ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รู้จักสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจฯ ฝรั่งเศส จากเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฝรั่งเศสประจําประเทศไทย"
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' วัชรา ไชยสาร | '''ผู้เรียบเรียง''' วัชรา ไชยสาร | ||
บรรทัดที่ 8: | บรรทัดที่ 7: | ||
---- | ---- | ||
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในสมัยที่นายโคทม อารียา | สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในสมัยที่นายโคทม อารียา เป็นประธานสภาที่ปรึกษาฯ นั้น ได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมและสถาบันในลักษณะเดียวกัน โดยเฉพาะประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึ่งเป็นต้นแบบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม จึงได้เรียนเชิญ ฯพณฯ โลรองต์ โอแบล็ง (H.E. Mr. Laurent Aublin) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฝรั่งเศสประจําประเทศไทย มาบรรยายพิเศษ เรื่อง “สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สาธารณรัฐฝรั่งเศส และประเด็นเกี่ยวกับการทําสัญญาจ้างงานครั้งแรก (Contract Premier Embauche - CPE) ในฝรั่งเศส” เมื่อวันพุธที่ 5 เมษายน 2549 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม 1 สํานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อาคารพญาไทพลาซ่า ราชเทวี | ||
ในการบรรยายพิเศษดังกล่าว ฯพณฯ โลรองต์ โอแบล็ง (H.E. Mr. Laurent Aublin) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฝรั่งเศสประจำประเทศไทย ได้ขอที่ประชุมบรรยายเป็นภาษาอังกฤษ โดยนายโคทม อารียา ประธานสภาที่ปรึกษาฯ เป็นผู้ทำหน้าที่แปลเป็นภาษาไทย ให้กับที่ประชุมทราบ ดังนี้ | |||
ประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส (French Republic) มีความสัมพันธ์อันดีต่อกันมาเป็นเวลายาวนาน โดยเฉพาะความสัมพันธ์ทางด้านการค้า และในการมาเยือนประเทศไทยของประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายฌาค ชีรัค ( Jacques Chirac) เมื่อวันที่ 17 – 18 กุมภาพันธ์ 2549 นั้น ได้กระชับความสัมพันธ์ประเทศทั้ง 2 ให้ดีขึ้น | ประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส (French Republic) มีความสัมพันธ์อันดีต่อกันมาเป็นเวลายาวนาน โดยเฉพาะความสัมพันธ์ทางด้านการค้า และในการมาเยือนประเทศไทยของประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายฌาค ชีรัค ( Jacques Chirac) เมื่อวันที่ 17 – 18 กุมภาพันธ์ 2549 นั้น ได้กระชับความสัมพันธ์ประเทศทั้ง 2 ให้ดีขึ้น | ||
== สถานการณ์ก่อนมีสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐที่ 5 == | ประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส (French Republic) มีความสัมพันธ์อันดีต่อกันมาเป็นเวลายาวนาน โดยเฉพาะความสัมพันธ์ทางด้านการค้า และในการมาเยือนประเทศไทยของประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายฌาค ชีรัค ( Jacques Chirac) เมื่อวันที่ 17 – 18 กุมภาพันธ์ 2549 นั้น ได้กระชับความสัมพันธ์ของประเทศทั้งสองให้ดีขึ้น | ||
