ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุดมการณ์"
จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 3: | บรรทัดที่ 3: | ||
---- | ---- | ||
''' | '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รศ.นรนิติ เศรษฐบุตร | ||
หมายถึง ความคิด ความเชื่อในการมองสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือเป็นความคิดของชนชั้นผู้นำที่เสนอต่อสมาชิกของสังคมเพื่อให้เกิดการยอมรับและถือปฏิบัติ เช่น ในกรณีของ[[อุดมการณ์ทางการเมือง]] (Political ideology) ในระบอบการเมืองการปกครองแบบ[[ประชาธิปไตย]] จะมีความคิดความเชื่อเกี่ยวข้องกับ[[สิทธิเสรีภาพ]]ที่เท่าเทียมกันของคนในสังคม การยอมรับหลักเหตุผล การยอมรับเสียงข้างมาก และเคารพเสียงข้างน้อย เป็นต้น | ---- | ||
'''อุดมการณ์ (Ideology)'''หมายถึง ความคิด ความเชื่อในการมองสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือเป็นความคิดของชนชั้นผู้นำที่เสนอต่อสมาชิกของสังคมเพื่อให้เกิดการยอมรับและถือปฏิบัติ เช่น ในกรณีของ[[อุดมการณ์ทางการเมือง]] (Political ideology) ในระบอบการเมืองการปกครองแบบ[[ประชาธิปไตย]] จะมีความคิดความเชื่อเกี่ยวข้องกับ[[สิทธิเสรีภาพ]]ที่เท่าเทียมกันของคนในสังคม การยอมรับหลักเหตุผล การยอมรับเสียงข้างมาก และเคารพเสียงข้างน้อย เป็นต้น | |||
[[หมวดหมู่: สารานุกรมการเมืองไทย]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:47, 28 พฤษภาคม 2555
ผู้เรียบเรียง รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รศ.นรนิติ เศรษฐบุตร
อุดมการณ์ (Ideology)หมายถึง ความคิด ความเชื่อในการมองสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือเป็นความคิดของชนชั้นผู้นำที่เสนอต่อสมาชิกของสังคมเพื่อให้เกิดการยอมรับและถือปฏิบัติ เช่น ในกรณีของอุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology) ในระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตย จะมีความคิดความเชื่อเกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพที่เท่าเทียมกันของคนในสังคม การยอมรับหลักเหตุผล การยอมรับเสียงข้างมาก และเคารพเสียงข้างน้อย เป็นต้น