ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สตรีกับการเมือง (ไทย)"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 2: | บรรทัดที่ 2: | ||
'''ผู้เรียบเรียง :''' รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธพร อิสรชัย | '''ผู้เรียบเรียง :''' รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธพร อิสรชัย | ||
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ''':''' รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | ||
| | ||
บรรทัดที่ 14: | บรรทัดที่ 14: | ||
หลังการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองจากสมบูรญาณาสิทธิราชเป็นระบอบประชาธิปไตยใน พ.ศ. 2475 ความคิดเชิงประชาธิปไตยและเสรีนิยมได้นำไปสู่การปรับเปลี่ยนบทบาทและสถานภาพของผู้หญิงมากขึ้น ในรัฐธรรมนูญฉบับแรกก็ได้กำหนดให้คนไทยทั้งชายและหญิงมีสิทธิในการลงสมัครรับเลือกตั้งและลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง จากการศึกษาของ โคทม อารียา และคณะ[[#_ftn2|[2]]] พบว่าสตรีไทยมีการรวมกลุ่มเพื่อเรียกร้องสิทธิทางการเมืองเรื่อยมาตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2475 โดยเน้นการเรียกร้องสิทธิในทางการเมืองที่เท่าเทียมกันของหญิงและชาย แม้ว่าในช่วงเวลาด้งกล่าวแนวคิดเรื่องนี้ยังคงเป็นแนวคิดใหม่โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย รูปธรรม ประการหนึ่งคือการที่บทเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 ที่ระบุให้แก้ไขกฎหมายอื่น ๆ ที่ขัดต่อความเท่าเทียมกันของชายและหญิงในทางการเมือง และการบริหารราชการ นอกจากนี้ การเรียกร้องสิทธิสตรีอีกประการที่ถือได้ว่ามีนัยสำคัญอย่างมากต่อบทบาทและสถานะของสตรี นั่นคือการเรียกร้องสิทธิทางการศึกษาโดยให้สตรีมีโอกาสเลือกเรียนวิชาสามัญเช่นเดียวกับชาย ผลที่ตามมาก็คือการที่สตรีมีความรู้ด้านวิชาชีพสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานเพื่อทำงานได้อย่างเท่าเทียมกับบุรุษ อย่างไรก็ตาม สัดส่วนการมีส่วนร่วมทางการเมืองของผู้หญิงในประเทศไทย ยังล้าหลังกว่าประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว[[#_ftn3|[3]]] | หลังการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองจากสมบูรญาณาสิทธิราชเป็นระบอบประชาธิปไตยใน พ.ศ. 2475 ความคิดเชิงประชาธิปไตยและเสรีนิยมได้นำไปสู่การปรับเปลี่ยนบทบาทและสถานภาพของผู้หญิงมากขึ้น ในรัฐธรรมนูญฉบับแรกก็ได้กำหนดให้คนไทยทั้งชายและหญิงมีสิทธิในการลงสมัครรับเลือกตั้งและลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง จากการศึกษาของ โคทม อารียา และคณะ[[#_ftn2|[2]]] พบว่าสตรีไทยมีการรวมกลุ่มเพื่อเรียกร้องสิทธิทางการเมืองเรื่อยมาตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2475 โดยเน้นการเรียกร้องสิทธิในทางการเมืองที่เท่าเทียมกันของหญิงและชาย แม้ว่าในช่วงเวลาด้งกล่าวแนวคิดเรื่องนี้ยังคงเป็นแนวคิดใหม่โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย รูปธรรม ประการหนึ่งคือการที่บทเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 ที่ระบุให้แก้ไขกฎหมายอื่น ๆ ที่ขัดต่อความเท่าเทียมกันของชายและหญิงในทางการเมือง และการบริหารราชการ นอกจากนี้ การเรียกร้องสิทธิสตรีอีกประการที่ถือได้ว่ามีนัยสำคัญอย่างมากต่อบทบาทและสถานะของสตรี นั่นคือการเรียกร้องสิทธิทางการศึกษาโดยให้สตรีมีโอกาสเลือกเรียนวิชาสามัญเช่นเดียวกับชาย ผลที่ตามมาก็คือการที่สตรีมีความรู้ด้านวิชาชีพสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานเพื่อทำงานได้อย่างเท่าเทียมกับบุรุษ อย่างไรก็ตาม สัดส่วนการมีส่วนร่วมทางการเมืองของผู้หญิงในประเทศไทย ยังล้าหลังกว่าประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว[[#_ftn3|[3]]] | ||
ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาผู้หญิงไทยแสดงให้เห็นว่าสถานภาพของผู้หญิงในทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง นับว่ามีความก้าวหน้ากว่าในอดีต และเป็นที่น่าสังเกตว่าปัจจุบัน การรวมตัวทางการเมืองของกลุ่มผู้หญิงเริ่มมีความหลากหลายจากในอดีตที่จำกัดวงอยู่เฉพาะผู้หญิงระดับสูงและผู้หญิงที่มีการศึกษา มาสู่การรวมกลุ่มของผู้หญิงในทุก ๆ ระดับ ซึ่งรวมถึงผู้หญิงกลุ่มอาชีพต่าง ๆ โดยเฉพาะการที่กลุ่มผู้หญิงได้มีโอกาสเข้าดำรงตำแหน่งผู้นำระดับชุมชนท้องถิ่น ทั้งในรูปของผู้สมัครเป็นกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และสมาชิกสภาท้องถิ่น[[#_ftn4|[4]]] | ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาผู้หญิงไทยแสดงให้เห็นว่าสถานภาพของผู้หญิงในทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง นับว่ามีความก้าวหน้ากว่าในอดีต และเป็นที่น่าสังเกตว่าปัจจุบัน การรวมตัวทางการเมืองของกลุ่มผู้หญิงเริ่มมีความหลากหลายจากในอดีตที่จำกัดวงอยู่เฉพาะผู้หญิงระดับสูงและผู้หญิงที่มีการศึกษา มาสู่การรวมกลุ่มของผู้หญิงในทุก ๆ ระดับ ซึ่งรวมถึงผู้หญิงกลุ่มอาชีพต่าง ๆ โดยเฉพาะการที่กลุ่มผู้หญิงได้มีโอกาสเข้าดำรงตำแหน่งผู้นำระดับชุมชนท้องถิ่น ทั้งในรูปของผู้สมัครเป็นกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และสมาชิกสภาท้องถิ่น[[#_ftn4|[4]]] หรือผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และตำแหน่งในรัฐบาลชุดต่าง ๆ | ||