==สถานการณ์ก่อนมีสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐที่ 5== | |||
จากนั้น ฯพณฯ โลรองต์ โอแบล็ง ได้กล่าวถึงสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมของสาธารณรัฐฝรั่งเศสปัจจุบัน อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี ค.ศ. 1958 ซึ่งก่อนหน้านี้เคยอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี ค.ศ. 1946 ย้อนไปในอดีตหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส ทำให้มีการแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ อย่างชัดเจน เช่น สมาคมทางการค้า สมาคมวิชาชีพ นักบวช และให้ทุกคนมีความเสมอภาคกัน มีความอิสระ เสรีภาคในความเป็นพลเมือง ในเวลานั้นการปฏิวัติห้ามมิให้มีการรวมตัวกันเป็นสหภาพแรงงาน เพราะคิดตรงกันข้ามกับความเป็นพลเมือง แต่เมื่อเกิดการปฏิวัติวัฒนธรรมผู้ใช้แรงงาน เริ่มรวมกลุ่มเป็นสหภาพ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีความพยายามที่จะสนับสนุนการรวมกลุ่มกันทางสังคม เพื่อเป็นกลุ่มพลังขับเคลื่อนทางสังคม ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มวิชาชีพ กลุ่มสตรี กลุ่มผู้ชรา อื่นๆ มารวมกันเป็นกลุ่มทางการเมือง | จากนั้น ฯพณฯ โลรองต์ โอแบล็ง ได้กล่าวถึงสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมของสาธารณรัฐฝรั่งเศสปัจจุบัน อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี ค.ศ. 1958 ซึ่งก่อนหน้านี้เคยอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี ค.ศ. 1946 ย้อนไปในอดีตหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส ทำให้มีการแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ อย่างชัดเจน เช่น สมาคมทางการค้า สมาคมวิชาชีพ นักบวช และให้ทุกคนมีความเสมอภาคกัน มีความอิสระ เสรีภาคในความเป็นพลเมือง ในเวลานั้นการปฏิวัติห้ามมิให้มีการรวมตัวกันเป็นสหภาพแรงงาน เพราะคิดตรงกันข้ามกับความเป็นพลเมือง แต่เมื่อเกิดการปฏิวัติวัฒนธรรมผู้ใช้แรงงาน เริ่มรวมกลุ่มเป็นสหภาพ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีความพยายามที่จะสนับสนุนการรวมกลุ่มกันทางสังคม เพื่อเป็นกลุ่มพลังขับเคลื่อนทางสังคม ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มวิชาชีพ กลุ่มสตรี กลุ่มผู้ชรา อื่นๆ มารวมกันเป็นกลุ่มทางการเมือง | ||
== องค์ประกอบและกระบวนการทำงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส == | ==องค์ประกอบและกระบวนการทำงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส== | ||
ส่วนสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมในสาธารณรัฐฝรั่งเศสถือว่าเป็นสภาฯ ที่ 3 โดยองค์ประกอบของสภาฝรั่งเศส มีสมาชิก 231 คน ประกอบด้วย บุคคลที่แต่งตั้งโดยรัฐบาล 30 คน และอีก 201 คน มาจากสหภาพองค์กรนายจ้าง สหกรณ์องค์กรทางด้านการเกษตร องค์กรภาคประชาสังคม และองค์กรอื่นๆ ซึ่งในจำนวน 231 คน ได้แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ 18 กลุ่ม ด้วยความสมัครใจ แต่ไม่ใช่พรรคการเมือง ส่วนโครงสร้างของคณะทำงานได้แบ่งเหมือนกับคณะทำงานประจำของสภาที่ปรึกษาฯ ประเทศไทย ซึ่งมีจำนวน 9 คณะ โดยมีคณะเกี่ยวกับสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี ผู้ใช้แรงงาน การพัฒนาภูมิภาค การคลัง การต่างประเทศ อาหาร และการเกษตร และมีคณะทำงานพิเศษอยู่จำนวน 3 คณะ คือ | ส่วนสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมในสาธารณรัฐฝรั่งเศสถือว่าเป็นสภาฯ ที่ 3 โดยองค์ประกอบของสภาฝรั่งเศส มีสมาชิก 231 คน ประกอบด้วย บุคคลที่แต่งตั้งโดยรัฐบาล 30 คน และอีก 201 คน มาจากสหภาพองค์กรนายจ้าง สหกรณ์องค์กรทางด้านการเกษตร องค์กรภาคประชาสังคม และองค์กรอื่นๆ ซึ่งในจำนวน 231 คน ได้แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ 18 กลุ่ม ด้วยความสมัครใจ แต่ไม่ใช่พรรคการเมือง ส่วนโครงสร้างของคณะทำงานได้แบ่งเหมือนกับคณะทำงานประจำของสภาที่ปรึกษาฯ ประเทศไทย ซึ่งมีจำนวน 9 คณะ โดยมีคณะเกี่ยวกับสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี ผู้ใช้แรงงาน การพัฒนาภูมิภาค การคลัง การต่างประเทศ อาหาร และการเกษตร และมีคณะทำงานพิเศษอยู่จำนวน 3 คณะ คือ คณะทำงานด้านสิทธิสตรีและความเสมอภาค คณะทำงานกิจการสหภาพยุโรป และคณะทำงานการวางแผน ทั้งนี้ รัฐบาลยังได้ส่งผู้เชี่ยวชาญจำนวน 72 คน มาช่วยงานของคณะทำงานใน 12 คณะ ดังกล่าวด้วย | ||
<center>[[ภาพ:French3.png]]</center> | |||
<center>การประชุมสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส</center> | |||
ผลลัพธ์จากคณะทำงานมีอยู่ 3 ลักษณะ คือ รายงานการศึกษาเป็นขั้นตอน รายงานการศึกษาที่สูงขึ้นไป คือ ทำรายงานเป็นเรื่อง ๆ และจัดทำข้อเสนอแนะ ซึ่งในแต่ละปีสภาที่ปรึกษาฯ ของสาธารณรัฐฝรั่งเศส ได้มีข้อเสนอแนะประมาณ 20 เรื่อง และได้มีการประเมินผลปรากฏว่า ร้อยละ 77 เป็นความเห็นที่สภาที่ปรึกษาฯ | ผลลัพธ์จากคณะทำงานมีอยู่ 3 ลักษณะ คือ รายงานการศึกษาเป็นขั้นตอน รายงานการศึกษาที่สูงขึ้นไป คือ ทำรายงานเป็นเรื่อง ๆ และจัดทำข้อเสนอแนะ ซึ่งในแต่ละปีสภาที่ปรึกษาฯ ของสาธารณรัฐฝรั่งเศส ได้มีข้อเสนอแนะประมาณ 20 เรื่อง และได้มีการประเมินผลปรากฏว่า ร้อยละ 77 เป็นความเห็นที่สภาที่ปรึกษาฯ สาธารณรัฐฝรั่งเศสเสนอรัฐบาล ส่วนร้อยละ 23 เป็นข้อเสนอตามที่รัฐบาลขอให้ไปศึกษา ตัวอย่างเช่น ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตชนบท | ||
ในส่วนของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาสาธารณรัฐฝรั่งเศส (ออบุชมัน) จะเสนอรายงานต่อสภาที่ปรึกษาฯ ประเทศฝรั่งเศส โดยได้มีการถกเถียงกันในเรื่องสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ในประเด็นเรื่องการศึกษา ความเป็นไปได้เกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานเป็นสำคัญ รวมถึงการเสนอร่างกฎหมายวิธีการที่จะจัดการกับสารกัมมันตภาพรังสี ตลอดเวลา 10 ปีที่ผ่านมา จากข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาฯ มีจำนวนมากกว่าครึ่งได้นำไปสู่การออกกฎหมาย แสดงให้เห็นว่าการจัดทำข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาฯ มีคุณภาพสูง และได้มาจากตัวแทนของกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ มาถกเถียงสานเสวนาแลกเปลี่ยน จนกระทั่งได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่งพอที่จะเป็นที่ยอมรับของสังคม | |||
