ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สื่อออนไลน์เครื่องมือการประท้วงยุคดิจิทัล"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง''' ''':''' อภิรมย์ สุวรรณชาติ '''ผู้ทรงคุณวุฒิ..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 14: บรรทัดที่ 14:
 
 


[[File:Online media tools of protest in the digital age (1).jpg|center|500px|Online media tools of protest in the digital age (1).jpg]]
[[File:Online media tools of protest in the digital age (1).jpg|center|450px|Online media tools of protest in the digital age (1).jpg]]
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' ผู้เข้าใช้งาน Internet ในประเทศไทย ปี 2023</p>  
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' ผู้เข้าใช้งาน Internet ในประเทศไทย ปี 2023</p>  
&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 30: บรรทัดที่ 30:
<span style="font-size:x-large;">'''รูปแบบการใช้สื่อออนไลน์ร่วมกับการประท้วงในโลกออนไลน์'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''รูปแบบการใช้สื่อออนไลน์ร่วมกับการประท้วงในโลกออนไลน์'''</span>


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''1.''' '''การเชื่อมต่อและการสื่อสาร''' ''':''' โลกออนไลน์เป็นสื่อที่ให้โอกาสในการเชื่อมต่อและการสื่อสารระหว่างผู้คนทั่วโลก ผู้คนสามารถรวมตัวกันเพื่อสนับสนุนหรือต่อต้านเรื่องราว หรือสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องผ่านการแชร์ข้อมูล รูปภาพ วิดีโอ หรือการสนทนาในสังคมออนไลน์ ตัวอย่าง เช่น ปรากฏการณ์ทางการเมืองบนโลกออนไลน์ที่เป็นที่พูดถึงกันอย่างกว้างขวาง คือ การเผาตัวเองของบูอาซีซีลุกลามสู่ '''“การปฏิวัติดอกมะลิ”''' '''(Jasmine Revolution)''' และลุกลามไปทั่วดินแดนอาหรับกลายเป็นปรากฏการณ์ '''“อาหรับสปริง”'''&nbsp;'''(Arab Spring)'''&nbsp;ที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตและ Social Media เป็นเครื่องมือสำคัญในการระดมผู้ประท้วงอาหรับสปริงและบันทึกความอยุติธรรมของรัฐบาล โดยในกลุ่มประเทศทั้ง 6 ที่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์อาหรับสปริง ได้แก่ บาห์เรน อียิปต์ ลิเบีย ซีเรีย ตูนิเซีย และเยเมน
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''1.''' '''การเชื่อมต่อและการสื่อสาร'''&nbsp;โลกออนไลน์เป็นสื่อที่ให้โอกาสในการเชื่อมต่อและการสื่อสารระหว่างผู้คนทั่วโลก ผู้คนสามารถรวมตัวกันเพื่อสนับสนุนหรือต่อต้านเรื่องราว หรือสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องผ่านการแชร์ข้อมูล รูปภาพ วิดีโอ หรือการสนทนาในสังคมออนไลน์ ตัวอย่าง เช่น ปรากฏการณ์ทางการเมืองบนโลกออนไลน์ที่เป็นที่พูดถึงกันอย่างกว้างขวาง คือ การเผาตัวเองของบูอาซีซีลุกลามสู่ '''“การปฏิวัติดอกมะลิ”''' '''(Jasmine Revolution)''' และลุกลามไปทั่วดินแดนอาหรับกลายเป็นปรากฏการณ์ '''“อาหรับสปริง”'''&nbsp;'''(Arab Spring)'''&nbsp;ที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตและ Social Media เป็นเครื่องมือสำคัญในการระดมผู้ประท้วงอาหรับสปริงและบันทึกความอยุติธรรมของรัฐบาล โดยในกลุ่มประเทศทั้ง 6 ที่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์อาหรับสปริง ได้แก่ บาห์เรน อียิปต์ ลิเบีย ซีเรีย ตูนิเซีย และเยเมน


&nbsp;
&nbsp;


[[File:Online media tools of protest in the digital age (2).jpg|center|500px|Online media tools of protest in the digital age (2).jpg]]
[[File:Online media tools of protest in the digital age (2).jpg|center|450px|Online media tools of protest in the digital age (2).jpg]]
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':'''&nbsp;10 ปีย้อนรอยอาหรับสปริง [[#_ftn3|[3]]]</p>  
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':'''&nbsp;10 ปีย้อนรอยอาหรับสปริง [[#_ftn3|[3]]]</p>  
&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 42: บรรทัดที่ 42:
&nbsp;
&nbsp;


[[File:Online media tools of protest in the digital age (3).jpg|center|500px|Online media tools of protest in the digital age (3).jpg]]
[[File:Online media tools of protest in the digital age (3).jpg|center|450px|Online media tools of protest in the digital age (3).jpg]]
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' การลงคะแนนใน Telegram groups 61% โหวตให้ "กลับ" และ 39% ระบุว่า "สถานีตำรวจ" [[#_ftn4|[4]]]</p>  
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' การลงคะแนนใน Telegram groups 61% โหวตให้ "กลับ" และ 39% ระบุว่า "สถานีตำรวจ" [[#_ftn4|[4]]]</p>  
&nbsp;
&nbsp;


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''2.''' '''การสร้างการรณรงค์''' ''':''' การประท้วงในโลกออนไลน์สามารถเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างการรณรงค์เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองหรือสังคม ผู้คนสามารถใช้ Social Media เพื่อรวมกันในกลุ่มหรือสร้างเครือข่ายในการสนับสนุนเรื่องราวหรือการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ เช่น การรณรงค์ทางการเมืองของ Change.org ซึ่งปัจจุบันมีเรื่องทางการเมืองถึง 159 แคมเปญรณรงค์
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''2.''' '''การสร้างการรณรงค์'''&nbsp;การประท้วงในโลกออนไลน์สามารถเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างการรณรงค์เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองหรือสังคม ผู้คนสามารถใช้ Social Media เพื่อรวมกันในกลุ่มหรือสร้างเครือข่ายในการสนับสนุนเรื่องราวหรือการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ เช่น การรณรงค์ทางการเมืองของ Change.org ซึ่งปัจจุบันมีเรื่องทางการเมืองถึง 159 แคมเปญรณรงค์


&nbsp;
&nbsp;


[[File:Online media tools of protest in the digital age (4).png|center|600px|Online media tools of protest in the digital age (4).png]]
[[File:Online media tools of protest in the digital age (4).png|center|500px|Online media tools of protest in the digital age (4).png]]
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':'''&nbsp;Change.org แคมเปญรณรงค์ประเด็นการเมือง</p> <p style="text-align: center;">&nbsp;</p>  
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':'''&nbsp;Change.org แคมเปญรณรงค์ประเด็นการเมือง</p> <p style="text-align: center;">&nbsp;</p>  
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''3.''' '''การสร้างการตอบรับจากสาธารณชน''' ''':''' การประท้วงในโลกออนไลน์สามารถสร้างการตอบรับจากสาธารณชนได้ในทันที ผู้คนสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องราวหรือการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ผ่านการกดไลค์ คอมเมนต์ หรือแชร์ ที่ส่งผลให้เรื่องราวนั้นเป็นที่น่าสนใจและเป็นที่รู้จักกันมากขึ้น เช่น [[พันธมิตรชานม_(Milk_Tea_Alliance)|พันธมิตรชานม]] (Milk Tea Alliance) การรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการและเคลื่อนไหวทางการเมืองผ่านอินเทอร์เน็ตระหว่างผู้ใช้งาน Social Media ชาวไทย ไต้หวัน และฮ่องกง ก่อนจะขยายตัวไปอีกหลายประเทศในเอเชีย ที่มีการโต้เถียงอยู่บนหลากหลายแพล็ตฟอร์มที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นทวิตเตอร์ (twitter), เฟสบุ๊ค (facebook) หรืออินสตราแกรม (Instagram) ที่เริ่มจากเรื่องของนักแสดงไปสู่ประเด็นต่าง ๆ ทางการเมือง โดยการใช้แฮชแท็ก[[#_ftn5|[5]]] (Hashtag) หรือที่เรียกกันว่าคีย์เวิร์ด (Keyword) เป็นฟังก์ชันของสื่อสังคมออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นทวิตเตอร์, เฟสบุ๊ค, อินสตราแกรม, ติ๊กต๊อก (tiktok) ฯลฯ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''3.''' '''การสร้างการตอบรับจากสาธารณชน'''&nbsp;การประท้วงในโลกออนไลน์สามารถสร้างการตอบรับจากสาธารณชนได้ในทันที ผู้คนสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องราวหรือการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ผ่านการกดไลค์ คอมเมนต์ หรือแชร์ ที่ส่งผลให้เรื่องราวนั้นเป็นที่น่าสนใจและเป็นที่รู้จักกันมากขึ้น เช่น [[พันธมิตรชานม_(Milk_Tea_Alliance)|พันธมิตรชานม]] (Milk Tea Alliance) การรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการและเคลื่อนไหวทางการเมืองผ่านอินเทอร์เน็ตระหว่างผู้ใช้งาน Social Media ชาวไทย ไต้หวัน และฮ่องกง ก่อนจะขยายตัวไปอีกหลายประเทศในเอเชีย ที่มีการโต้เถียงอยู่บนหลากหลายแพล็ตฟอร์มที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นทวิตเตอร์ (twitter), เฟสบุ๊ค (facebook) หรืออินสตราแกรม (Instagram) ที่เริ่มจากเรื่องของนักแสดงไปสู่ประเด็นต่าง ๆ ทางการเมือง โดยการใช้แฮชแท็ก[[#_ftn5|[5]]] (Hashtag) หรือที่เรียกกันว่าคีย์เวิร์ด (Keyword) เป็นฟังก์ชันของสื่อสังคมออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นทวิตเตอร์, เฟสบุ๊ค, อินสตราแกรม, ติ๊กต๊อก (tiktok) ฯลฯ