| | ||
บรรทัดที่ 20: | บรรทัดที่ 20: | ||
<span style="font-size:x-large;">'''สตรีกับการเมืองไทย'''</span> | <span style="font-size:x-large;">'''สตรีกับการเมืองไทย'''</span> | ||
| แม้ประเทศไทยจะมีจำนวนผู้หญิงในสถาบันการเมืองระดับชาติไม่เคยถึง ร้อยละ 30 นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นต้นมา แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าความตื่นตัวทางการเมืองของผู้หญิงในสังคมไทยจะน้อยไปด้วย ในทางกลับกันพบว่ามีผู้หญิงจำนวนมากเข้าร่วมขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชน เพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมในการจัดการปัญหาในชุมชนและการจัดสรรทรัพยากร เช่นกรณีป่าไม้ ที่ดิน ปัญหาผลกระทบจากโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ของรัฐ ความมั่นคงในชีวิตและอนาคตของชุมชน จะเห็นได้ว่าในบางขบวนการของการเมืองภาคประชาชนมีผู้หญิงเข้าร่วมมากกว่า ร้อยละ 50 และประเด็นการเรียกร้องของผู้หญิงก็มีพัฒนาการตั้งแต่ การเรียกร้องเพื่อให้แก้ปัญหาเป็นรายประเด็น การมีส่วนร่วมในกิจการของรัฐจนถึง พ.ศ. 2563 มีการชูประเด็นความเป็นธรรมทางเพศบนฐานคิดสตรีนิยม (Feminist) ซึ่งมีทั้งเรื่องสิทธิของกลุ่มหลากหลายทางเพศ การขจัดความรุนแรงทางเพศ รวมถึงการแก้กฎหมายและการจัดสวัสดิการรัฐที่ต้องคำนึงถึงความจำเป็นที่แต่ละเพศควรได้รับความเอาใจใส่ ควบคู่ไปกับการเรียกร้องประชาธิปไตยอย่างไม่เคยปรากฎมาก่อน | ||
สะท้อนให้เห็นว่า ความเข้าใจต่อคุณค่าและแนวคิดเรื่องประชาธิปไตยของสังคมมีพัฒนาการที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ไม่ได้มองว่าประเด็นเพศสภาพนั้นแยกต่างหากจากประชาธิปไตย เพราะหากไม่สามารถเปลี่ยนฐานคิดปิตาธิปไตยที่แบ่งแยกบทบาทชายหญิงในพื้นที่การเมือง ไม่ว่าจะเรียกร้องประเด็นใดโดยเฉพาะ ผู้หญิงก็คงไม่สามารถเข้าไปสู่ตำแหน่งทางการเมืองในสัดส่วนที่มีนัยสำคัญได้ เพราะผู้ชายยังผูกขาดพื้นที่ทางการเมือง ในระดับตัดสินใจทั้งในระบบพรรคการเมืองและระบบรัฐสภา[[#_ftn5|[5]]] | สะท้อนให้เห็นว่า ความเข้าใจต่อคุณค่าและแนวคิดเรื่องประชาธิปไตยของสังคมมีพัฒนาการที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ไม่ได้มองว่าประเด็นเพศสภาพนั้นแยกต่างหากจากประชาธิปไตย เพราะหากไม่สามารถเปลี่ยนฐานคิดปิตาธิปไตยที่แบ่งแยกบทบาทชายหญิงในพื้นที่การเมือง ไม่ว่าจะเรียกร้องประเด็นใดโดยเฉพาะ ผู้หญิงก็คงไม่สามารถเข้าไปสู่ตำแหน่งทางการเมืองในสัดส่วนที่มีนัยสำคัญได้ เพราะผู้ชายยังผูกขาดพื้นที่ทางการเมือง ในระดับตัดสินใจทั้งในระบบพรรคการเมืองและระบบรัฐสภา[[#_ftn5|[5]]] | ||
| ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์ ชี้ให้เห็นข้อมูลสถิติที่น่าสนใจคือ ผู้หญิงไทยมีบทบาทในทางธุรกิจและองค์กรธุรกิจในฐานะผู้บริหารจำนวนเพิ่มมากขึ้น แต่ในขณะที่สถิติของผู้หญิงในรัฐสภากลับมีจำนวนลดลง พื้นที่ทางธุรกิจและพื้นที่ทางการเมืองมีข้อจำกัดและเงื่อนไขที่แตกต่างกัน ข้อมูลจาก Techsauce ชี้ให้เห็นว่ากว่า ร้อยละ 37 ของผู้หญิงในประเทศไทย อยู่ในตำแหน่งผู้นำในโลกธุรกิจ เปรียบเทียบกับทั่วโลกที่โดยเฉลี่ยมีเพียง ร้อยละ 24 เท่านั้น โดย ร้อยละ 40 ของผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้หญิง และ ร้อยละ 34 ของเจ้าหน้าที่สตรีได้ขึ้นมาอยู่แนวหน้าในแวดวงการเงิน[[#_ftn6|[6]]] | ||
สำหรับการเมืองในระบบรัฐสภาของประเทศไทยนั้น หากมองย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์จะพบว่า แม้ผู้หญิงมีสิทธิการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนับตั้งแต่ พ.ศ. 2475 พร้อมกับผู้ชาย หากแต่พัฒนาการของบทบาทผู้หญิงในทางการเมืองระดับชาติหรือการได้มีโอกาสเข้าไปสู่รัฐสภาเป็นไปอย่างล่าช้าประเด็นสำคัญคือ ตัวเลขที่ปรากฏในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เมื่อมีการใช้ระบบการเลือกตั้งแบบสัดส่วนผสม คือ การมีระบบเขตเดียวเบอร์เดียวและระบบปาร์ตี้ลิสต์ โดยเฉพาะการศึกษาหลายงานพบว่าระบบปาร์ตี้ลิสต์ในหลายประเทศเป็นระบบที่ส่งเสริมให้ผู้หญิงได้เข้าไปนั่งในสภาได้มากขึ้น ดังนั้น ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 และ 2550 ซึ่งมีระบบการเลือกตั้งแบบปาร์ตี้ลิสต์ด้วยจึงเห็นจำนวนของผู้หญิงได้มีโอกาสได้เข้าไปนั่งในสภามากขึ้น[[#_ftn7|[7]]] | สำหรับการเมืองในระบบรัฐสภาของประเทศไทยนั้น หากมองย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์จะพบว่า แม้ผู้หญิงมีสิทธิการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนับตั้งแต่ พ.