ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การโกนผมประท้วง"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 2: บรรทัดที่ 2:
'''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น
'''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ''':''' ดร.สติธร ธนานิธิโชติ


 
 


'''<span style="font-size:x-large;">การโกนผมประท้วง</span>'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''การโกนผม''' ถือเป็นหนึ่งในวิถีสากลที่ใช้ในการประท้วงและในบางวัฒนธรรมยังถือว่าการโกนผมถูกใช้ในการประกอบพิธีทางศาสนาหรือแม้แต่ถูกใช้เป็นวิธีการในการลงโทษ อีกทั้งในหลายวัฒนธรรมถือว่าศีรษะ เส้นผม หรือแม้แต่หวีถูกถือว่าเป็น '''“ของสูง”''' ที่ต้องให้ความเคารพ และเส้นผมถูกทำให้มีความหมายมากกว่าความสวยงาม และศีรษะก็เป็นหนึ่งในอวัยวะที่สำคัญที่สุดของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นด้านกายภาพ สังคม หรือความเชื่อทางศาสนา[[#_ftn1|[1]]]
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การโกนผม ถือเป็นหนึ่งในวิถีสากลที่ใช้ในการประท้วงและในบางวัฒนธรรมยังถือว่าการโกนผมถูกใช้ในการประกอบพิธีทางศาสนาหรือแม้แต่ถูกใช้เป็นวิธีการในการลงโทษ อีกทั้งในหลายวัฒนธรรมถือว่าศีรษะ เส้นผม หรือแม้แต่หวีถูกถือว่าเป็น '''“ของสูง”''' ที่ต้องให้ความเคารพ และเส้นผมถูกทำให้มีความหมายมากกว่าความสวยงาม และศีรษะก็เป็นหนึ่งในอวัยวะที่สำคัญที่สุดของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นด้านกายภาพ สังคม หรือความเชื่อทางศาสนา[[#_ftn1|[1]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในประเทศเกาหลีใต้ การโกนหัวเพื่อประท้วงและแสดงจุดยืนทางการเมืองถือเป็นประเพณีการปฏิบัติที่มีมายาวนาน อันมีรากฐานมาจากคำสอนของลัทธิขงจื๊อแบบดั้งเดิม ในการแสดงออกถึงความมุ่งมั่นต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ด้านการต่อสู้ทางการเมืองในประวัติศาสตร์ของเกาหลีใต้ ในช่วงทศวรรษที่ 1960-1970 เมื่อเกาหลีใต้อยู่ภายใต้การปกครองแบบเผด็จการทหาร ผู้ไม่เห็นด้วยมักจะโกนศีรษะต่อหน้าสาธารณชนเพื่อแสดงการต่อต้าน ซึ่งวิธีการนี้ยังคงสืบเนื่องต่อมาในกลุ่มนักเคลื่อนไหวและนักการเมืองเพื่อใช้ในการประท้วง ดังกรณีตัวอย่างใน ปี ค.ศ. 2017 ชาวเมืองอินชอนจำนวนหลายร้อยคนได้โกนหัวประท้วงแผนการสร้างนิคมอุตสาหกรรมแห่งใหม่ในพื้นที่ และต่อมาใน ปี ค.ศ. 2018 มีผู้หญิงจำนวนมากร่วมโกนหัวในการเดินขบวนต่อต้านการติดตั้งกล้องสอดแนมที่ถูกวางไว้ในห้องน้ำและห้องเปลี่ยนเสื้อผ้าเพื่อแอบถ่ายผู้หญิงซึ่งมีจำนวนมากขึ้นซึ่งถือเป็นความไม่ปลอดภัย และการละเมิดความเป็นส่วนตัวอย่างรุนแรง
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในประเทศเกาหลีใต้ การโกนหัวเพื่อประท้วงและแสดงจุดยืนทางการเมืองถือเป็นประเพณีการปฏิบัติที่มีมายาวนาน อันมีรากฐานมาจากคำสอนของลัทธิขงจื๊อแบบดั้งเดิม ในการแสดงออกถึงความมุ่งมั่นต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ด้านการต่อสู้ทางการเมืองในประวัติศาสตร์ของเกาหลีใต้ ในช่วงทศวรรษที่ 1960-1970 เมื่อเกาหลีใต้อยู่ภายใต้การปกครองแบบเผด็จการทหาร ผู้ไม่เห็นด้วยมักจะโกนศีรษะต่อหน้าสาธารณชนเพื่อแสดงการต่อต้าน ซึ่งวิธีการนี้ยังคงสืบเนื่องต่อมาในกลุ่มนักเคลื่อนไหวและนักการเมืองเพื่อใช้ในการประท้วง ดังกรณีตัวอย่างใน ปี ค.ศ. 2017 ชาวเมืองอินชอนจำนวนหลายร้อยคนได้โกนหัวประท้วงแผนการสร้างนิคมอุตสาหกรรมแห่งใหม่ในพื้นที่ และต่อมาใน ปี ค.ศ. 2018 มีผู้หญิงจำนวนมากร่วมโกนหัวในการเดินขบวนต่อต้านการติดตั้งกล้องสอดแนมที่ถูกวางไว้ในห้องน้ำและห้องเปลี่ยนเสื้อผ้าเพื่อแอบถ่ายผู้หญิงซึ่งมีจำนวนมากขึ้นซึ่งถือเป็นความไม่ปลอดภัย และการละเมิดความเป็นส่วนตัวอย่างรุนแรง


