ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2538"
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 18: | บรรทัดที่ 18: | ||
|- | |- | ||
|width="50" align ="center" |1. | |width="50" align ="center" |1. | ||
|width=" | |width="360" align ="Left" | ผู้มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิด <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 97 ตอนที่ 33 ฉบับพิเศษ หน้า 5-6. ม.9.</ref> | ||
|width=" | |width="360" align ="Left" | บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติมีสิทธิเลือกตั้ง แต่ต้องได้รับสัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่าสิบปี <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2538, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 112 ตอนที่ 43 ก หน้า 1-2. ม.3.</ref> | ||
|- | |- | ||
|width="50" align ="center" |2. | |width="50" align ="center" |2. | ||
บรรทัดที่ 45: | บรรทัดที่ 45: | ||
'''พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2538''', ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 112 ตอนที่ 43 ก หน้า 1-3 | '''พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2538''', ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 112 ตอนที่ 43 ก หน้า 1-3 | ||
==อ้างอิง== | ==อ้างอิง== |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:28, 8 ตุลาคม 2553
ผู้เรียบเรียง อลงกรณ์ อรรคแสง
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2538 มีสาระสำคัญในการแก้ไขคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งตามที่มีการประกาศใช้ในพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2523 โดยสามารถพิจารณาสาระสำคัญได้ดังต่อไปนี้
ลำดับ | พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2015 |
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล
(ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2517 |
1. | ผู้มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิด [1] | บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติมีสิทธิเลือกตั้ง แต่ต้องได้รับสัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่าสิบปี [2] |
2. | ผู้มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 มกราคมของปีที่มีการเลือกตั้ง [3] | ผู้มีสิทธิเลือกตั้งต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 มกราคมของปีที่มีการเลือกตั้ง [4] |
3. | มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้ง [5] | มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 90 วัน [6] |
4. | บุคคลที่มีสัญชาติไทยที่มีบิดาเป็นคนต่างด้าว เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง แต่มีเงื่อนไขตามกฎหมาย [7] | ยกเลิก[8] |
5. | ไม่มี- | ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งต้องมีภูมิลำเนาอยู่เขตจังหวัดที่สมัครเป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันสมัครไม่น้อยกว่าหกเดือน หรือได้เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยภาษีโรงเรือนและที่ดินหรือตามกฎหมายว่าด้วยภาษีบำรุงท้องที่ให้กับจังหวัดนั้นในปีที่สมัครหรือในปีก่อนปีที่สมัครหนึ่งปี [9] |
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2538 เป็นกฎหมายฉบับแก้ไขเพิ่มเติมฉบับสุดท้ายที่ใช้กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด ก่อนที่จะมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ.2545
ที่มา
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 97 ตอนที่ 33 วันที่ 2 มีนาคม 2523, ฉบับพิเศษ น.1-18.
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2538, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 112 ตอนที่ 43 ก หน้า 1-3
อ้างอิง
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 97 ตอนที่ 33 ฉบับพิเศษ หน้า 5-6. ม.9.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2538, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 112 ตอนที่ 43 ก หน้า 1-2. ม.3.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523,อ้างแล้ว. ม.9.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2538, อ้างแล้ว. ม.3.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523,อ้างแล้ว. ม.9.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2538, อ้างแล้ว. ม.3.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2523,อ้างแล้ว. ม.10
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาจังหวัด (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2538, อ้างแล้ว. ม.4.
- ↑ เพิ่งอ้าง, ม.5.