ศ. 2475 พร้อมกับผู้ชาย หากแต่พัฒนาการของบทบาทผู้หญิงในทางการเมืองระดับชาติหรือการได้มีโอกาสเข้าไปสู่รัฐสภาเป็นไปอย่างล่าช้าประเด็นสำคัญคือ ตัวเลขที่ปรากฏในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เมื่อมีการใช้ระบบการเลือกตั้งแบบสัดส่วนผสม คือ การมีระบบเขตเดียวเบอร์เดียวและระบบปาร์ตี้ลิสต์ โดยเฉพาะการศึกษาหลายงานพบว่าระบบปาร์ตี้ลิสต์ในหลายประเทศเป็นระบบที่ส่งเสริมให้ผู้หญิงได้เข้าไปนั่งในสภาได้มากขึ้น ดังนั้น ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 และ 2550 ซึ่งมีระบบการเลือกตั้งแบบปาร์ตี้ลิสต์ด้วยจึงเห็นจำนวนของผู้หญิงได้มีโอกาสได้เข้าไปนั่งในสภามากขึ้น[[#_ftn7|[7]]] | ||
การเลือกตั้งใน พ.ศ. 2544 ด้วยระบบการเลือกตั้งแบบผสม จากข้อมูลของคณะกรรมการการเลือกตั้ง พบว่า ส.ส. ระบบบัญชีรายชื่อซึ่งมีจำนวน 100 คน มีผู้สมัครเพศชายจำนวน 792 คน ในขณะที่ผู้สมัครผู้หญิงในระบบบัญชีรายชื่อทั้งหมดมี 148 คน ในส่วนของระบบเลือกตั้งแบบเขตเดียวเบอร์เดียว มีจำนวน ส.ส. 400 ที่นั่ง พบว่าผู้สมัครเพศหญิงจำนวน 352 คน | การเลือกตั้งใน พ.ศ. 2544 ด้วยระบบการเลือกตั้งแบบผสม จากข้อมูลของคณะกรรมการการเลือกตั้ง พบว่า ส.ส. ระบบบัญชีรายชื่อซึ่งมีจำนวน 100 คน มีผู้สมัครเพศชายจำนวน 792 คน ในขณะที่ผู้สมัครผู้หญิงในระบบบัญชีรายชื่อทั้งหมดมี 148 คน ในส่วนของระบบเลือกตั้งแบบเขตเดียวเบอร์เดียว มีจำนวน ส.ส. 400 ที่นั่ง พบว่าผู้สมัครเพศหญิงจำนวน 352 คน คิดเป็น ร้อยละ 12.65 เมื่อเทียบกับเพศชายที่สมัครรับเลือกตั้งจำนวน 2,430 คน คิดเป็น ร้อยละ 87.35 ผู้ได้รับเลือกตั้งที่เป็นผู้หญิงได้รับเลือกตั้งจำนวนทั้งหมด 46 คน โดยแบ่งเป็นระบบบัญชีรายชื่อ 7 คน และแบบแบ่งเขตจำนวน 39 คน[[#_ftn8|[8]]] การเลือกตั้งใน พ.ศ. 2548 ผู้หญิงได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส. ในระบบบัญชีรายชื่อจำนวน 6 คน จากจำนวนบัญชีรายชื่อ 100 คน และจากแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง 400 เขต จำนวน 47 คน จากจำนวนที่นั่ง 400 คน[[#_ftn9|[9]]] | ||
ผลการเลือกตั้งวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ชี้ให้เห็นถึงข้อมูลที่ผู้หญิงลงสมัครมากขึ้นแต่ได้รับเลือกตั้งน้อยลง โดยมีผู้สมัครที่เป็นผู้หญิงได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส. ทั้งหมด 76 คน จากทุกพรรค | ผลการเลือกตั้งวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ชี้ให้เห็นถึงข้อมูลที่ผู้หญิงลงสมัครมากขึ้นแต่ได้รับเลือกตั้งน้อยลง โดยมีผู้สมัครที่เป็นผู้หญิงได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส. ทั้งหมด 76 คน จากทุกพรรค คำนวณได้เป็น ร้อยละ 14 ซึ่งถือว่าน้อยกว่าหลายประเทศในโลก[[#_ftn10|[10]]] | ||
ตัวเลขข้างต้นสอดคล้องกับสถาบันพระปกเกล้าที่ชี้ให้เห็นสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับประเด็นเรื่อง '''“บทบาทของผู้หญิงในทางการเมือง”''' กล่าวคือ สังคมยังมีทัศนคติโน้มเอียงในเรื่องมิติหญิงชาย และความเท่าเทียมกันทางเพศ และเนื่องจากทัศนคติ โน้มเอียงจึงทำให้เกิดการปิดกั้นโอกาสของผู้หญิงในการเข้าสู่กระบวนการทางการเมือง การขาดสภาพบังคับใช้อย่างจริงจัง เนื่องจากในบทบัญญัติทางกฎหมายระบุเพียงว่า '''“คำนึงถึง”''' จึงทำให้ไม่เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรมในเชิงสัดส่วนที่ชัดเจน เช่น ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 การรักษาและพัฒนาสถานภาพทางการเมืองของนักการเมืองหญิงยังต้องมีผู้สนับสนุนทางการเมือง อันประกอบด้วยการสนับสนุนจากครอบครัว เช่น พ่อ แม่ สามี ลูก ญาติ ในการสร้างความเชื่อมั่นขวัญกำลังใจ แบ่งเบาภาระและความรับผิดชอบบางส่วนของผู้หญิง การสนับสนุนจากผู้สนับสนุนในพื้นที่ เช่น ชุมชน กลุ่มเพื่อนบ้าน ในการเป็นฐานเลียงที่ดีในการเลือกตั้ง และเป็นหน่วยสนับสนุนข้อมูลต่าง ๆ อันเป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน การสนับสนุนจากผู้สนับสนุนทางการเมืองระดับสูง เช่น หัวหน้าพรรคการเมือง ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับต่าง ๆ การสนับสนุนจากเพื่อนนักการเมือง เนื่องจากการทำงาน การเมือง จะต้องอาศัยความร่วมมือ ความกลมเกลียว ความผูกพัน และการเกื้อกูลกันระหว่างเพื่อนนักการเมืองในการทำงานการเมือง[[#_ftn11|[11]]] | ตัวเลขข้างต้นสอดคล้องกับสถาบันพระปกเกล้าที่ชี้ให้เห็นสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับประเด็นเรื่อง '''“บทบาทของผู้หญิงในทางการเมือง”''' กล่าวคือ สังคมยังมีทัศนคติโน้มเอียงในเรื่องมิติหญิงชาย และความเท่าเทียมกันทางเพศ และเนื่องจากทัศนคติ โน้มเอียงจึงทำให้เกิดการปิดกั้นโอกาสของผู้หญิงในการเข้าสู่กระบวนการทางการเมือง การขาดสภาพบังคับใช้อย่างจริงจัง เนื่องจากในบทบัญญัติทางกฎหมายระบุเพียงว่า '''“คำนึงถึง”''' จึงทำให้ไม่เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรมในเชิงสัดส่วนที่ชัดเจน เช่น ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 การรักษาและพัฒนาสถานภาพทางการเมืองของนักการเมืองหญิงยังต้องมีผู้สนับสนุนทางการเมือง อันประกอบด้วยการสนับสนุนจากครอบครัว เช่น พ่อ แม่ สามี ลูก ญาติ ในการสร้างความเชื่อมั่นขวัญกำลังใจ แบ่งเบาภาระและความรับผิดชอบบางส่วนของผู้หญิง การสนับสนุนจากผู้สนับสนุนในพื้นที่ เช่น ชุมชน กลุ่มเพื่อนบ้าน ในการเป็นฐานเลียงที่ดีในการเลือกตั้ง และเป็นหน่วยสนับสนุนข้อมูลต่าง ๆ อันเป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน การสนับสนุนจากผู้สนับสนุนทางการเมืองระดับสูง เช่น หัวหน้าพรรคการเมือง ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับต่าง ๆ การสนับสนุนจากเพื่อนนักการเมือง เนื่องจากการทำงาน การเมือง จะต้องอาศัยความร่วมมือ ความกลมเกลียว ความผูกพัน และการเกื้อกูลกันระหว่างเพื่อนนักการเมืองในการทำงานการเมือง[[#_ftn11|[11]]] | ||
ผู้หญิงไทยในบริบทการเมืองกล่าวได้ว่ามีข้อจำกัดทั้งโครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรม รวมทั้งระบบการเลือกตั้ง ดังนั้น ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์ | ผู้หญิงไทยในบริบทการเมืองกล่าวได้ว่ามีข้อจำกัดทั้งโครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรม รวมทั้งระบบการเลือกตั้ง ดังนั้น ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์ ได้เสนอระบบโควตาผู้หญิง (Gender Quota System) ซึ่งเป็นข้อเสนอที่นำไปสู่การเพิ่มพื้นที่ทางการเมืองของผู้หญิงในสภาผู้แทนราษฎรเป็นการสร้างพื้นที่ของโอกาสการแสดงบทบาททางการเมืองของผู้หญิงในระบบรัฐสภา ซึ่งพรรคการเมืองเป็นกลไกหลักของจุดเริ่มต้นในกระบวนการส่งเสริมบทบาทผู้หญิงในการเลือกตั้งซึ่งมีส่วนในการกล่อมเกลาความคิดความความเข้าใจและส่งเสริมค่านิยมของความเสมอภาคทางเพศเกี่ยวกับบทบาทผู้หญิงในการเมืองไทยและเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญที่ทำให้กระบวนการสร้างประชาธิปไตยในพรรคการเมืองและค่านิยมความเสมอภาคและเท่าเทียมปรากฏเติบโตขึ้นในสังคมไทยต่อไป[[#_ftn12|[12]]] | ||
<div> | <div> | ||
| | ||
บรรทัดที่ 42: | บรรทัดที่ 42: | ||
[[#_ftnref1|[1]]] ขวัญฤทัย จ่างจำรัส, 2541. “มองบทบาทผู้หญิงไทยบนเส้นทางการเมืองผ่านสายตาผู้นำองค์กรพัฒนาสตรี.” (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง), หน้า 11-12. | [[#_ftnref1|[1]]] ขวัญฤทัย จ่างจำรัส, 2541. “มองบทบาทผู้หญิงไทยบนเส้นทางการเมืองผ่านสายตาผู้นำองค์กรพัฒนาสตรี.” (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง), หน้า 11-12. | ||
</div> <div id="ftn2"> | </div> <div id="ftn2"> | ||
[[#_ftnref2|[2]]] โคทม อารียา และคณะ, 2540. | [[#_ftnref2|[2]]] โคทม อารียา และคณะ, 2540. การมีส่วนร่วมในทางการเมีองของสตรี. ม.ป.ท.: คณะอนุกรรมการการมีส่วนรวมในทางสังคมและการเมือง สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานสตรีแห่งชาติ. อ้างถึงใน พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ, 2551. “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรีในระดับการปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย.” วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน. 15(1), หน้า 177-178. | ||
</div> <div id="ftn3"> | </div> <div id="ftn3"> | ||
[[#_ftnref3|[3]]] ถวิลวดี บุรีกุล, 2544. ผู้หญิงไทยกับการเมืองหลังการมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540. นนทบุรี: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า. อ้างถึงใน พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ, อ้างแล้ว, หน้า 178. | [[#_ftnref3|[3]]] ถวิลวดี บุรีกุล, 2544. ผู้หญิงไทยกับการเมืองหลังการมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540. นนทบุรี: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า. อ้างถึงใน พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ, อ้างแล้ว, หน้า 178. | ||
บรรทัดที่ 50: | บรรทัดที่ 50: | ||
[[#_ftnref5|[5]]] ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ, 2564. “ผู้หญิงกับการเมือง...กลไกการเมืองที่ต้องขยายและเปิดให้กว้างขึ้น.” สืบค้นเมื่อ 1 Sep 2021 จาก [https://www.posttoday.com/politic/columnist/647334 https://www.posttoday.com/politic/columnist/647334] | [[#_ftnref5|[5]]] ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ, 2564. “ผู้หญิงกับการเมือง...กลไกการเมืองที่ต้องขยายและเปิดให้กว้างขึ้น.” สืบค้นเมื่อ 1 Sep 2021 จาก [https://www.posttoday.com/politic/columnist/647334 https://www.posttoday.com/politic/columnist/647334] | ||
