัฒนาขีดสมรรถนะและวัฒนธรรมในการทำ งานที่มีความหลากหลายสามารถทำงานข้ามหน่วยงานและสายงานได้ ส่งเสริมให้มีการเพิ่มผลผลิตอย่างต่อเนื่องตลอดจนสนับสนุนให้มีการวางระบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงในส่วนราชการ เพื่อให้รองรับกับสถานการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะการพัฒนาเสริมสร้างขีดสมรรถนะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระบบราชการในระดับต่างๆ

(2) กำหนดให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกระดับมีหน้าที่ในการพัฒนาตนเองตามขีดสมรรถนะที่กำหนดไว้ โดยจัดให้มีระบบการเรียนรู้และพัฒนาแบบใหม่ มุ่งเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงและกรณีศึกษามากกว่าการบรรยายในชั้นเรียน และพยายามปรับให้ตรงตามความต้องการของแต่ละบุคคลมากขึ้น

(3) พัฒนาคุณภาพชีวิตของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ดีขึ้น เพื่อสร้างขวัญกำลังใจและให้สามารถดำรงชีพอย่างมีศักดิ์ศรี

(4) ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบกำลังคนภาครัฐ เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและใช้กำลังคนภาครัฐอย่างเหมาะสม

(5) จัดให้มีข้าราชการวิสามัญเพื่อรองรับการปฏิบัติงานในหน่วยงานราชการที่มีการจัดโครงสร้างองค์การลักษณะพิเศษ หรือเพื่อไว้รองรับบางตำแหน่งในส่วนราชการที่มีอยู่เดิม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจ และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเองต่อประชาชนและต่อสังคมโดยรวม

กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสรางระบบคุณธรรม จริยธรรม ปรับกระบวนทัศน หลอหลอมวัฒนธรรมใหมใหเกิดขึ้นในหนวยงานภาครัฐ โดย

(1) สงเสริมใหหนวยงานของรัฐใชหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีเปนแนวทางในการทํางาน และยกระดับธรรมาภิบาลของหนวยงานภาครัฐ ใหอยูในระดับที่เปนที่ยอมรับของประชาชน โดยเฉพาะการพัฒนาขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐใหมีความรูความเขาใจในเรื่องธรรมาภิบาล รวมทั้งกําหนดใหมีกลไกเพื่อรับผิดชอบดูแลในเรื่องการสงเสริมธรรมาภิบาลขึ้นในแตละสวนราชการ

(2) สงเสริมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน คานิยม และหลอหลอมวัฒนธรรมใหม ใหเอื้อตอทิศทางและแนวทางการพัฒนาระบบราชการ สงเสริมใหหนวยงาน ขาราชการ และเจาหนาที่ของภาครัฐปฏิบัติตนเปนตัวอยางที่ดีของสังคม เพื่อชี้นําสังคมไปสูการประพฤติปฏิบัติที่ดีงาม รวมทั้งสรางกลไกลงโทษที่มีประสิทธิภาพ วางแนวทางการเชื่อมโยงคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลไวกับระบบงานอื่นๆ เพื่อใหขยายผลเปนวัฒนธรรมองคการอยางยั่งยืนตอไป

(3) สรางจิตสํานึก คานิยม คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในหนวยงานภาครัฐใหปฏิบัติงานดวยความประพฤติชอบ ซื่อสัตย สุจริต เปนกลางไมเลือกปฏิบัติ ยึดถือคุณธรรมและจริยธรรมเปนหลักในการทํางาน โดยจัดใหมีการวางระบบโครงสรางปจจัยพื้นฐานทางดานจริยธรรม (Ethics Infrastructure) ที่เอื้ออํานวยทั้งในดานการควบคุม การชี้แนะใหคําปรึกษา และการบริหารจัดการ เชน การจัดการความรูและระบบฐานขอมูลในเรื่องจริยธรรม เพื่อใหหนวยงานของรัฐมุงสูความเปนองคการแหงสุจริตธรรม

(4) จัดใหมีกลไกรับผิดชอบดูแลในเรื่องจริยธรรมขึ้นในแตละสวนราชการ เพื่อสงเสริมและใหคําปรึกษาแนะนํา เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และคอยสอดสองดูแลใหมีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของหนวยงาน และใหมีผูบริหารระดับสูงที่รับผิดชอบดานจริยธรรม (Chief Ethics Officer) รวมทั้งใหมีระบบการวัดผลอยางเปนรูปธรรมและการรายงานตอสาธารณะ ตลอดจนยกยองเชิดชูเกียรติผูที่มีผลสัมฤทธิ์ของงานและจริยธรรมสูง เพื่อใหเปนผูนําตนแบบที่ดี (Exemplary Leadership) สําหรับการปฏิบัติตนของขาราชการ