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อย่างไรก็ดี กรณีของการโกนหัวประท้วงที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นทางการเมืองที่สำคัญเกิดขึ้นในเดือนกันยายน ค.ศ. 2019 เมื่อ '''นายฮวาง เกียว อัน (Hwang Kyo ahn)''' ผู้นำฝ่ายค้านของประเทศเกาหลีใต้ได้โกนหัวตัวเองต่อหน้าผู้สนับสนุนและนักข่าวนอกทำเนียบประธานาธิบดี เพื่อประท้วงการแต่งตั้งให้ '''นายโชว์ กุก&nbsp;(Cho Kuk)''' ซึ่งเป็นอดีตอาจารย์กฎหมายและผู้ช่วยประธานาธิบดี ให้ดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมคนใหม่ ในขณะที่ครอบครัวของเขาถูกกล่าวหาเรื่องการฉ้อราษฎร์บังหลวง เช่น การฉ้อโกงทางวิชาการและอาชญากรรมทางการเงินของครอบครัว ซึ่งก่อนหน้านี้ได้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิงสองคนการโกนหัวเพื่อเป็นการประท้วงในเรื่องเดียวกัน[[#_ftn2|[2]]] นอกจากนี้แล้วการโกนหัวประท้วงยังขยายไปถึงการแสดงความไม่พอใจ<br/> การดำเนินนโยบายของประเทศอื่น ๆ ที่กระทบต่อความเป็นอยู่ของคนในชาติ ดังเช่น กรณีที่นักศึกษาในเกาหลีใต้มากกว่า 30 คน ชุมนุมประท้วงหน้าสถานทูตญี่ปุ่นในกรุงโซลของเกาหลีใต้เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2021 เพื่อโกนศรีษะและห่อหุ้มตัวเองด้วยแผ่นกระดาษขนาดใหญ่ที่มีข้อความประณามแผนการของรัฐบาลญี่ปุ่นที่จะปล่อยน้ำจากโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่เมืองฟุกุชิมะ ลงสู่ทะเลและเรียกร้องให้ยกเลิกแผนการนี้[[#_ftn3|[3]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อย่างไรก็ดี กรณีของการโกนหัวประท้วงที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นทางการเมืองที่สำคัญเกิดขึ้นในเดือนกันยายน ค.ศ. 2019 เมื่อ นายฮวาง เกียว อัน (Hwang Kyo ahn) ผู้นำฝ่ายค้านของประเทศเกาหลีใต้ได้โกนหัวตัวเองต่อหน้าผู้สนับสนุนและนักข่าวนอกทำเนียบประธานาธิบดี เพื่อประท้วงการแต่งตั้งให้ นายโชว์ กุก&nbsp;(Cho Kuk) ซึ่งเป็นอดีตอาจารย์กฎหมายและผู้ช่วยประธานาธิบดี ให้ดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมคนใหม่ ในขณะที่ครอบครัวของเขาถูกกล่าวหาเรื่องการฉ้อราษฎร์บังหลวง เช่น การฉ้อโกงทางวิชาการและอาชญากรรมทางการเงินของครอบครัว ซึ่งก่อนหน้านี้ได้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิงสองคนการโกนหัวเพื่อเป็นการประท้วงในเรื่องเดียวกัน[[#_ftn2|[2]]] นอกจากนี้แล้วการโกนหัวประท้วงยังขยายไปถึงการแสดงความไม่พอใจการดำเนินนโยบายของประเทศอื่น ๆ ที่กระทบต่อความเป็นอยู่ของคนในชาติ ดังเช่น กรณีที่นักศึกษาในเกาหลีใต้มากกว่า 30 คน ชุมนุมประท้วงหน้าสถานทูตญี่ปุ่นในกรุงโซลของเกาหลีใต้เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2021 เพื่อโกนศรีษะและห่อหุ้มตัวเองด้วยแผ่นกระดาษขนาดใหญ่ที่มีข้อความประณามแผนการของรัฐบาลญี่ปุ่นที่จะปล่อยน้ำจากโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่เมืองฟุกุชิมะ ลงสู่ทะเลและเรียกร้องให้ยกเลิกแผนการนี้[[#_ftn3|[3]]]