</div> <div id="ftn6"> | </div> <div id="ftn6"> | ||
[[#_ftnref6|[6]]] Techsauce, 2562. “หญิงไทยอยู่ตรงไหนในโลกการเมือง? ทำไมผู้หญิงถึงประสบความสำเร็จในโลกธุรกิจมากกว่า.” สืบค้นเมื่อ 7 June 2020 จาก [https://techsauce.co/saucy-thoughts/why-thai-women-are-so-successfulin-business-but-not-politics# https://techsauce.co/saucy-thoughts/why-thai-women-are-so-successfulin-business-but-not-politics#] อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, 2563. “เพดานแก้วกับบทบาททางการเมืองของผู้หญิงไทยในระบบการเลือกตั้ง." | [[#_ftnref6|[6]]] Techsauce, 2562. “หญิงไทยอยู่ตรงไหนในโลกการเมือง? ทำไมผู้หญิงถึงประสบความสำเร็จในโลกธุรกิจมากกว่า.” สืบค้นเมื่อ 7 June 2020 จาก [https://techsauce.co/saucy-thoughts/why-thai-women-are-so-successfulin-business-but-not-politics# https://techsauce.co/saucy-thoughts/why-thai-women-are-so-successfulin-business-but-not-politics#] อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, 2563. “เพดานแก้วกับบทบาททางการเมืองของผู้หญิงไทยในระบบการเลือกตั้ง." ''วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์,'' 11(ฉบับเพิ่มเติม), หน้า 35. | ||
</div> <div id="ftn7"> | </div> <div id="ftn7"> | ||
[[#_ftnref7|[7]]] Madsen, C., Preece, J, & Selway, J., 2019. “Thai Female Political Representation in the 2019 Elections.” Retrieved 15 May 2020, from [https://www.thaidatapoints.com/post/thai-election-pending-6 https://www.thaidatapoints.com/post/thai-election-pending-6] [[อ้างถึงใน_ไพลิน_ภู่จีนาพันธุ์_(ไทย)|อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์]], อ้างแล้ว, หน้า 39. | [[#_ftnref7|[7]]] Madsen, C., Preece, J, & Selway, J., 2019. “Thai Female Political Representation in the 2019 Elections.” Retrieved 15 May 2020, from [https://www.thaidatapoints.com/post/thai-election-pending-6 https://www.thaidatapoints.com/post/thai-election-pending-6] [[อ้างถึงใน_ไพลิน_ภู่จีนาพันธุ์_(ไทย)|อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์]], อ้างแล้ว, หน้า 39. | ||
</div> <div id="ftn8"> | </div> <div id="ftn8"> | ||
[[#_ftnref8|[8]]] สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2544. “ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544.” สืบค้นเมื่อ 10 May 2020 จากhttp://dl.parliament.go.th/handle/lirt/370906 อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, | [[#_ftnref8|[8]]] สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2544. “ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544.” สืบค้นเมื่อ 10 May 2020 จากhttp://dl.parliament.go.th/handle/lirt/370906 อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 39. | ||
</div> <div id="ftn9"> | </div> <div id="ftn9"> | ||
[[#_ftnref9|[9]]] สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2548. “ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ 2548.” สืบค้นเมื่อ 10 May 2020, จาก [http://dl.parliament.go.th/handle/lirt/426428 http://dl.parliament.go.th/handle/lirt/426428] อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 39. | [[#_ftnref9|[9]]] สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2548. “ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ 2548.” สืบค้นเมื่อ 10 May 2020, จาก [http://dl.parliament.go.th/handle/lirt/426428 http://dl.parliament.go.th/handle/lirt/426428] อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 39. | ||
บรรทัดที่ 60: | บรรทัดที่ 60: | ||
[[#_ftnref10|[10]]] ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 39. | [[#_ftnref10|[10]]] ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 39. | ||
</div> <div id="ftn11"> | </div> <div id="ftn11"> | ||
[[#_ftnref11|[11]]] สถาบันพระปกเกล้า, 2551. | [[#_ftnref11|[11]]] สถาบันพระปกเกล้า, 2551. สตรีกับการเมือง:ความเป็นจริง พื้นที่ทางการเมือง และการขับเคลื่อน. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, หน้า 61-64. | ||
</div> <div id="ftn12"> | </div> <div id="ftn12"> | ||
[[#_ftnref12|[12]]] ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 48. | [[#_ftnref12|[12]]] ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 48. | ||