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การใช้งานแฮชแท็กสามารถกระทำได้โดยการพิมพ์สัญลักษณ์ '''“#”''' หรือสัญลักษณ์แฮช (Hash)&nbsp;ตามด้วยข้อความใด ๆ ที่ต้องการอ้างอิงโดยไม่เว้นวรรค ซึ่งหากนำไปใช้ในการประท้วง ตัวอย่างการใช้งานก็จะเป็นการนัดหมายของการชุมนุมหรือการติดตามข่าวสารการชุมนุม เช่น “#15ตุลาไปแยกราชประสงค์” “#16ตุลาไปแยกปทุมวัน” “#17ตุลาไปแยกปทุมวัน” “#ม็อบ17ตุลา:ห้าแยกลาดพร้าว”
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การใช้งานแฮชแท็กสามารถกระทำได้โดยการพิมพ์สัญลักษณ์ '''“#”''' หรือสัญลักษณ์แฮช (Hash)&nbsp;ตามด้วยข้อความใด ๆ ที่ต้องการอ้างอิงโดยไม่เว้นวรรค ซึ่งหากนำไปใช้ในการประท้วง ตัวอย่างการใช้งานก็จะเป็นการนัดหมายของการชุมนุมหรือการติดตามข่าวสารการชุมนุม เช่น “#15ตุลาไปแยกราชประสงค์” “#16ตุลาไปแยกปทุมวัน” “#17ตุลาไปแยกปทุมวัน” “#ม็อบ17ตุลา:ห้าแยกลาดพร้าว”
บรรทัดที่ 60: บรรทัดที่ 60:
{| align="center" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width: 500px;"
{| align="center" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width: 500px;"
|-
|-
| [[File:Online media tools of protest in the digital age (6).jpg|center|300px|Online media tools of protest in the digital age (6).jpg]]
| [[File:Online media tools of protest in the digital age (6).jpg|center|350px|Online media tools of protest in the digital age (6).jpg]]
| [[File:Online media tools of protest in the digital age (5).jpg|center|700px|Online media tools of protest in the digital age (5).jpg]]
| [[File:Online media tools of protest in the digital age (5).jpg|center|750px|Online media tools of protest in the digital age (5).jpg]]
|}
|}
<p style="margin-left: 18pt; text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' ตัวอย่าง แฮชแท็ก #MilkTeaAlliance [[#_ftn6|[6]]]</p>  
<p style="margin-left: 18pt; text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' ตัวอย่าง แฮชแท็ก #MilkTeaAlliance [[#_ftn6|[6]]]</p>  

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:46, 26 ตุลาคม 2566

ผู้เรียบเรียง : อภิรมย์ สุวรรณชาติ

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ

 