&nbsp;
&nbsp;
 
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' นักศึกษาเกาหลีใต้โกนหัวประท้วง หลังญี่ปุ่นประกาศจะปล่อยน้ำปนเปื้อนสารพิษนิวเคลียร์จากโรงไฟฟ้าฟูกูชิมา ลงทะเล[[#_ftn4|[4]]]</p>
'''ภาพ''' นักศึกษาเกาหลีใต้โกนหัวประท้วง หลังญี่ปุ่นประกาศจะปล่อยน้ำปนเปื้อนสารพิษนิวเคลียร์จากโรงไฟฟ้าฟูกูชิมา ลงทะเล[[#_ftn4|[4]]]
 
{| align="center" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="height: 200px; width: 800px;"
{| align="center" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="height: 200px; width: 800px;"
|-
|-
บรรทัดที่ 24: บรรทัดที่ 20:
|}
|}
<p style="text-align: center;">&nbsp;</p>  
<p style="text-align: center;">&nbsp;</p>  
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นอกจากนี้การโกนผมยังถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้หญิงใช้เป็นทางหนึ่งของการเคลื่อนไหวเรียกร้องในฐานะการสละความงามเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม ตัวอย่าง กรณีของ '''เอ็มมา กอนซาเลซ (Emma González)''' นักเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปกฏหมายควบคุมอาวุธชาวอเมริกันที่เป็นผู้รอดชีวิตจากการกราดยิงในโรงเรียนมัธยมที่เธอเรียนเมื่อ ปี 2018 ที่รัฐฟลอริดา ได้นำเสนอภาพลักษณ์ผ่านการใช้ทรงผมสกินเฮดตามแนวทางของ '''โรส&nbsp;แมคโกแวน (Rose McGowan)''' นักแสดงหญิงที่โกนหัวเพื่อประท้วงและให้โลกหันมามองเธอให้ตระหนักถึงการข่มขืนและล่วงละเมิดทางเพศในวงการหนังฮอลลีวูดของสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงกรณีของกลุ่มภรรยาทนายความและนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชนชาวจีน จำนวน 4 คน ได้โกนผมประท้วงที่นครปักกิ่ง หลังสามีของพวกเธอถูกจับกุมและดำเนินคดีในข้อหาบ่อนทำลายรัฐบาลใน ปี ค.ศ. 2015 เนื่องจากประธานาธิบดี '''สี จิ้นผิง''' ได้ดำเนินนโยบายกวาดล้างฝ่ายตรงข้าม ซึ่งในระหว่างที่สามีของพวกเธอถูกควบคุมตัวพวกเธอไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าพบ และแม้ว่าได้มีความพยายามในการเดินทางไปยื่นเอกสารที่ศาลให้ปล่อยตัวหลายครั้ง แต่ก็ไม่ได้รับการตอบรับและถูกเลือกปฏิบัติมาหลายปี ทั้งการที่ผู้พิพากษาเลื่อนเวลาพิจารณาคดีออกไป รวมทั้งการไม่ให้เลือกทนายเอง เป็นต้น [[#_ftn5|[5]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นอกจากนี้การโกนผมยังถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้หญิงใช้เป็นทางหนึ่งของการเคลื่อนไหวเรียกร้องในฐานะการสละความงามเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม ตัวอย่าง กรณีของ เอ็มมา กอนซาเลซ (Emma González) นักเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปกฏหมายควบคุมอาวุธชาวอเมริกันที่เป็นผู้รอดชีวิตจากการกราดยิงในโรงเรียนมัธยมที่เธอเรียนเมื่อ ปี 2018 ที่รัฐฟลอริดา ได้นำเสนอภาพลักษณ์ผ่านการใช้ทรงผมสกินเฮดตามแนวทางของ โรส&nbsp;แมคโกแวน (Rose McGowan) นักแสดงหญิงที่โกนหัวเพื่อประท้วงและให้โลกหันมามองเธอให้ตระหนักถึงการข่มขืนและล่วงละเมิดทางเพศในวงการหนังฮอลลีวูดของสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงกรณีของกลุ่มภรรยาทนายความและนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชนชาวจีน จำนวน 4 คน ได้โกนผมประท้วงที่นครปักกิ่ง หลังสามีของพวกเธอถูกจับกุมและดำเนินคดีในข้อหาบ่อนทำลายรัฐบาลใน ปี ค.