<center>[[ภาพ:French.png]]</center> | <center>[[ภาพ:French.png]]</center> | ||
นอกจากนี้ สภาที่ปรึกษาฯ | นอกจากนี้ สภาที่ปรึกษาฯ สาธารณรัฐฝรั่งเศส ได้มีการตั้งคณะทำงานที่จะต้องติดตามผลจากข้อเสนอแนะต่าง ๆ ของสภาที่ปรึกษาฯ และจัดทำรายงานประจำปี และมีสภาในระดับภูมิภาค จำนวน 30 สภา โดยได้มีการจัดตั้งขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1992 | ||
สภาที่ปรึกษาฯ สาธารณรัฐฝรั่งเศส ได้ทำการสำรวจข้อมูล พบว่ามีประเทศที่มีสภาที่ปรึกษาฯ จำนวน 65 ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุโรป สำหรับสหภาพยุโรปนั้น ได้มีคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคม ของสหภาพยุโรป และสมาคมระหว่างประเทศของสภาที่ปรึกษาฯ | สภาที่ปรึกษาฯ สาธารณรัฐฝรั่งเศส ได้ทำการสำรวจข้อมูล พบว่ามีประเทศที่มีสภาที่ปรึกษาฯ จำนวน 65 ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุโรป สำหรับสหภาพยุโรปนั้น ได้มีคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคม ของสหภาพยุโรป และสมาคมระหว่างประเทศของสภาที่ปรึกษาฯ | ||
== ความสำคัญของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมที่มีต่อการพัฒนาประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส == | ==ความสำคัญของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมที่มีต่อการพัฒนาประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส== | ||
ในประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส สภาที่ปรึกษาฯ มีบทบาทที่สำคัญ แต่ส่วนใหญ่ไม่ค่อยออกสู่สาธารณะ ภารกิจที่สำคัญของสภาที่ปรึกษาฯ ของสาธารณรัฐฝรั่งเศส คือ | ในประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส สภาที่ปรึกษาฯ มีบทบาทที่สำคัญ แต่ส่วนใหญ่ไม่ค่อยออกสู่สาธารณะ ภารกิจที่สำคัญของสภาที่ปรึกษาฯ ของสาธารณรัฐฝรั่งเศส คือ | ||
1) เป็นเหมือนคลังสมองทางด้านเศรษฐกิจและสังคม | 1) เป็นเหมือนคลังสมองทางด้านเศรษฐกิจและสังคม | ||
2) เป็นผู้สร้างความฉันทามติหรือความเห็นพ้องต้องกันให้เกิดขึ้นในสังคม | 2) เป็นผู้สร้างความฉันทามติหรือความเห็นพ้องต้องกันให้เกิดขึ้นในสังคม | ||
ทั้งนี้ ฯพณฯ เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฝรั่งเศสประจำประเทศไทย ยังได้กล่าวถึงประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสาธารณรัฐฝรั่งเศส กรณีนักศึกษาประท้วงร่างกฎหมายว่าด้วยการทำสัญญาจ้างงานครั้งแรกต่อลูกจ้างอายุต่ำกว่า 26 ปี (Contract Premier Embauche - CPE) ซึ่งกำหนดให้นายจ้างมีสิทธิปลดพนักงานใหม่ที่อายุต่ำกว่า 26 ปี โดยไม่จำเป็นต้องแจงเหตุผลในช่วง 2 ปีแรก ซึ่งวัตถุประสงค์รัฐบาลต้องการลดอัตราวัยรุ่นว่างงานลง โดยหวังว่าจะให้นายจ้างซึ่งเดิมไม่อยากจ้างคนกลุ่มนี้ เพราะไม่เชื่อในประสบการณ์ และเวลาจะทำให้ออกก็ทำได้ยาก จะหันมาจ้างมากขึ้น แต่ในที่สุดแล้ว รัฐบาลได้ยอมประนีประนอมกับกลุ่มนักศึกษา ซึ่งตามความเห็นคิดว่า กรณีนี้อาจไม่เกิดปัญหาถ้ารัฐบาลจะได้มีการจัดรับฟังความคิดเห็นจากภาคประชาชนก่อน | |||