สื่อออนไลน์เครื่องมือการประท้วงยุคดิจิทัล

          การประท้วงเป็นกิจกรรมที่ผู้คนรวมตัวกันเพื่อแสดงความคิดเห็นหรือต่อต้านเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่สำคัญในระดับชาติหรือระดับโลก การประท้วงเป็นอย่างหนึ่งในการใช้สิทธิ์ในการแสดงออกอย่างเสรีตามหลังคาดการณ์ โดยผู้เข้าร่วมประท้วงอาจเป็นกลุ่มหรือคนเดียวก็ได้ และอาจมีลักษณะและเหตุผลที่แตกต่างกันไปตามกรณี การประท้วงในอดีต คือ กิจกรรมที่ผู้คนรวมตัวกันเพื่อแสดงความคิดเห็นหรือต่อต้านเรื่องราว บางครั้งเป้าหมายของการประท้วงอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางนโยบายหรือการตัดสินใจหรือสถานการณ์ที่สำคัญในระดับชาติหรือระดับโลก แต่เกิดขึ้นในพื้นที่และสถานที่ที่สาธารณชนสามารถรวมตัวกันได้อย่างกว้างขวาง เช่น ถนน สนามกีฬา หรือสถานที่สาธารณะอื่น ๆ การประท้วงมักเน้นการพูดคุยและการแสดงความคิดเห็นโดยตรง โดยผู้เข้าร่วมประท้วงจะส่งเสียงด้วยการออกเสียงหรือพูดคุยกับผู้อื่นที่อยู่ใกล้เคียง มีการพกพาป้ายหรือธงที่แสดงความคิดเห็นหรือข้อความเป็นสื่อการสื่อสาร บางครั้งอาจมีการเดินขบวนหรือเคลื่อนไหวเป็นกลุ่มเพื่อแสดงต่อความเห็นของกลุ่มนั้น ๆ

          แต่ในยุคดิจิทัลที่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้เวลาบนโลกออนไลน์มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถิติล่าสุด ปี 2023[1] ผลการสำรวจ DIGITAL 2023 THAILAND จาก We Are Social และ Meltwater พบว่าคนไทยกว่า 71.75 ล้านคน มีผู้ใช้งาน Internet มากถึง 61.21 ล้านคน หรือมากถึง 85.3% ของประชากรทั้งหมด และยังมีการใช้งานอินเทอร์เน็ตวันนึงเฉลี่ยมากถึง 8 ชั่วโมง 6 นาที อีกด้วย

 

Online media tools of protest in the digital age (1).jpg
Online media tools of protest in the digital age (1).jpg

ภาพ : ผู้เข้าใช้งาน Internet ในประเทศไทย ปี 2023

 

          พฤติกรรมการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของคนรุ่นใหม่ก็จะอยู่บนโลกออนไลน์โดยส่วนใหญ่ ทั้งการโพสต์ข้อความเพื่อสนทนาแลกเปลี่ยน แสดงความเห็น ติดตามข่าวสารในประเด็นต่าง ๆ ตามที่สนใจ เช่น การวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล การพูดถึงปัญหาด้านต่าง ๆ ในสังคมหรือการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารว่าด้วยการเคลื่อนไหวทางการเมืองหรือสถานการณ์สำคัญที่เกิดขึ้น ไปจนถึงการสร้างความตระหนักรู้ในประเด็นทางสังคมและการเมืองในหลายด้านรวมถึงการประท้วง

 

ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์

          สื่อสังคมออนไลน์ หรือ Social Media จึงเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันมากยิ่งขึ้น Social Media หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นสื่อกลางที่ให้บุคคลทั่วไปมีส่วนร่วมสร้างและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่าง ๆ ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ [2] สื่อสังคมออนไลน์กลายเป็นสื่อออนไลน์ที่มีการเข้าถึงง่าย โดยมีผู้ให้บริการที่หลากหลาย เช่น ทวิตเตอร์ (twitter), เฟสบุ๊ค (facebook) หรืออินสตราแกรม (Instagram), ติ๊กต๊อก (tiktok) เป็นต้น

 

รูปแบบการใช้สื่อออนไลน์ร่วมกับการประท้วงในโลกออนไลน์

          1. การเชื่อมต่อและการสื่อสาร โลกออนไลน์เป็นสื่อที่ให้โอกาสในการเชื่อมต่อและการสื่อสารระหว่างผู้คนทั่วโลก ผู้คนสามารถรวมตัวกันเพื่อสนับสนุนหรือต่อต้านเรื่องราว หรือสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องผ่านการแชร์ข้อมูล รูปภาพ วิดีโอ หรือการสนทนาในสังคมออนไลน์ ตัวอย่าง เช่น ปรากฏการณ์ทางการเมืองบนโลกออนไลน์ที่เป็นที่พูดถึงกันอย่างกว้างขวาง คือ การเผาตัวเองของบูอาซีซีลุกลามสู่ “การปฏิวัติดอกมะลิ” (Jasmine Revolution) และลุกลามไปทั่วดินแดนอาหรับกลายเป็นปรากฏการณ์ “อาหรับสปริง” (Arab Spring) ที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตและ Social Media เป็นเครื่องมือสำคัญในการระดมผู้ประท้วงอาหรับสปริงและบันทึกความอยุติธรรมของรัฐบาล โดยในกลุ่มประเทศทั้ง 6 ที่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์อาหรับสปริง ได้แก่ บาห์เรน อียิปต์ ลิเบีย ซีเรีย ตูนิเซีย และเยเมน