ศ. 2015 เนื่องจากประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ดำเนินนโยบายกวาดล้างฝ่ายตรงข้าม ซึ่งในระหว่างที่สามีของพวกเธอถูกควบคุมตัวพวกเธอไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าพบ และแม้ว่าได้มีความพยายามในการเดินทางไปยื่นเอกสารที่ศาลให้ปล่อยตัวหลายครั้ง แต่ก็ไม่ได้รับการตอบรับและถูกเลือกปฏิบัติมาหลายปี ทั้งการที่ผู้พิพากษาเลื่อนเวลาพิจารณาคดีออกไป รวมทั้งการไม่ให้เลือกทนายเอง เป็นต้น [[#_ftn5|[5]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในกรณีของไทยนั้น การโกนหัวประท้วงเป็นการแสดงออกทางการเมืองที่เกิดขึ้นอยู่เป็นระยะ อาทิ&nbsp;ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 ประธานเครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ โกนผมเพื่อแสดงออกให้รัฐบาลเห็นความเจ็บปวดจากการที่รัฐบาลประกาศชะลอการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... รวมทั้งยังเป็นการไว้อาลัยให้แก่แพทยสภากับกลุ่มแพทย์ที่ค้านร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ที่ไม่ทำหน้าที่เป็นที่พึ่งและให้ความเป็นธรรมแก่ผู้เสียหาย ทั้งยังขัดขวางการสร้างความเป็นธรรมให้แก่ของประชาชนอย่างไร้เมตตาและมนุษยธรรม[[#_ftn6|[6]]] นอกจากนี้ยังมีกรณีที่ชาวบางกลอยในป่าแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ได้มาชุมนุมหน้าทำเนียบรัฐบาลในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิกลับบ้านหลังถูกขับออกจากพื้นที่ที่อยู่อาศัยมากว่า 100 ปี ด้วยการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ด้วยการโกนหัวและล่ามโซ่ เป็นสื่อสารถึงการที่ประชาชนถูกกระทำจากรัฐ [[#_ftn7|[7]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในกรณีของไทยนั้น การโกนหัวประท้วงเป็นการแสดงออกทางการเมืองที่เกิดขึ้นอยู่เป็นระยะ อาทิ&nbsp;ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 ประธานเครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ โกนผมเพื่อแสดงออกให้รัฐบาลเห็นความเจ็บปวดจากการที่รัฐบาลประกาศชะลอการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... รวมทั้งยังเป็นการไว้อาลัยให้แก่แพทยสภากับกลุ่มแพทย์ที่ค้านร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ที่ไม่ทำหน้าที่เป็นที่พึ่งและให้ความเป็นธรรมแก่ผู้เสียหาย ทั้งยังขัดขวางการสร้างความเป็นธรรมให้แก่ของประชาชนอย่างไร้เมตตาและมนุษยธรรม[[#_ftn6|[6]]] นอกจากนี้ยังมีกรณีที่ชาวบางกลอยในป่าแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ได้มาชุมนุมหน้าทำเนียบรัฐบาลในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิกลับบ้านหลังถูกขับออกจากพื้นที่ที่อยู่อาศัยมากว่า 100 ปี ด้วยการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ด้วยการโกนหัวและล่ามโซ่ เป็นสื่อสารถึงการที่ประชาชนถูกกระทำจากรัฐ [[#_ftn7|[7]]]