<ref>เอกสารสรุปการบรรยายพิเศษ เรื่อง “สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สาธารณรัฐฝรั่งเศส และประเด็นเกี่ยวกับการทำสัญญาจ้างงานครั้งแรก (Contract Premier Embauche - CPE) ในฝรั่งเศส" โดย ฯพณฯ โลรองต์ โอแบล็ง (H.E. Mr. Laurent Aublin) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฝรั่งเศสประจำประเทศไทย </ref> | |||
== ที่มา == | == ที่มา == | ||
บรรทัดที่ 57: | บรรทัดที่ 62: | ||
<references/> | <references/> | ||
[[หมวดหมู่:ฝรั่งเศส]] | [[หมวดหมู่:ฝรั่งเศส]] | ||
[[หมวดหมู่:วัชรา ไชยสาร]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:52, 5 ตุลาคม 2554
ผู้เรียบเรียง วัชรา ไชยสาร
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ พรรณราย ขันธกิจ
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในสมัยที่นายโคทม อารียา เป็นประธานสภาที่ปรึกษาฯ นั้น ได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมและสถาบันในลักษณะเดียวกัน โดยเฉพาะประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึ่งเป็นต้นแบบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม จึงได้เรียนเชิญ ฯพณฯ โลรองต์ โอแบล็ง (H.E. Mr. Laurent Aublin) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฝรั่งเศสประจําประเทศไทย มาบรรยายพิเศษ เรื่อง “สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สาธารณรัฐฝรั่งเศส และประเด็นเกี่ยวกับการทําสัญญาจ้างงานครั้งแรก (Contract Premier Embauche - CPE) ในฝรั่งเศส” เมื่อวันพุธที่ 5 เมษายน 2549 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม 1 สํานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อาคารพญาไทพลาซ่า ราชเทวี
ในการบรรยายพิเศษดังกล่าว ฯพณฯ โลรองต์ โอแบล็ง (H.E. Mr. Laurent Aublin) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฝรั่งเศสประจำประเทศไทย ได้ขอที่ประชุมบรรยายเป็นภาษาอังกฤษ โดยนายโคทม อารียา ประธานสภาที่ปรึกษาฯ เป็นผู้ทำหน้าที่แปลเป็นภาษาไทย ให้กับที่ประชุมทราบ ดังนี้
ประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส (French Republic) มีความสัมพันธ์อันดีต่อกันมาเป็นเวลายาวนาน โดยเฉพาะความสัมพันธ์ทางด้านการค้า และในการมาเยือนประเทศไทยของประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายฌาค ชีรัค ( Jacques Chirac) เมื่อวันที่ 17 – 18 กุมภาพันธ์ 2549 นั้น ได้กระชับความสัมพันธ์ประเทศทั้ง 2 ให้ดีขึ้น
ประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส (French Republic) มีความสัมพันธ์อันดีต่อกันมาเป็นเวลายาวนาน โดยเฉพาะความสัมพันธ์ทางด้านการค้า และในการมาเยือนประเทศไทยของประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายฌาค ชีรัค ( Jacques Chirac) เมื่อวันที่ 17 – 18 กุมภาพันธ์ 2549 นั้น ได้กระชับความสัมพันธ์ของประเทศทั้งสองให้ดีขึ้น
สถานการณ์ก่อนมีสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐที่ 5