 

Online media tools of protest in the digital age (2).jpg
Online media tools of protest in the digital age (2).jpg

ภาพ : 10 ปีย้อนรอยอาหรับสปริง [3]

 

          การชุมนุมเพื่อประชาธิปไตยของชาวฮ่องกงที่มีการรวมตัวกันและสื่อสารผ่าน Application ที่ชื่อว่า Telegram ผู้ชุมนุมสามารถลงมติในการเคลื่อนไหวต่าง ๆ โดยลงมติแบบเรียลไทม์และทำการเคลื่อนไหวการชุมนุมตามมตินั้น ๆ อย่างรวดเร็ว กลุ่มผู้ประท้วงชาวฮ่องกงหลายพันคน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนหนุ่มสาว ได้หลั่งไหลกันมาชุมนุมยึดถนนสายสำคัญใจกลางฮ่องกง เพื่อแสดงพลังต่อต้านร่างกฎหมายส่งผู้ร้ายข้ามแดน ที่มีผู้ออกมาประท้วงหลายหมื่นคน 

 

Online media tools of protest in the digital age (3).jpg
Online media tools of protest in the digital age (3).jpg

ภาพ : การลงคะแนนใน Telegram groups 61% โหวตให้ "กลับ" และ 39% ระบุว่า "สถานีตำรวจ" [4]

 

          2. การสร้างการรณรงค์ การประท้วงในโลกออนไลน์สามารถเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างการรณรงค์เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองหรือสังคม ผู้คนสามารถใช้ Social Media เพื่อรวมกันในกลุ่มหรือสร้างเครือข่ายในการสนับสนุนเรื่องราวหรือการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ เช่น การรณรงค์ทางการเมืองของ Change.org ซึ่งปัจจุบันมีเรื่องทางการเมืองถึง 159 แคมเปญรณรงค์

 

Online media tools of protest in the digital age (4).png
Online media tools of protest in the digital age (4).png

ภาพ : Change.org แคมเปญรณรงค์ประเด็นการเมือง

 

          3. การสร้างการตอบรับจากสาธารณชน การประท้วงในโลกออนไลน์สามารถสร้างการตอบรับจากสาธารณชนได้ในทันที ผู้คนสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องราวหรือการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ผ่านการกดไลค์ คอมเมนต์ หรือแชร์ ที่ส่งผลให้เรื่องราวนั้นเป็นที่น่าสนใจและเป็นที่รู้จักกันมากขึ้น เช่น พันธมิตรชานม (Milk Tea Alliance) การรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการและเคลื่อนไหวทางการเมืองผ่านอินเทอร์เน็ตระหว่างผู้ใช้งาน Social Media ชาวไทย ไต้หวัน และฮ่องกง ก่อนจะขยายตัวไปอีกหลายประเทศในเอเชีย ที่มีการโต้เถียงอยู่บนหลากหลายแพล็ตฟอร์มที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นทวิตเตอร์ (twitter), เฟสบุ๊ค (facebook) หรืออินสตราแกรม (Instagram) ที่เริ่มจากเรื่องของนักแสดงไปสู่ประเด็นต่าง ๆ ทางการเมือง โดยการใช้แฮชแท็ก[5] (Hashtag) หรือที่เรียกกันว่าคีย์เวิร์ด (Keyword) เป็นฟังก์ชันของสื่อสังคมออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นทวิตเตอร์, เฟสบุ๊ค, อินสตราแกรม, ติ๊กต๊อก (tiktok) ฯลฯ