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ดี หนึ่งในการเคลื่อนไหวทางการเมืองโดยการโกนหัวที่ส่งผลต่อการรับรู้และสร้างกระแสความสนใจในสังคมอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การโกนหัวประท้วงของ '''นางสุรีย์รัตน์ ชิวารักษ์''' มารดาของ'''นาย พริษฐ์ชิวารักษ์''' หรือ'''เพนกวิน''' แกนนำกลุ่มราษฎร เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2564 ที่หน้าศาลอาญา ถนนรัชดา&nbsp;ภายหลังศาลมีคำสั่งไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวนายพริษฐ์ ซึ่งถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดีทั้งที่ยังไม่ถูกตัดสินว่ามีความผิด การโกนผมประท้วงครั้งนี้จึงเป็นการเรียกร้องให้ทุกคนจงร่วมกันต่อสู้เพื่อความยุติธรรม ขจัดความอยุติธรรมออกไปจากสังคมและอย่าให้มีใครต้องสูญเสียหรือเจ็บปวดเหมือนครอบครัวของตนอีก[[#_ftn8|[8]]] ซึ่งความเคลื่อนไหวในครั้งนี้ได้รับการตอบรับและสนับสนุนจากนักวิชาการและภาคประชาชนในการร่วมโกนหัวเพื่อสื่อสารว่าให้การสนับสนุนแนวทางการต่อสู้และจะเดินไปด้วยกันในเส้นทางการต่อสู้ครั้งนี้[[#_ftn9|[9]]] เป็นต้น
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ดี หนึ่งในการเคลื่อนไหวทางการเมืองโดยการโกนหัวที่ส่งผลต่อการรับรู้และสร้างกระแสความสนใจในสังคมอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การโกนหัวประท้วงของ นางสุรีย์รัตน์ ชิวารักษ์ มารดาของนาย พริษฐ์ชิวารักษ์ หรือเพนกวิน แกนนำกลุ่มราษฎร เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2564 ที่หน้าศาลอาญา ถนนรัชดา&nbsp;ภายหลังศาลมีคำสั่งไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวนายพริษฐ์ ซึ่งถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดีทั้งที่ยังไม่ถูกตัดสินว่ามีความผิด การโกนผมประท้วงครั้งนี้จึงเป็นการเรียกร้องให้ทุกคนจงร่วมกันต่อสู้เพื่อความยุติธรรม ขจัดความอยุติธรรมออกไปจากสังคมและอย่าให้มีใครต้องสูญเสียหรือเจ็บปวดเหมือนครอบครัวของตนอีก[[#_ftn8|[8]]] ซึ่งความเคลื่อนไหวในครั้งนี้ได้รับการตอบรับและสนับสนุนจากนักวิชาการและภาคประชาชนในการร่วมโกนหัวเพื่อสื่อสารว่าให้การสนับสนุนแนวทางการต่อสู้และจะเดินไปด้วยกันในเส้นทางการต่อสู้ครั้งนี้[[#_ftn9|[9]]] เป็นต้น


&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 52: บรรทัดที่ 48:
[[#_ftnref9|[9]]] “‘โกนผม’เพื่อเคียงข้างนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยสมบูรณ์”, สืบค้นจาก&nbsp; [https://theisaanrecord.co/2021/05/08/shave-heads-in-protest-injustice/(28 https://theisaanrecord.co/2021/05/08/shave-heads-in-protest-injustice/(28] กรกฎาคม 2564) และ “ประชาชนโกนผมเป็นเพื่อน 'แม่เพนกวิน' เพื่อไทย-สสส. เรียกร้องศาลคืนสิทธิประกันตัว”, สืบค้นจาก&nbsp; [https://prachatai.com/journal/2021/05/92823(28 https://prachatai.com/journal/2021/05/92823(28] กรกฎาคม 2564).
[[#_ftnref9|[9]]] “‘โกนผม’เพื่อเคียงข้างนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยสมบูรณ์”, สืบค้นจาก&nbsp; [https://theisaanrecord.co/2021/05/08/shave-heads-in-protest-injustice/(28 https://theisaanrecord.co/2021/05/08/shave-heads-in-protest-injustice/(28] กรกฎาคม 2564) และ “ประชาชนโกนผมเป็นเพื่อน 'แม่เพนกวิน' เพื่อไทย-สสส. เรียกร้องศาลคืนสิทธิประกันตัว”, สืบค้นจาก&nbsp; [https://prachatai.com/journal/2021/05/92823(28 https://prachatai.com/journal/2021/05/92823(28] กรกฎาคม 2564).
</div> </div>  
</div> </div>  
[[Category:ว่าด้วยเหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]] [[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]]
&nbsp;
 