</div> </div> | </div> </div> | ||
[[Category:การมีส่วนร่วมทางการเมือง]] | [[Category:การมีส่วนร่วมทางการเมือง]] [[Category:การเลือกตั้ง]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:47, 14 มีนาคม 2566
ผู้เรียบเรียง : รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธพร อิสรชัย
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
ในประเทศทางตะวันตกได้มีความตื่นตัวสนใจในเรื่องบทบาทสตรีในต้านต่าง ๆ เป็นอย่างมาก เช่น เรื่องการเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งมีในหลายระดับ ต่อมาเมื่อสังคมและวัฒนธรรมเปลี่ยนแปลงไป ได้มีการกระตุ้นให้ศึกษาสถานภาพและบทบาทของสตรีในทางการเมืองในสังคมต่าง ๆ ในปัจจุบันสตรีถือเป็นกลุ่มพลังทางการเมืองที่สำคัญเพิ่มมากขึ้น มีสาเหตุมาจากค่านิยมของสังคมในปัจจุบันที่เชื่อว่า อำนาจทางการเมืองควรที่จะกระจายไปสู่ประชาชนโดยไม่จำกัดเพศ ชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา ดังนั้นสตรีควรที่จะได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในทางการเมืองอย่างแท้จริง ซึ่งจะเป็นผลดีต่อการเปลี่ยนแปลงในสถานภาพและบทบาททางการเมืองของสตรี จากข้อเท็จจริงสำหรับสังคมไทยในปัจจุบัน เราจะเห็นได้ชัดว่า จำนวนสตรีที่เข้ามีส่วนร่วมในทางการเมืองโดยเฉพาะในระดับชาติ ซึ่งถือเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการผลักดันกฎหมายและนโยบายต่าง ๆ ที่จะก่อให้เกิดความเสมอภาคระหว่างชายหญิง ยังมีจำนวนค่อนข้างน้อย[1]
การมีส่วนรวมทางการเมืองของสตรีในประเทศไทย
หลังการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองจากสมบูรญาณาสิทธิราชเป็นระบอบประชาธิปไตยใน พ.ศ. 2475 ความคิดเชิงประชาธิปไตยและเสรีนิยมได้นำไปสู่การปรับเปลี่ยนบทบาทและสถานภาพของผู้หญิงมากขึ้น ในรัฐธรรมนูญฉบับแรกก็ได้กำหนดให้คนไทยทั้งชายและหญิงมีสิทธิในการลงสมัครรับเลือกตั้งและลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง จากการศึกษาของ โคทม อารียา และคณะ[2] พบว่าสตรีไทยมีการรวมกลุ่มเพื่อเรียกร้องสิทธิทางการเมืองเรื่อยมาตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2475 โดยเน้นการเรียกร้องสิทธิในทางการเมืองที่เท่าเทียมกันของหญิงและชาย แม้ว่าในช่วงเวลาด้งกล่าวแนวคิดเรื่องนี้ยังคงเป็นแนวคิดใหม่โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย รูปธรรม ประการหนึ่งคือการที่บทเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 ที่ระบุให้แก้ไขกฎหมายอื่น ๆ ที่ขัดต่อความเท่าเทียมกันของชายและหญิงในทางการเมือง และการบริหารราชการ นอกจากนี้ การเรียกร้องสิทธิสตรีอีกประการที่ถือได้ว่ามีนัยสำคัญอย่างมากต่อบทบาทและสถานะของสตรี นั่นคือการเรียกร้องสิทธิทางการศึกษาโดยให้สตรีมีโอกาสเลือกเรียนวิชาสามัญเช่นเดียวกับชาย ผลที่ตามมาก็คือการที่สตรีมีความรู้ด้านวิชาชีพสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานเพื่อทำงานได้อย่างเท่าเทียมกับบุรุษ อย่างไรก็ตาม สัดส่วนการมีส่วนร่วมทางการเมืองของผู้หญิงในประเทศไทย ยังล้าหลังกว่าประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว[3]
ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาผู้หญิงไทยแสดงให้เห็นว่าสถานภาพของผู้หญิงในทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง นับว่ามีความก้าวหน้ากว่าในอดีต และเป็นที่น่าสังเกตว่าปัจจุบัน การรวมตัวทางการเมืองของกลุ่มผู้หญิงเริ่มมีความหลากหลายจากในอดีตที่จำกัดวงอยู่เฉพาะผู้หญิงระดับสูงและผู้หญิงที่มีการศึกษา มาสู่การรวมกลุ่มของผู้หญิงในทุก ๆ ระดับ ซึ่งรวมถึงผู้หญิงกลุ่มอาชีพต่าง ๆ โดยเฉพาะการที่กลุ่มผู้หญิงได้มีโอกาสเข้าดำรงตำแหน่งผู้นำระดับชุมชนท้องถิ่น ทั้งในรูปของผู้สมัครเป็นกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และสมาชิกสภาท้องถิ่น[4] หรือผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และตำแหน่งในรัฐบาลชุดต่าง ๆ
สตรีกับการเมืองไทย
แม้ประเทศไทยจะมีจำนวนผู้หญิงในสถาบันการเมืองระดับชาติไม่เคยถึง ร้อยละ 30 นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นต้นมา แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าความตื่นตัวทางการเมืองของผู้หญิงในสังคมไทยจะน้อยไปด้วย ในทางกลับกันพบว่ามีผู้หญิงจำนวนมากเข้าร่วมขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชน เพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมในการจัดการปัญหาในชุมชนและการจัดสรรทรัพยากร เช่นกรณีป่าไม้ ที่ดิน ปัญหาผลกระทบจากโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ของรัฐ ความมั่นคงในชีวิตและอนาคตของชุมชน จะเห็นได้ว่าในบางขบวนการของการเมืองภาคประชาชนมีผู้หญิงเข้าร่วมมากกว่า ร้อยละ 50 และประเด็นการเรียกร้องของผู้หญิงก็มีพัฒนาการตั้งแต่ การเรียกร้องเพื่อให้แก้ปัญหาเป็นรายประเด็น การมีส่วนร่วมในกิจการของรัฐจนถึง พ.ศ. 2563 มีการชูประเด็นความเป็นธรรมทางเพศบนฐานคิดสตรีนิยม (Feminist) ซึ่งมีทั้งเรื่องสิทธิของกลุ่มหลากหลายทางเพศ การขจัดความรุนแรงทางเพศ รวมถึงการแก้กฎหมายและการจัดสวัสดิการรัฐที่ต้องคำนึงถึงความจำเป็นที่แต่ละเพศควรได้รับความเอาใจใส่ ควบคู่ไปกับการเรียกร้องประชาธิปไตยอย่างไม่เคยปรากฎมาก่อน