(5) อื่นๆตอไป

ปรับปรุงระบบสรรหาและกลั่นกรองขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐทุกระดับในการแตงตั้งเขาสูตําแหนง โดยเฉพาะอยางยิ่ง การแตงตั้งผูบริหารระดับสูง ตองคํานึงถึงความดีงาม มีคุณธรรมและจริยธรรม เปนแนวทางในการพิจารณาประกอบดวย

กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุงระบบการตัดสินใจและกํากับตรวจสอบในการบริหารราชการแผนดิน โดย

(1) พัฒนาโครงสรางกลไกการบริหาร (Governance Structure) เชน การจัดใหมีระบบกรรมการ (Commissioner) สําหรับบางหนวยงานที่ตองใชดุลยพินิจในการใชอํานาจในการอนุมัติ อนุญาต เพื่อสรางการมีสวนรวมจากภายนอกและความโปรงใสในการปฏิบัติราชการ

(2) เสริมสรางความเขมแข็งของการกํากับดูแลตนเองและการควบคุมภายในที่ดีของหนวยงานภาครัฐ รวมทั้งระบบการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ โดยเฉพาะการเสริมสรางบทบาทและความ เขมแข็งของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการประจํากระทรวง เพื่อชวยทําหนาที่สอบทานระบบการบริหารงานและการควบคุมภายในของแตละสวนราชการ

(3) สงเสริมใหภาคประชาชนไดมีความรู ความเขาใจเพียงพอและกระตุนใหประชาชนมีสวนรวมในการ เฝาระวัง ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐ (People's Audit) โดยเฉพาะคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด

(4) เรงรัดใหสวนราชการนําเสนอขอมูลสารสนเทศที่มีความจําเปนตอการแสดงภาระรับผิดชอบ ความโปรงใส และเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงาน โดยจัดใหมีชองทางการสื่อสารใหประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลสารสนเทศดังกลาวไดโดยงาย

กลยุทธ์ที่ 3 สงเสริมใหหนวยงานในภาครัฐมีการดําเนินการที่มีความรับผิดชอบตอสังคมและชุมชน โดย

(1) สงเสริมใหหนวยงานของรัฐตองมีความรับผิดชอบตอสังคม (Social Responsibility) โดยการดําเนินงานภายใตหลักจริยธรรมและการกํากับดูแลตนเองที่ดี คํานึงถึงผลผลิตหรือบริการที่มีคุณภาพ กอใหเกิดประโยชน และผลกระทบเชิงบวกแกผูรับบริการและสังคมโดยรวม ควบคูไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทํางาน การใสใจ ดูแล รักษา ชุมชนทองถิ่น สังคม สิ่งแวดลอม และปองกันไมใหเกิดผลกระทบเชิงลบตอสังคม เพื่อนําไปสูการดําเนินงานใหบรรลุผลอยางยั่งยืน กอใหเกิดความนาเชื่อถือและภาพลักษณที่ดีแกหนวยงานและภาครัฐโดยรวม

กลยุทธ์ที่ 4 การสรางดุลยภาพระหวางฝายการเมืองและราชการประจํา โดย

(1) สงเสริมความสัมพันธที่ดีในการปฏิบัติราชการรวมกันระหวางขาราชการการเมืองและขาราชการประจํา โดยเฉพาะการสรางและพัฒนาระบบพิทักษคุณธรรม (Merit System Protection) ใหเปนที่ยอมรับและเกิดความมั่นใจ รวมทั้งทําใหระบบราชการมีจุดยืนและทิศทางในการพัฒนาประเทศที่ชัดเจน และสามารถนํานโยบายของรัฐบาลมาถายทอดสูการปฏิบัติไดอยางเหมาะสมถูกตอง เปนธรรม เพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนและสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของพลวัตรโลก

2.แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561)[7]

คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561) ในการประชุมเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2556 โดยกำหนดเป็น 3 หัวข้อ 7 ประเด็นยุทธศาสตร์ คือ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชน

พัฒนางานบริการของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ โดยออกแบบการบริการที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง มี การนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมมาใช้เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ ง่ายและหลากหลายรูปแบบ เน้นการบริการเชิงรุกที่มีปฏิสัมพันธ์โดยตรงระหว่างภาครัฐและประชาชน การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จอย่างแท้จริง พัฒนาระบบการจัดการข้อร้องเรียนให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งเสริมสร้างวัฒนธรรมการบริการที่เป็นเลิศ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บุคลากรมีความเป็นมืออาชีพ

พัฒนาส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐสู่องค์การแห่งความเป็นเลิศ โดยเน้นการจัดโครงสร้างองค์การที่มีความทันสมัย กะทัดรัด มีรูปแบบเรียบง่าย (Simplicity) มีระบบการทำงานที่คล่องตัว รวดเร็ว ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการทำงาน เน้นการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) พัฒนา ขีดสมรรถนะของบุคลากรในองค์การ เน้นการทำงานที่มีประสิทธิภาพ สร้างคุณค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่าง ๆ และสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพย์ของภาครัฐให้เกิดประโยชน์สูงสุด

วางระบบการบริหารจัดการสินทรัพย์ของราชการอย่างครบวงจร โดยคำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่ผูกมัด/ผูกพันติดตามมา (Ownership Cost) เพื่อ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดหรือสร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างโอกาส และสร้างความมั่นคงตามฐานะเศรษฐกิจของประเทศ ลดความสูญเสียสิ้นเปลืองและเปล่าประโยชน์ รวมทั้งวางระบบและมาตรการที่จะมุ่งเน้นการบริหารสินทรัพย์เพื่อให้เกิดผลตอบ แทนคุ้มค่า สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายโดยรวม มีต้นทุนที่ต่ำลงและลดความต้องการของสินทรัพย์ใหม่ที่ไม่จำเป็น

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การวางระบบการบริหารงานราชการแบบบูรณาการ

ส่งเสริมการทำงานร่วมกันภายในระบบราชการด้วยกันเองเพื่อแก้ปัญหาการแยกส่วนใน การปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงาน รวมถึงการวางระบบความสัมพันธ์และประสานความร่วมมือระหว่างราชการบริหารส่วน กลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ในรูปแบบของการประสานความร่วมมือที่หลากหลาย ภายใต้วัตถุประสงค์เดียวกัน คือ นำศักยภาพเฉพาะของแต่ละหน่วยงานมาสร้างคุณค่าให้กับงานตามเป้าหมายที่กำหนด เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของประเทศและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน

ส่ง เสริมให้หน่วยงานราชการทบทวนบทบาทและภารกิจของตนให้มีความเหมาะสม โดยให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน มุ่งเน้นการพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับภาคส่วนอื่น การถ่ายโอนภารกิจบางอย่างที่ภาครัฐไม่จำเป็นต้องดำเนินงานเองให้ภาคส่วนอื่น รวมทั้งการสร้างความร่วมมือหรือความเป็นภาคีหุ้นส่วน (Partnership) ระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่น

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การยกระดับความโปร่งใสและสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการแผ่นดิน

ส่งเสริมและวางกลไกให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐเปิดเผยข้อมูลข่าวสารและ สร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ รวมทั้งส่งเสริมให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการทำงานของทาง ราชการ ตลอดจนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และมาตรการในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การสร้างความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

เตรียมความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อรองรับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน รวมทั้งประสาน พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกันในการส่งเสริมและยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐของ ประเทศสมาชิกอาเซียน อันจะนำไปสู่ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางการเมือง และความเจริญผาสุกของสังคมร่วมกัน

อ้างอิง

  1. พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 71/9
  2. พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 3/1
  3. พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 71/1
  4. พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 71/10
  5. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สํานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2556 ข้อ 3
  6. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555) [ออนไลน์], แหล่งที่มา : http://psdg.vec.go.th/Portals/5/doc/strategies_new2_2.pdf . หน้า 30-40 .
  7. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 – พ.ศ. 2561), (กรุงเทพมหานคร : บริษัท วิชั่น พริ้นท์ แอนด์ มีเดีย, 2556), หน้า 31-47.

หนังสืออ่านประกอบ

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 – พ.ศ. 2561), (กรุงเทพมหานคร : บริษัท วิชั่น พริ้นท์ แอนด์ มีเดีย, 2556),