[[Category:ว่าด้วยเหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]] [[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]] [[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:38, 15 มีนาคม 2566

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ

 

          การโกนผม ถือเป็นหนึ่งในวิถีสากลที่ใช้ในการประท้วงและในบางวัฒนธรรมยังถือว่าการโกนผมถูกใช้ในการประกอบพิธีทางศาสนาหรือแม้แต่ถูกใช้เป็นวิธีการในการลงโทษ อีกทั้งในหลายวัฒนธรรมถือว่าศีรษะ เส้นผม หรือแม้แต่หวีถูกถือว่าเป็น “ของสูง” ที่ต้องให้ความเคารพ และเส้นผมถูกทำให้มีความหมายมากกว่าความสวยงาม และศีรษะก็เป็นหนึ่งในอวัยวะที่สำคัญที่สุดของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นด้านกายภาพ สังคม หรือความเชื่อทางศาสนา[1]

          ในประเทศเกาหลีใต้ การโกนหัวเพื่อประท้วงและแสดงจุดยืนทางการเมืองถือเป็นประเพณีการปฏิบัติที่มีมายาวนาน อันมีรากฐานมาจากคำสอนของลัทธิขงจื๊อแบบดั้งเดิม ในการแสดงออกถึงความมุ่งมั่นต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ด้านการต่อสู้ทางการเมืองในประวัติศาสตร์ของเกาหลีใต้ ในช่วงทศวรรษที่ 1960-1970 เมื่อเกาหลีใต้อยู่ภายใต้การปกครองแบบเผด็จการทหาร ผู้ไม่เห็นด้วยมักจะโกนศีรษะต่อหน้าสาธารณชนเพื่อแสดงการต่อต้าน ซึ่งวิธีการนี้ยังคงสืบเนื่องต่อมาในกลุ่มนักเคลื่อนไหวและนักการเมืองเพื่อใช้ในการประท้วง ดังกรณีตัวอย่างใน ปี ค.ศ. 2017 ชาวเมืองอินชอนจำนวนหลายร้อยคนได้โกนหัวประท้วงแผนการสร้างนิคมอุตสาหกรรมแห่งใหม่ในพื้นที่ และต่อมาใน ปี ค.ศ. 2018 มีผู้หญิงจำนวนมากร่วมโกนหัวในการเดินขบวนต่อต้านการติดตั้งกล้องสอดแนมที่ถูกวางไว้ในห้องน้ำและห้องเปลี่ยนเสื้อผ้าเพื่อแอบถ่ายผู้หญิงซึ่งมีจำนวนมากขึ้นซึ่งถือเป็นความไม่ปลอดภัย และการละเมิดความเป็นส่วนตัวอย่างรุนแรง

          อย่างไรก็ดี กรณีของการโกนหัวประท้วงที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นทางการเมืองที่สำคัญเกิดขึ้นในเดือนกันยายน ค.ศ. 2019 เมื่อ นายฮวาง เกียว อัน (Hwang Kyo ahn) ผู้นำฝ่ายค้านของประเทศเกาหลีใต้ได้โกนหัวตัวเองต่อหน้าผู้สนับสนุนและนักข่าวนอกทำเนียบประธานาธิบดี เพื่อประท้วงการแต่งตั้งให้ นายโชว์ กุก (Cho Kuk) ซึ่งเป็นอดีตอาจารย์กฎหมายและผู้ช่วยประธานาธิบดี ให้ดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมคนใหม่ ในขณะที่ครอบครัวของเขาถูกกล่าวหาเรื่องการฉ้อราษฎร์บังหลวง เช่น การฉ้อโกงทางวิชาการและอาชญากรรมทางการเงินของครอบครัว ซึ่งก่อนหน้านี้ได้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิงสองคนการโกนหัวเพื่อเป็นการประท้วงในเรื่องเดียวกัน[2] นอกจากนี้แล้วการโกนหัวประท้วงยังขยายไปถึงการแสดงความไม่พอใจการดำเนินนโยบายของประเทศอื่น ๆ ที่กระทบต่อความเป็นอยู่ของคนในชาติ ดังเช่น กรณีที่นักศึกษาในเกาหลีใต้มากกว่า 30 คน ชุมนุมประท้วงหน้าสถานทูตญี่ปุ่นในกรุงโซลของเกาหลีใต้เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2021 เพื่อโกนศรีษะและห่อหุ้มตัวเองด้วยแผ่นกระดาษขนาดใหญ่ที่มีข้อความประณามแผนการของรัฐบาลญี่ปุ่นที่จะปล่อยน้ำจากโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่เมืองฟุกุชิมะ ลงสู่ทะเลและเรียกร้องให้ยกเลิกแผนการนี้[3]