จากนั้น ฯพณฯ โลรองต์ โอแบล็ง ได้กล่าวถึงสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมของสาธารณรัฐฝรั่งเศสปัจจุบัน อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี ค.ศ. 1958 ซึ่งก่อนหน้านี้เคยอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี ค.ศ. 1946 ย้อนไปในอดีตหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส ทำให้มีการแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ อย่างชัดเจน เช่น สมาคมทางการค้า สมาคมวิชาชีพ นักบวช และให้ทุกคนมีความเสมอภาคกัน มีความอิสระ เสรีภาคในความเป็นพลเมือง ในเวลานั้นการปฏิวัติห้ามมิให้มีการรวมตัวกันเป็นสหภาพแรงงาน เพราะคิดตรงกันข้ามกับความเป็นพลเมือง แต่เมื่อเกิดการปฏิวัติวัฒนธรรมผู้ใช้แรงงาน เริ่มรวมกลุ่มเป็นสหภาพ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีความพยายามที่จะสนับสนุนการรวมกลุ่มกันทางสังคม เพื่อเป็นกลุ่มพลังขับเคลื่อนทางสังคม ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มวิชาชีพ กลุ่มสตรี กลุ่มผู้ชรา อื่นๆ มารวมกันเป็นกลุ่มทางการเมือง
องค์ประกอบและกระบวนการทำงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส
ส่วนสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมในสาธารณรัฐฝรั่งเศสถือว่าเป็นสภาฯ ที่ 3 โดยองค์ประกอบของสภาฝรั่งเศส มีสมาชิก 231 คน ประกอบด้วย บุคคลที่แต่งตั้งโดยรัฐบาล 30 คน และอีก 201 คน มาจากสหภาพองค์กรนายจ้าง สหกรณ์องค์กรทางด้านการเกษตร องค์กรภาคประชาสังคม และองค์กรอื่นๆ ซึ่งในจำนวน 231 คน ได้แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ 18 กลุ่ม ด้วยความสมัครใจ แต่ไม่ใช่พรรคการเมือง ส่วนโครงสร้างของคณะทำงานได้แบ่งเหมือนกับคณะทำงานประจำของสภาที่ปรึกษาฯ ประเทศไทย ซึ่งมีจำนวน 9 คณะ โดยมีคณะเกี่ยวกับสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี ผู้ใช้แรงงาน การพัฒนาภูมิภาค การคลัง การต่างประเทศ อาหาร และการเกษตร และมีคณะทำงานพิเศษอยู่จำนวน 3 คณะ คือ คณะทำงานด้านสิทธิสตรีและความเสมอภาค คณะทำงานกิจการสหภาพยุโรป และคณะทำงานการวางแผน ทั้งนี้ รัฐบาลยังได้ส่งผู้เชี่ยวชาญจำนวน 72 คน มาช่วยงานของคณะทำงานใน 12 คณะ ดังกล่าวด้วย

ผลลัพธ์จากคณะทำงานมีอยู่ 3 ลักษณะ คือ รายงานการศึกษาเป็นขั้นตอน รายงานการศึกษาที่สูงขึ้นไป คือ ทำรายงานเป็นเรื่อง ๆ และจัดทำข้อเสนอแนะ ซึ่งในแต่ละปีสภาที่ปรึกษาฯ ของสาธารณรัฐฝรั่งเศส ได้มีข้อเสนอแนะประมาณ 20 เรื่อง และได้มีการประเมินผลปรากฏว่า ร้อยละ 77 เป็นความเห็นที่สภาที่ปรึกษาฯ สาธารณรัฐฝรั่งเศสเสนอรัฐบาล ส่วนร้อยละ 23 เป็นข้อเสนอตามที่รัฐบาลขอให้ไปศึกษา ตัวอย่างเช่น ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตชนบท
ในส่วนของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาสาธารณรัฐฝรั่งเศส (ออบุชมัน) จะเสนอรายงานต่อสภาที่ปรึกษาฯ ประเทศฝรั่งเศส โดยได้มีการถกเถียงกันในเรื่องสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ในประเด็นเรื่องการศึกษา ความเป็นไปได้เกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานเป็นสำคัญ รวมถึงการเสนอร่างกฎหมายวิธีการที่จะจัดการกับสารกัมมันตภาพรังสี ตลอดเวลา 10 ปีที่ผ่านมา จากข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาฯ มีจำนวนมากกว่าครึ่งได้นำไปสู่การออกกฎหมาย แสดงให้เห็นว่าการจัดทำข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาฯ มีคุณภาพสูง และได้มาจากตัวแทนของกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ มาถกเถียงสานเสวนาแลกเปลี่ยน จนกระทั่งได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่งพอที่จะเป็นที่ยอมรับของสังคม

