ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่แบบ:บทความล่าสุดหมวดหมู่รัฐธรรมนูญ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
สร้างหน้าใหม่: '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475''' เมื่อวันที่ 24 มิถ...
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475]]'''


เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรได้ทำการอภิวัตน์เปลี่ยนแปลงการปกครอง ประเทศสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบรัฐธรรมนูญ[1] คณะราษฎรจัดทำร่าง พ.ร.บ. ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม พ.ศ. 2475 ทูลเกล้าถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานลงมา ณ วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 พระองค์ทรงเติมคำว่า “ชั่วคราว” กำกับต่อท้ายพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม โดยมีพระราชกระแสรับสั่งแก่คณะราษฎรว่าให้ใช้ พ.ร.บ. ธรรมนูญฯ นี้เป็นการชั่วคราว แล้วให้เสนอสภาผู้แทนราษฎรเพื่อตั้งคณะอนุกรรมการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร (ปรีดี พนมยงค์ 2526 : 346) [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475|อ่านต่อ...]]
[[กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560|กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560]]
 
          เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้เข้ายึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ และได้มีการยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ยกเว้นในหมวด 2 พระมหากษัตริย์ โดยให้เหตุผลว่าได้มีการเกิดสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองขึ้นในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ใกล้เคียงต่อเนื่องเป็นเวลานาน จนลุกลามไปสู่แทบทุกภูมิภาคของประเทศ ประชาชนแตกแยกเป็นฝ่ายต่าง ๆ ขาดความสามัคคีและมีทัศนคติไม่เป็นมิตรต่อกัน จนนำไปสู่การใช้กำลัง ส่งผลกระทบต่อสวัสดิภาพและการดำรงชีวิตของประชาชน การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองการปกครองการใช้อำนาจในทางนิติบัญญัติ ในทางบริหาร และในทางตุลาการ การบังคับใช้กฎหมายไม่ได้ผล [[กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2560|อ่านต่อ...]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:48, 21 กุมภาพันธ์ 2563

กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

          เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้เข้ายึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ และได้มีการยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ยกเว้นในหมวด 2 พระมหากษัตริย์ โดยให้เหตุผลว่าได้มีการเกิดสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองขึ้นในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ใกล้เคียงต่อเนื่องเป็นเวลานาน จนลุกลามไปสู่แทบทุกภูมิภาคของประเทศ ประชาชนแตกแยกเป็นฝ่ายต่าง ๆ ขาดความสามัคคีและมีทัศนคติไม่เป็นมิตรต่อกัน จนนำไปสู่การใช้กำลัง ส่งผลกระทบต่อสวัสดิภาพและการดำรงชีวิตของประชาชน การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองการปกครองการใช้อำนาจในทางนิติบัญญัติ ในทางบริหาร และในทางตุลาการ การบังคับใช้กฎหมายไม่ได้ผล อ่านต่อ...