 

ภาพ นักศึกษาเกาหลีใต้โกนหัวประท้วง หลังญี่ปุ่นประกาศจะปล่อยน้ำปนเปื้อนสารพิษนิวเคลียร์จากโรงไฟฟ้าฟูกูชิมา ลงทะเล[4]

Protest shaving (1).png
Protest shaving (1).png
Protest shaving (2).png
Protest shaving (2).png

 

          นอกจากนี้การโกนผมยังถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้หญิงใช้เป็นทางหนึ่งของการเคลื่อนไหวเรียกร้องในฐานะการสละความงามเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม ตัวอย่าง กรณีของ เอ็มมา กอนซาเลซ (Emma González) นักเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปกฏหมายควบคุมอาวุธชาวอเมริกันที่เป็นผู้รอดชีวิตจากการกราดยิงในโรงเรียนมัธยมที่เธอเรียนเมื่อ ปี 2018 ที่รัฐฟลอริดา ได้นำเสนอภาพลักษณ์ผ่านการใช้ทรงผมสกินเฮดตามแนวทางของ โรส แมคโกแวน (Rose McGowan) นักแสดงหญิงที่โกนหัวเพื่อประท้วงและให้โลกหันมามองเธอให้ตระหนักถึงการข่มขืนและล่วงละเมิดทางเพศในวงการหนังฮอลลีวูดของสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงกรณีของกลุ่มภรรยาทนายความและนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชนชาวจีน จำนวน 4 คน ได้โกนผมประท้วงที่นครปักกิ่ง หลังสามีของพวกเธอถูกจับกุมและดำเนินคดีในข้อหาบ่อนทำลายรัฐบาลใน ปี ค.ศ. 2015 เนื่องจากประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ได้ดำเนินนโยบายกวาดล้างฝ่ายตรงข้าม ซึ่งในระหว่างที่สามีของพวกเธอถูกควบคุมตัวพวกเธอไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าพบ และแม้ว่าได้มีความพยายามในการเดินทางไปยื่นเอกสารที่ศาลให้ปล่อยตัวหลายครั้ง แต่ก็ไม่ได้รับการตอบรับและถูกเลือกปฏิบัติมาหลายปี ทั้งการที่ผู้พิพากษาเลื่อนเวลาพิจารณาคดีออกไป รวมทั้งการไม่ให้เลือกทนายเอง เป็นต้น [5]

          ในกรณีของไทยนั้น การโกนหัวประท้วงเป็นการแสดงออกทางการเมืองที่เกิดขึ้นอยู่เป็นระยะ อาทิ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 ประธานเครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ โกนผมเพื่อแสดงออกให้รัฐบาลเห็นความเจ็บปวดจากการที่รัฐบาลประกาศชะลอการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... รวมทั้งยังเป็นการไว้อาลัยให้แก่แพทยสภากับกลุ่มแพทย์ที่ค้านร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ที่ไม่ทำหน้าที่เป็นที่พึ่งและให้ความเป็นธรรมแก่ผู้เสียหาย ทั้งยังขัดขวางการสร้างความเป็นธรรมให้แก่ของประชาชนอย่างไร้เมตตาและมนุษยธรรม[6] นอกจากนี้ยังมีกรณีที่ชาวบางกลอยในป่าแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ได้มาชุมนุมหน้าทำเนียบรัฐบาลในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิกลับบ้านหลังถูกขับออกจากพื้นที่ที่อยู่อาศัยมากว่า 100 ปี ด้วยการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ด้วยการโกนหัวและล่ามโซ่ เป็นสื่อสารถึงการที่ประชาชนถูกกระทำจากรัฐ [7]

