ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ 2540"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ล เขตเลือกตั้ง(รศ.ประณต) ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น เขตเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ 2540 |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' รศ.ประณต นันทิยะกุล | '''ผู้เรียบเรียง''' รศ.ประณต นันทิยะกุล | ||
บรรทัดที่ 8: | บรรทัดที่ 7: | ||
เขตเลือกตั้ง คือ ท้องที่ที่กำหนดให้เป็นเขตเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง คือ ท้องที่ที่กำหนดให้เป็นเขตเลือกตั้ง | ||
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง | [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง]] จังหวัดใดที่มี[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต]]เลือกตั้งได้ 1 คน ให้ถือเขตจังหวัดนั้นเป็นเขตเลือกตั้ง ถ้าจังหวัดใดมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเกินกว่า 1 คน ให้แบ่งเขตเลือกตั้งเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พึงมี ในแต่ละเขตเลือกตั้ง ตาม[[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับปัจจุบัน กำหนดให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต จำนวน 400 คน ซึ่งเท่ากับมี 400 เขตเลือกตั้ง | ||
สำหรับ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้ถือเขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้งเพียง 1 เขตเลือกตั้ง รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อจำนวน 100 คน พรรคการเมือง เป็นผู้จัดทำบัญชีรายชื่อเรียงตามลำดับ จำนวนไม่เกิน 100 คน พรรคการเมืองใดที่ได้คะแนนเสียงเกิน 5 % จากจำนวนผู้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง | สำหรับ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้ถือเขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้งเพียง 1 เขตเลือกตั้ง รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อจำนวน 100 คน [[พรรคการเมือง]] เป็นผู้จัดทำบัญชีรายชื่อเรียงตามลำดับ จำนวนไม่เกิน 100 คน พรรคการเมืองใดที่ได้คะแนนเสียงเกิน 5 % จากจำนวนผู้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง พรรคการเมืองนั้นก็จะได้[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ]]ตามสัดส่วนดังกล่าว | ||
ส่วนการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกำหนดให้มีสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 200 คน มีเขตเลือกตั้ง 76 เขตเลือกตั้ง จังหวัดใดจะมีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาได้กี่คน คณะกรรมการเลือกตั้ง จะเป็นผู้กำหนด โดยถือจำนวนราษฎรของจังหวัดนั้นเป็นเกณฑ์ ในการแบ่งเขตเลือกตั้ง | ส่วนการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกำหนดให้มีสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 200 คน มีเขตเลือกตั้ง 76 เขตเลือกตั้ง จังหวัดใดจะมีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาได้กี่คน [[คณะกรรมการเลือกตั้ง]] จะเป็นผู้กำหนด โดยถือจำนวนราษฎรของจังหวัดนั้นเป็นเกณฑ์ ในการแบ่งเขตเลือกตั้ง |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:43, 4 ตุลาคม 2553
ผู้เรียบเรียง รศ.ประณต นันทิยะกุล
เขตเลือกตั้ง
เขตเลือกตั้ง คือ ท้องที่ที่กำหนดให้เป็นเขตเลือกตั้ง
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จังหวัดใดที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 1 คน ให้ถือเขตจังหวัดนั้นเป็นเขตเลือกตั้ง ถ้าจังหวัดใดมีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเกินกว่า 1 คน ให้แบ่งเขตเลือกตั้งเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พึงมี ในแต่ละเขตเลือกตั้ง ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน กำหนดให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต จำนวน 400 คน ซึ่งเท่ากับมี 400 เขตเลือกตั้ง
สำหรับ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้ถือเขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้งเพียง 1 เขตเลือกตั้ง รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อจำนวน 100 คน พรรคการเมือง เป็นผู้จัดทำบัญชีรายชื่อเรียงตามลำดับ จำนวนไม่เกิน 100 คน พรรคการเมืองใดที่ได้คะแนนเสียงเกิน 5 % จากจำนวนผู้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง พรรคการเมืองนั้นก็จะได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อตามสัดส่วนดังกล่าว
ส่วนการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกำหนดให้มีสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 200 คน มีเขตเลือกตั้ง 76 เขตเลือกตั้ง จังหวัดใดจะมีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาได้กี่คน คณะกรรมการเลือกตั้ง จะเป็นผู้กำหนด โดยถือจำนวนราษฎรของจังหวัดนั้นเป็นเกณฑ์ ในการแบ่งเขตเลือกตั้ง