สะท้อนให้เห็นว่า ความเข้าใจต่อคุณค่าและแนวคิดเรื่องประชาธิปไตยของสังคมมีพัฒนาการที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ไม่ได้มองว่าประเด็นเพศสภาพนั้นแยกต่างหากจากประชาธิปไตย เพราะหากไม่สามารถเปลี่ยนฐานคิดปิตาธิปไตยที่แบ่งแยกบทบาทชายหญิงในพื้นที่การเมือง ไม่ว่าจะเรียกร้องประเด็นใดโดยเฉพาะ ผู้หญิงก็คงไม่สามารถเข้าไปสู่ตำแหน่งทางการเมืองในสัดส่วนที่มีนัยสำคัญได้ เพราะผู้ชายยังผูกขาดพื้นที่ทางการเมือง ในระดับตัดสินใจทั้งในระบบพรรคการเมืองและระบบรัฐสภา[5]
ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์ ชี้ให้เห็นข้อมูลสถิติที่น่าสนใจคือ ผู้หญิงไทยมีบทบาทในทางธุรกิจและองค์กรธุรกิจในฐานะผู้บริหารจำนวนเพิ่มมากขึ้น แต่ในขณะที่สถิติของผู้หญิงในรัฐสภากลับมีจำนวนลดลง พื้นที่ทางธุรกิจและพื้นที่ทางการเมืองมีข้อจำกัดและเงื่อนไขที่แตกต่างกัน ข้อมูลจาก Techsauce ชี้ให้เห็นว่ากว่า ร้อยละ 37 ของผู้หญิงในประเทศไทย อยู่ในตำแหน่งผู้นำในโลกธุรกิจ เปรียบเทียบกับทั่วโลกที่โดยเฉลี่ยมีเพียง ร้อยละ 24 เท่านั้น โดย ร้อยละ 40 ของผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้หญิง และ ร้อยละ 34 ของเจ้าหน้าที่สตรีได้ขึ้นมาอยู่แนวหน้าในแวดวงการเงิน[6]
สำหรับการเมืองในระบบรัฐสภาของประเทศไทยนั้น หากมองย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์จะพบว่า แม้ผู้หญิงมีสิทธิการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนับตั้งแต่ พ.ศ. 2475 พร้อมกับผู้ชาย หากแต่พัฒนาการของบทบาทผู้หญิงในทางการเมืองระดับชาติหรือการได้มีโอกาสเข้าไปสู่รัฐสภาเป็นไปอย่างล่าช้าประเด็นสำคัญคือ ตัวเลขที่ปรากฏในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เมื่อมีการใช้ระบบการเลือกตั้งแบบสัดส่วนผสม คือ การมีระบบเขตเดียวเบอร์เดียวและระบบปาร์ตี้ลิสต์ โดยเฉพาะการศึกษาหลายงานพบว่าระบบปาร์ตี้ลิสต์ในหลายประเทศเป็นระบบที่ส่งเสริมให้ผู้หญิงได้เข้าไปนั่งในสภาได้มากขึ้น ดังนั้น ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 และ 2550 ซึ่งมีระบบการเลือกตั้งแบบปาร์ตี้ลิสต์ด้วยจึงเห็นจำนวนของผู้หญิงได้มีโอกาสได้เข้าไปนั่งในสภามากขึ้น[7]
การเลือกตั้งใน พ.ศ. 2544 ด้วยระบบการเลือกตั้งแบบผสม จากข้อมูลของคณะกรรมการการเลือกตั้ง พบว่า ส.ส. ระบบบัญชีรายชื่อซึ่งมีจำนวน 100 คน มีผู้สมัครเพศชายจำนวน 792 คน ในขณะที่ผู้สมัครผู้หญิงในระบบบัญชีรายชื่อทั้งหมดมี 148 คน ในส่วนของระบบเลือกตั้งแบบเขตเดียวเบอร์เดียว มีจำนวน ส.ส. 400 ที่นั่ง พบว่าผู้สมัครเพศหญิงจำนวน 352 คน คิดเป็น ร้อยละ 12.65 เมื่อเทียบกับเพศชายที่สมัครรับเลือกตั้งจำนวน 2,430 คน คิดเป็น ร้อยละ 87.35 ผู้ได้รับเลือกตั้งที่เป็นผู้หญิงได้รับเลือกตั้งจำนวนทั้งหมด 46 คน โดยแบ่งเป็นระบบบัญชีรายชื่อ 7 คน และแบบแบ่งเขตจำนวน 39 คน[8] การเลือกตั้งใน พ.ศ. 2548 ผู้หญิงได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส. ในระบบบัญชีรายชื่อจำนวน 6 คน จากจำนวนบัญชีรายชื่อ 100 คน และจากแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง 400 เขต จำนวน 47 คน จากจำนวนที่นั่ง 400 คน[9]
ผลการเลือกตั้งวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ชี้ให้เห็นถึงข้อมูลที่ผู้หญิงลงสมัครมากขึ้นแต่ได้รับเลือกตั้งน้อยลง โดยมีผู้สมัครที่เป็นผู้หญิงได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส. ทั้งหมด 76 คน จากทุกพรรค คำนวณได้เป็น ร้อยละ 14 ซึ่งถือว่าน้อยกว่าหลายประเทศในโลก[10]
ตัวเลขข้างต้นสอดคล้องกับสถาบันพระปกเกล้าที่ชี้ให้เห็นสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับประเด็นเรื่อง “บทบาทของผู้หญิงในทางการเมือง” กล่าวคือ สังคมยังมีทัศนคติโน้มเอียงในเรื่องมิติหญิงชาย และความเท่าเทียมกันทางเพศ และเนื่องจากทัศนคติ โน้มเอียงจึงทำให้เกิดการปิดกั้นโอกาสของผู้หญิงในการเข้าสู่กระบวนการทางการเมือง การขาดสภาพบังคับใช้อย่างจริงจัง เนื่องจากในบทบัญญัติทางกฎหมายระบุเพียงว่า “คำนึงถึง” จึงทำให้ไม่เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรมในเชิงสัดส่วนที่ชัดเจน เช่น ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 การรักษาและพัฒนาสถานภาพทางการเมืองของนักการเมืองหญิงยังต้องมีผู้สนับสนุนทางการเมือง อันประกอบด้วยการสนับสนุนจากครอบครัว เช่น พ่อ แม่ สามี ลูก ญาติ ในการสร้างความเชื่อมั่นขวัญกำลังใจ แบ่งเบาภาระและความรับผิดชอบบางส่วนของผู้หญิง การสนับสนุนจากผู้สนับสนุนในพื้นที่ เช่น ชุมชน กลุ่มเพื่อนบ้าน ในการเป็นฐานเลียงที่ดีในการเลือกตั้ง และเป็นหน่วยสนับสนุนข้อมูลต่าง ๆ อันเป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน การสนับสนุนจากผู้สนับสนุนทางการเมืองระดับสูง เช่น หัวหน้าพรรคการเมือง ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับต่าง ๆ การสนับสนุนจากเพื่อนนักการเมือง เนื่องจากการทำงาน การเมือง จะต้องอาศัยความร่วมมือ ความกลมเกลียว ความผูกพัน และการเกื้อกูลกันระหว่างเพื่อนนักการเมืองในการทำงานการเมือง[11]