          อย่างไรก็ดี หนึ่งในการเคลื่อนไหวทางการเมืองโดยการโกนหัวที่ส่งผลต่อการรับรู้และสร้างกระแสความสนใจในสังคมอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การโกนหัวประท้วงของ นางสุรีย์รัตน์ ชิวารักษ์ มารดาของนาย พริษฐ์ชิวารักษ์ หรือเพนกวิน แกนนำกลุ่มราษฎร เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2564 ที่หน้าศาลอาญา ถนนรัชดา ภายหลังศาลมีคำสั่งไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวนายพริษฐ์ ซึ่งถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดีทั้งที่ยังไม่ถูกตัดสินว่ามีความผิด การโกนผมประท้วงครั้งนี้จึงเป็นการเรียกร้องให้ทุกคนจงร่วมกันต่อสู้เพื่อความยุติธรรม ขจัดความอยุติธรรมออกไปจากสังคมและอย่าให้มีใครต้องสูญเสียหรือเจ็บปวดเหมือนครอบครัวของตนอีก[8] ซึ่งความเคลื่อนไหวในครั้งนี้ได้รับการตอบรับและสนับสนุนจากนักวิชาการและภาคประชาชนในการร่วมโกนหัวเพื่อสื่อสารว่าให้การสนับสนุนแนวทางการต่อสู้และจะเดินไปด้วยกันในเส้นทางการต่อสู้ครั้งนี้[9] เป็นต้น

 

อ้างอิง

[1] “นิติ ภวัครพันธุ์ ‘โกนหัว’ เดิมพันศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์”, สืบค้นจาก https://waymagazine.org/shaving-head-punishment (28 กรกฎาคม 2564).

[2] “Why are South Korean politicians shaving their heads?”, Retrieved from URL https://www.bbc.com/news/world-asia-49723871 (28 July 2021).

[3] “นักศึกษาเกาหลีใต้โกนหัวประท้วงญี่ปุ่น”, สืบค้นจาก  https://tna.mcot.net/world-679258 (28 กรกฎาคม 2564).

[4] “S.Korean students shave heads in protest over Japan's nuclear waste water plan”, Retrieved from URL https://www. reuters.com/business/environment/skorean-students-shave-heads-protest-over-japans-nuclear-waste-water-plan-2021-04-20/ (28 July 2021).

[5] “‘เมื่อผู้หญิงโกนหัวประท้วง’ การงอกเงยของความงามใหม่ และการสร้างความหมายของสกินเฮด”, สืบค้นจาก  https://thematter.co/ thinkers/skinhead-against-injustice/142015 (28 กรกฎาคม 2564) และ “Chinese activists shave heads to protest persecution of partners”, Retrieved from URL https://www.abc.net.au/news/2018-12-17/chinese-activists-shave-heads-to-protest-persecution-of-partners/10629078(28 July 2021).

[6] “เครือข่ายผู้เสียหายฯ โกนหัวประท้วงรัฐบาลชะลอ พ.ร.บ.คุ้มครองฯ”, สืบค้นจาก https://www.ryt9.com/s/iq01/1006560 (28 กรกฎาคม 2564).

[7] “ชาวบางกลอยโกนหัวประท้วงเรียกร้องสิทธิกลับบ้าน หลังถูกขับออกพื้นที่ที่อยู่อาศัยมากว่า 100 ปี ”, สืบค้นจาก https://news.ch7. com/detail/473243 (28 กรกฎาคม 2564).

[8] “แม่เพนกวินโกนผมประท้วงหน้าศาลอาญา เปิดใจ “แม่คนนี้จะพยายามช่วยลูกให้มากที่สุดเท่าที่แม่จะทำได้”, สืบค้นจาก  https:// thestandard.co/?p=482465 (28 กรกฎาคม 2564).

[9] “‘โกนผม’เพื่อเคียงข้างนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยสมบูรณ์”, สืบค้นจาก  https://theisaanrecord.co/2021/05/08/shave-heads-in-protest-injustice/(28 กรกฎาคม 2564) และ “ประชาชนโกนผมเป็นเพื่อน 'แม่เพนกวิน' เพื่อไทย-สสส. เรียกร้องศาลคืนสิทธิประกันตัว”, สืบค้นจาก  https://prachatai.com/journal/2021/05/92823(28 กรกฎาคม 2564).