ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2541"
ล พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 10) พุทธศักราช 2541 ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น [[พระ� |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 10: | บรรทัดที่ 10: | ||
== พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 10) พุทธศักราช 2541 == | == พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 10) พุทธศักราช 2541 == | ||
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 10) พุทธศักราช | พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 10) พุทธศักราช 2541เป็น[[กฎหมาย]]แก้ไข[[พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482]] เพียงเรื่องเดียวคือ การแก้ไขระยะเวลารับสมัคร[[เลือกตั้ง]] กล่าวคือ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภา[[เทศบาล]] พุทธศักราช 2482 ซึ่งเป็นกฎหมายฉบับก่อนหน้าได้กำหนดระยะเวลารับสมัครเลือกตั้งไว้ไม่น้อยกว่า 15 วัน แต่ไม่เกิน 30 วัน โดยกำหนดวันสุดท้ายของระยะเวลาสมัครไว้ก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 30 วัน<ref> พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 56, วันที่10 พฤศจิกายน 2482, หน้า 1639, มาตรา 6 </ref> กฎหมายฉบับใหม่ได้แก้ไขระยะเวลารับสมัครเลือกตั้งใหม่ว่าจะต้องมีระยะเวลารับสมัครเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 7 วัน แต่ไม่เกิน 15 วัน โดยกำหนดให้วันสุดท้ายของระยะเวลารับสมัครนั้นจะต้องเป็นวันก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 30 วัน <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 10) พุทธศักราช 2541, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 115 ตอนที่ 99 ก, วันที่ 28 ธันวาคม 2541, หน้า 1, มาตรา 3</ref> | ||
อย่างไรก็ตาม การประกาศบังคับใช้ตามกฎหมายใหม่นี้ | อย่างไรก็ตาม การประกาศบังคับใช้ตามกฎหมายใหม่นี้ จะไม่กระทบกระเทือนถึงประกาศของ[[ผู้ว่าราชการจังหวัด]]ที่ได้กำหนดระยะเวลารับสมัครเลือกตั้งและวันเลือกตั้ง[[สมาชิกสภาเทศบาล]]ไว้ก่อนหน้าที่กฎหมายฉบับแก้ไขนี้จะประกาศใช้บังคับ <ref>เพิ่งอ้าง, หน้า 2, มาตรา 4</ref> | ||
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:38, 30 สิงหาคม 2553
ผู้เรียบเรียง อลิศรา พรหมโชติชัย
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 10) พุทธศักราช 2541
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 10) พุทธศักราช 2541เป็นกฎหมายแก้ไขพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482 เพียงเรื่องเดียวคือ การแก้ไขระยะเวลารับสมัครเลือกตั้ง กล่าวคือ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482 ซึ่งเป็นกฎหมายฉบับก่อนหน้าได้กำหนดระยะเวลารับสมัครเลือกตั้งไว้ไม่น้อยกว่า 15 วัน แต่ไม่เกิน 30 วัน โดยกำหนดวันสุดท้ายของระยะเวลาสมัครไว้ก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 30 วัน[1] กฎหมายฉบับใหม่ได้แก้ไขระยะเวลารับสมัครเลือกตั้งใหม่ว่าจะต้องมีระยะเวลารับสมัครเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 7 วัน แต่ไม่เกิน 15 วัน โดยกำหนดให้วันสุดท้ายของระยะเวลารับสมัครนั้นจะต้องเป็นวันก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 30 วัน [2]
อย่างไรก็ตาม การประกาศบังคับใช้ตามกฎหมายใหม่นี้ จะไม่กระทบกระเทือนถึงประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้กำหนดระยะเวลารับสมัครเลือกตั้งและวันเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลไว้ก่อนหน้าที่กฎหมายฉบับแก้ไขนี้จะประกาศใช้บังคับ [3]
ที่มา
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 10) พุทธศักราช 2541, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 115 ตอนที่ 99 ก, วันที่ 28 ธันวาคม 2541
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 56, วันที่10 พฤศจิกายน 2482
อ้างอิง
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 56, วันที่10 พฤศจิกายน 2482, หน้า 1639, มาตรา 6
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 10) พุทธศักราช 2541, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 115 ตอนที่ 99 ก, วันที่ 28 ธันวาคม 2541, หน้า 1, มาตรา 3
- ↑ เพิ่งอ้าง, หน้า 2, มาตรา 4