ผู้หญิงไทยในบริบทการเมืองกล่าวได้ว่ามีข้อจำกัดทั้งโครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรม รวมทั้งระบบการเลือกตั้ง ดังนั้น ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์ ได้เสนอระบบโควตาผู้หญิง (Gender Quota System) ซึ่งเป็นข้อเสนอที่นำไปสู่การเพิ่มพื้นที่ทางการเมืองของผู้หญิงในสภาผู้แทนราษฎรเป็นการสร้างพื้นที่ของโอกาสการแสดงบทบาททางการเมืองของผู้หญิงในระบบรัฐสภา ซึ่งพรรคการเมืองเป็นกลไกหลักของจุดเริ่มต้นในกระบวนการส่งเสริมบทบาทผู้หญิงในการเลือกตั้งซึ่งมีส่วนในการกล่อมเกลาความคิดความความเข้าใจและส่งเสริมค่านิยมของความเสมอภาคทางเพศเกี่ยวกับบทบาทผู้หญิงในการเมืองไทยและเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญที่ทำให้กระบวนการสร้างประชาธิปไตยในพรรคการเมืองและค่านิยมความเสมอภาคและเท่าเทียมปรากฏเติบโตขึ้นในสังคมไทยต่อไป[12]
อ้างอิง
[1] ขวัญฤทัย จ่างจำรัส, 2541. “มองบทบาทผู้หญิงไทยบนเส้นทางการเมืองผ่านสายตาผู้นำองค์กรพัฒนาสตรี.” (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง), หน้า 11-12.
[2] โคทม อารียา และคณะ, 2540. การมีส่วนร่วมในทางการเมีองของสตรี. ม.ป.ท.: คณะอนุกรรมการการมีส่วนรวมในทางสังคมและการเมือง สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานสตรีแห่งชาติ. อ้างถึงใน พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ, 2551. “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรีในระดับการปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย.” วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน. 15(1), หน้า 177-178.
[3] ถวิลวดี บุรีกุล, 2544. ผู้หญิงไทยกับการเมืองหลังการมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540. นนทบุรี: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า. อ้างถึงใน พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ, อ้างแล้ว, หน้า 178.
[4] โครงการสตรีศึกษา, 2541, หน้า 187. อ้างถึงใน ถวิลวดี บุรีกุล, 2544. อ้างถึงใน พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ, อ้างแล้ว, หน้า 178.
[5] ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ, 2564. “ผู้หญิงกับการเมือง...กลไกการเมืองที่ต้องขยายและเปิดให้กว้างขึ้น.” สืบค้นเมื่อ 1 Sep 2021 จาก https://www.posttoday.com/politic/columnist/647334
[6] Techsauce, 2562. “หญิงไทยอยู่ตรงไหนในโลกการเมือง? ทำไมผู้หญิงถึงประสบความสำเร็จในโลกธุรกิจมากกว่า.” สืบค้นเมื่อ 7 June 2020 จาก https://techsauce.co/saucy-thoughts/why-thai-women-are-so-successfulin-business-but-not-politics# อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, 2563. “เพดานแก้วกับบทบาททางการเมืองของผู้หญิงไทยในระบบการเลือกตั้ง." วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 11(ฉบับเพิ่มเติม), หน้า 35.
[7] Madsen, C., Preece, J, & Selway, J., 2019. “Thai Female Political Representation in the 2019 Elections.” Retrieved 15 May 2020, from https://www.thaidatapoints.com/post/thai-election-pending-6 อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 39.
[8] สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2544. “ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544.” สืบค้นเมื่อ 10 May 2020 จากhttp://dl.parliament.go.th/handle/lirt/370906 อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 39.
[9] สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2548. “ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ 2548.” สืบค้นเมื่อ 10 May 2020, จาก http://dl.parliament.go.th/handle/lirt/426428 อ้างถึงใน ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 39.
[10] ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 39.
[11] สถาบันพระปกเกล้า, 2551. สตรีกับการเมือง:ความเป็นจริง พื้นที่ทางการเมือง และการขับเคลื่อน. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, หน้า 61-64.
[12] ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, อ้างแล้ว, หน้า 48.