          การใช้งานแฮชแท็กสามารถกระทำได้โดยการพิมพ์สัญลักษณ์ “#” หรือสัญลักษณ์แฮช (Hash) ตามด้วยข้อความใด ๆ ที่ต้องการอ้างอิงโดยไม่เว้นวรรค ซึ่งหากนำไปใช้ในการประท้วง ตัวอย่างการใช้งานก็จะเป็นการนัดหมายของการชุมนุมหรือการติดตามข่าวสารการชุมนุม เช่น “#15ตุลาไปแยกราชประสงค์” “#16ตุลาไปแยกปทุมวัน” “#17ตุลาไปแยกปทุมวัน” “#ม็อบ17ตุลา:ห้าแยกลาดพร้าว”

 

Online media tools of protest in the digital age (6).jpg
Online media tools of protest in the digital age (6).jpg
Online media tools of protest in the digital age (5).jpg
Online media tools of protest in the digital age (5).jpg

ภาพ : ตัวอย่าง แฮชแท็ก #MilkTeaAlliance [6]

 

          จะเห็นได้ว่าจริง ๆ แล้ว สื่อออนไลน์เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการแสดงออกทางประชาธิปไตย ที่ทำให้ผู้คนกล้าแสดงออกกล้าแสดงความคิดเห็น พูดคุย ติดตามข่าวสาร แต่การชุมนุมยังคงลงพื้นที่อยู่บนท้องถนน การชุมนุมประท้วงโดยทั่วไปจะต้องพิจารณาว่าเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนที่สามารถชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธภายในขอบเขตกฎหมาย การป้องกัน โดยการระงับการชุมนุมประท้วงต้องปฏิบัติอย่างละมุนละม่อม การประท้วงในโลกออนไลน์มีผลกระทบที่มีนัยสำคัญ โดยสามารถสร้างการเสียดสี แบ่งแยกความคิดเห็น หรือเพิ่มความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของข้อมูลปลอมได้

          ดังนั้น ควรใช้การประท้วงในโลกออนไลน์อย่างรับผิดชอบและสร้างสรรค์เพื่อสร้างสันติภาพและการเสริมสร้างความเข้มแข็งในสังคมออนไลน์ การประท้วงเป็นกิจกรรมทางการเมืองที่ผู้ค้านหรือกลุ่มคนหนึ่งรวมตัวกันเพื่อแสดงความคิดเห็นหรือการต่อสู้เพื่อสิทธิและประโยชน์ของกลุ่มนั้น ๆ ภายในการประท้วง ผู้เข้าร่วมอาจใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น เดินขบวนและแสดงความคิดเห็นอย่างเปิดเผย ใช้ป้ายประท้วงและเวทีแสดงความคิดเห็น หรือใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อเผยแพร่ความคิดเห็น อย่างไรก็ตาม การประท้วงอาจต้องปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่กำหนดไว้ในประเทศนั้น ๆ และใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างรอบคอบ และต้องไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่นเสมอ

 

อ้างอิง

[1] สรุปข้อมูลที่ควรรู้ DIGITAL 2023 THAILAND จาก We Are Social และ Meltwater February 15, 2023 เข้าถึงจาก   https://www.insightera.co.th/digital-2023-thailand/ สืบค้นวันที่ 30 เมษายน 2566

[2] Social Media คือ? รวมโซเชียลมีเดียที่ควรนำมาใช้ในธุรกิจของคุณ M.Veena, 8 September 2021 เข้าถึงจากhttps://digimusketeers.co.th/blogs/online-marketing/what-is-social-media สืบค้นวันที่ 30 เมษายน 2566

[3] อาหรับสปริง : 10 ปีหลังการลุกฮือทั่วตะวันออกกลาง BBC News Thai 13 กุมภาพันธ์ 2021 เข้าถึงจาก https://www.bbc.com/thai/international-56043450 สืบค้นวันที่ 29 เมษายน 2566

[4] How apps power Hong Kong's 'leaderless' protests BBC News  Published 30 June 2019 เข้าถึงจาก https://www.bbc.com/news/technology-48802125?fbclid=IwAR3exw6dLP4wrWwuay_uKmYZTRzcLYWUGE2aG04lgr6dX9epqKucQe9Q2_s สืบค้นวันที่ 20 เมษายน 2566

[6] “ลุกลาม! ดราม่า ‘จีนเดียว’ จากศึกบนทวิต สู่สถานทูตจีนตอบโต้ และ ‘พันธมิตรชานม’ ถือกำเนิด,” มติชนสุดสัปดาห์, (15 เมษายน 2563). เข้าถึงจาก https://www.matichonweekly.com/hot-news/article_296015. เมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2566.