ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษในประเทศญี่ปุ่น"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 9: บรรทัดที่ 9:
== องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษในประเทศญี่ปุ่น ==
== องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษในประเทศญี่ปุ่น ==


ในประเทศญี่ปุ่นนั้นมีการกล่าวถึงเกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษไว้ในกฎหมายท้องถิ่น (ฉบับ พ.ศ. 2490) ในปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษในประเทศญี่ปุ่น ประกอบด้วย  
ในประเทศญี่ปุ่นนั้นมีการกล่าวถึงเกี่ยวกับ[[การปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ]]ไว้ในกฎหมายท้องถิ่น (ฉบับ พ.ศ. 2490) ในปัจจุบัน[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]รูปแบบพิเศษในประเทศญี่ปุ่น ประกอบด้วย  


'''1. สหกรณ์ของเทศบาล (Co-operation of Local Public Entities)''' คือ องค์กรที่มีลักษณะคล้ายสหกรณ์องค์การบริหารส่วนจังหวัดและเทศบาล จัดตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบบริหารกิจการซึ่งเป็นกิจการร่วมกันขององค์การบริหารส่วนจังหวัดและเทศบาล สหกรณ์ดังกล่าวแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่  
'''1. สหกรณ์ของเทศบาล (Co-operation of Local Public Entities)''' คือ องค์กรที่มีลักษณะคล้ายสหกรณ์[[องค์การบริหารส่วนจังหวัด]]และ[[เทศบาล]] จัดตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบบริหารกิจการซึ่งเป็นกิจการร่วมกันขององค์การบริหารส่วนจังหวัดและเทศบาล สหกรณ์ดังกล่าวแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่  


:1) ประเภทแรก สหกรณ์เฉพาะกิจ ประเภทนี้มีขอบเขตอำนาจจำกัดเฉพาะที่ได้รับมอบหมาย เช่น การกำจัดขยะมูลฝอย การดับเพลิงและการศึกษาภาคบังคับ  
::1) ประเภทแรก สหกรณ์เฉพาะกิจ ประเภทนี้มีขอบเขตอำนาจจำกัดเฉพาะที่ได้รับมอบหมาย เช่น การกำจัดขยะมูลฝอย การดับเพลิงและการศึกษาภาคบังคับ  


:2) ประเภทที่สอง สหกรณ์บริหารร่วมกัน ในกรณีนี้จังหวัดกับเทศบาลที่มาร่วมกันเป็นสหกรณ์จะร่วมกันบริหารกิจการในอำนาจและหน้าที่ และ  
::2) ประเภทที่สอง สหกรณ์บริหารร่วมกัน ในกรณีนี้จังหวัดกับเทศบาลที่มาร่วมกันเป็นสหกรณ์จะร่วมกันบริหารกิจการในอำนาจและหน้าที่ และ  


:3) ประเภทที่สาม เป็นการร่วมกันปฏิบัติภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกับเทศบาลที่เกี่ยวข้อง  
::3) ประเภทที่สาม เป็นการร่วมกันปฏิบัติภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกับเทศบาลที่เกี่ยวข้อง  


'''2. องค์กรบริหารทรัพย์สิน (Property Ward)''' คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่จัดตั้งขึ้นโดยเทศบาลหรือองค์การบริหารส่วนจังหวัดเพื่อให้จัดการทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ป่าไม้ การชลประทานตามลำคลอง แหล่งน้ำพุร้อนและน้ำแร่ เป็นต้น
'''2. องค์กรบริหารทรัพย์สิน (Property Ward)''' คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่จัดตั้งขึ้นโดยเทศบาลหรือองค์การบริหารส่วนจังหวัดเพื่อให้จัดการทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ป่าไม้ การชลประทานตามลำคลอง แหล่งน้ำพุร้อนและน้ำแร่ เป็นต้น

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:50, 17 มีนาคม 2554

ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ วุฒิสาร ตันไชย และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ก๊กผล


องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษในประเทศญี่ปุ่น

ในประเทศญี่ปุ่นนั้นมีการกล่าวถึงเกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษไว้ในกฎหมายท้องถิ่น (ฉบับ พ.ศ. 2490) ในปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษในประเทศญี่ปุ่น ประกอบด้วย

1. สหกรณ์ของเทศบาล (Co-operation of Local Public Entities) คือ องค์กรที่มีลักษณะคล้ายสหกรณ์องค์การบริหารส่วนจังหวัดและเทศบาล จัดตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบบริหารกิจการซึ่งเป็นกิจการร่วมกันขององค์การบริหารส่วนจังหวัดและเทศบาล สหกรณ์ดังกล่าวแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่

1) ประเภทแรก สหกรณ์เฉพาะกิจ ประเภทนี้มีขอบเขตอำนาจจำกัดเฉพาะที่ได้รับมอบหมาย เช่น การกำจัดขยะมูลฝอย การดับเพลิงและการศึกษาภาคบังคับ
2) ประเภทที่สอง สหกรณ์บริหารร่วมกัน ในกรณีนี้จังหวัดกับเทศบาลที่มาร่วมกันเป็นสหกรณ์จะร่วมกันบริหารกิจการในอำนาจและหน้าที่ และ
3) ประเภทที่สาม เป็นการร่วมกันปฏิบัติภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกับเทศบาลที่เกี่ยวข้อง

2. องค์กรบริหารทรัพย์สิน (Property Ward) คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่จัดตั้งขึ้นโดยเทศบาลหรือองค์การบริหารส่วนจังหวัดเพื่อให้จัดการทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ป่าไม้ การชลประทานตามลำคลอง แหล่งน้ำพุร้อนและน้ำแร่ เป็นต้น

3. สหการโยธาและการพัฒนา (Local Development Corporation) คือ สหกรณ์ที่จัดตั้งโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกันมากกว่า 1 แห่ง เพื่อพัฒนาถนน แม่น้ำ ภูเขาหรือพัฒนาพื้นที่ในเขตที่กำหนดขึ้น เช่น การสร้างเมืองใหม่หรือเมืองอุตสาหกรรม เป็นต้น

เอกสารอ่านเพิ่มเติม

1. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และคณะ. ทิศทางการปกครองท้องถิ่นของไทยและต่างประเทศเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน, 2546.

2. สมคิด เลิศไพฑูรย์ และคณะ. “การศึกษาสภาพปัญหาแนวทางการปรับปรุงรูปแบบการบริหารและแนวทางการพัฒนาพื้นที่เกาะสมุย”, รายงานการวิจัยเสนอต่อกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2546. รายงานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการปรับปรุงรูปแบบการบริหารจัดการพื้นที่เกาะสมุย โดยได้ศึกษาเกี่ยวกับสภาพพื้นที่โดยละเอียด ไม่ว่าจะเป็นสภาพปัญหาภายใน หน่วยงานที่จัดทำบริการหรือรับผิดชอบในด้านต่าง ๆ ซึ่งทำให้เห็นภาพรวมการบริหารจัดการในพื้นที่เกาะสมุยได้เป็นอย่างดี รวมถึงคณะผู้วิจัยได้จัดทำข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารของเกาะสมุยอีกด้วย

3. สมคิด เลิศไพฑูรย์ และคณะ. “การจัดการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ: ศึกษากรณีจังหวัดภูเก็ต”, รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: ศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย, 2541. เป็นงานหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการจัดรูปแบบองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษของจังหวัดภูเก็ต โดยได้เสนอแนะโครงสร้างเกี่ยวกับการบริหารเมืองภูเก็ตโดยละเอียด