นอกจากนี้ สภาที่ปรึกษาฯ สาธารณรัฐฝรั่งเศส ได้มีการตั้งคณะทำงานที่จะต้องติดตามผลจากข้อเสนอแนะต่าง ๆ ของสภาที่ปรึกษาฯ และจัดทำรายงานประจำปี และมีสภาในระดับภูมิภาค จำนวน 30 สภา โดยได้มีการจัดตั้งขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1992
สภาที่ปรึกษาฯ สาธารณรัฐฝรั่งเศส ได้ทำการสำรวจข้อมูล พบว่ามีประเทศที่มีสภาที่ปรึกษาฯ จำนวน 65 ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุโรป สำหรับสหภาพยุโรปนั้น ได้มีคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคม ของสหภาพยุโรป และสมาคมระหว่างประเทศของสภาที่ปรึกษาฯ
ความสำคัญของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมที่มีต่อการพัฒนาประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส
ในประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส สภาที่ปรึกษาฯ มีบทบาทที่สำคัญ แต่ส่วนใหญ่ไม่ค่อยออกสู่สาธารณะ ภารกิจที่สำคัญของสภาที่ปรึกษาฯ ของสาธารณรัฐฝรั่งเศส คือ
1) เป็นเหมือนคลังสมองทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
2) เป็นผู้สร้างความฉันทามติหรือความเห็นพ้องต้องกันให้เกิดขึ้นในสังคม
ทั้งนี้ ฯพณฯ เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฝรั่งเศสประจำประเทศไทย ยังได้กล่าวถึงประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสาธารณรัฐฝรั่งเศส กรณีนักศึกษาประท้วงร่างกฎหมายว่าด้วยการทำสัญญาจ้างงานครั้งแรกต่อลูกจ้างอายุต่ำกว่า 26 ปี (Contract Premier Embauche - CPE) ซึ่งกำหนดให้นายจ้างมีสิทธิปลดพนักงานใหม่ที่อายุต่ำกว่า 26 ปี โดยไม่จำเป็นต้องแจงเหตุผลในช่วง 2 ปีแรก ซึ่งวัตถุประสงค์รัฐบาลต้องการลดอัตราวัยรุ่นว่างงานลง โดยหวังว่าจะให้นายจ้างซึ่งเดิมไม่อยากจ้างคนกลุ่มนี้ เพราะไม่เชื่อในประสบการณ์ และเวลาจะทำให้ออกก็ทำได้ยาก จะหันมาจ้างมากขึ้น แต่ในที่สุดแล้ว รัฐบาลได้ยอมประนีประนอมกับกลุ่มนักศึกษา ซึ่งตามความเห็นคิดว่า กรณีนี้อาจไม่เกิดปัญหาถ้ารัฐบาลจะได้มีการจัดรับฟังความคิดเห็นจากภาคประชาชนก่อน [1]
ที่มา
เอกสารสรุปการบรรยายพิเศษ เรื่อง “สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สาธารณรัฐฝรั่งเศส และประเด็นเกี่ยวกับการทำสัญญาจ้างงานครั้งแรก (Contract Premier Embauche - CPE) ในฝรั่งเศส" โดย ฯพณฯ โลรองต์ โอแบล็ง (H.E. Mr. Laurent Aublin) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ ฝรั่งเศสประจำประเทศไทย
ดูเพิ่มเติม
http://www.nesac.go.th/NESAC_LIVE/france/
http://www.conseil-economique-et-social.fr/
อ้างอิง
- ↑ เอกสารสรุปการบรรยายพิเศษ เรื่อง “สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สาธารณรัฐฝรั่งเศส และประเด็นเกี่ยวกับการทำสัญญาจ้างงานครั้งแรก (Contract Premier Embauche - CPE) ในฝรั่งเศส" โดย ฯพณฯ โลรองต์ โอแบล็ง (H.E. Mr. Laurent Aublin) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฝรั่งเศสประจำประเทศไทย