|
|
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) |
บรรทัดที่ 1: |
บรรทัดที่ 1: |
| <p><b>ผู้เรียบเรียง :</b> นายเอกวัฒน์ จิตสำรวย</p>
| |
|
| |
|
| <p><b>ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :</b> นายจเร พันธุ์เปรื่อง</p>
| | ผู้เรียบเรียง : นายเอกวัฒน์ จิตสำรวย |
|
| |
|
| <hr />
| | ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง |
| <p> </p>
| |
|
| |
|
| <p> </p>
| | ---- |
|
| |
|
| <h2>ความหมาย หลัก 6 ประการของคณะราษฎร</h2>
| | '''ความหมาย หลัก6 ประการของคณะราษฎร[[#_ftn1|'''[1]''']]''' |
|
| |
|
| <p>หลัก 6 ประการของ<a href="%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3">คณะราษฎร</a> คือ เนื้อหาส่วนหนึ่งตาม<a href="%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3">ประกาศคณะราษฎร</a> ถือเป็นนโยบายใน<a href="%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87">การเปลี่ยนแปลงการปกครอง</a>ของคณะราษฎรจาก<a href="%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%A2%E0%B9%8C">ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์</a>มาเป็น<a href="%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A2">ระบอบประชาธิปไตย</a>ของประเทศสยาม ซึ่งนำโดยนายทหารหัวก้าวหน้าและกลุ่มนักเรียนนอกกลุ่มหนึ่ง โดยคณะราษฎรไม่มีการแถลงนโยบาย<a href="%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99">การบริหารราชการแผ่นดิน</a>ต่อ<a href="%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3">สภาผู้แทนราษฎร</a> แต่ถือเอาหลัก 6 ประการของคณะราษฎรให้<a href="%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3">สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</a>ใช้ปฏิญาณตนต่อที่ประชุมก่อนเข้ารับหน้าที่ และถือเป็นนโยบายของ<a href="%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A5">รัฐบาล</a>ในการปฏิรูปประเทศด้วย</p>
| | หลัก 6 ประการของคณะราษฎร คือ เนื้อหาส่วนหนึ่งตาม[http://th.wikisource.org/wiki/ประกาศคณะราษฎร ประกาศคณะราษฎร ]ถือเป็นนโยบายในการเปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฎรจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็น[http://th.wikipedia.org/wiki/ระบอบประชาธิปไตย ระบอบประชาธิปไตย]ของ[http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศสยาม ประเทศสยาม] ซึ่งนำโดยนายทหารหัวก้าวหน้าและกลุ่มนักเรียนนอกกลุ่มหนึ่ง โดยคณะราษฎรไม่มีการแถลงนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทนราษฎร แต่ถือเอาหลัก 6 ประการของคณะราษฎรให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใช้ปฏิญาณตนต่อที่ประชุมก่อนเข้ารับหน้าที่ และถือเป็นนโยบายของรัฐบาลในการปฏิรูปประเทศด้วย |
|
| |
|
| <p> </p>
| | '''ความเป็นมาของหลัก 6 ประการ[[#_ftn2|'''[2]''']]''' |
|
| |
|
| <h2>ความเป็นมาของหลัก 6 ประการ</h2>
| | หลัก 6 ประการ มีที่มาจากการปฏิวัติโดยคณะราษฎร ในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เนื่องจากสาเหตุ <br/> ''' '''1. เศรษฐกิจตกต่ำ ในระหว่าง พ.ศ. 2472 - 2474 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก สินค้าไทยโดยเฉพาะข้าวราคาตกต่ำ เกิดภาวะขาดแคลนทั่วประเทศ ประกอบกับประเทศไทยมีรายจ่ายเกินกว่ารายได้ต่อเนื่องมาหลายปี ทำให้ฐานะการเงินการคลังของรัฐบาลอยู่ในสภาพคลอนแคลน ซึ่งรัฐบาลในสมัยรัชกาลที่ 7 พยายามแก้ไขสถานะการคลังหลายวิธี เช่น ลาออกจากองค์การมาตรฐานทองคำ กำหนดค่าเงินบาทขึ้นใหม่ แต่ที่สำคัญซึ่งได้รับความเดือดร้อนกันทั่วไป คือ การเพิ่มภาษีราษฎรและการปลดข้าราชการออก เพื่อรักษาดุลยภาพทางการเงิน ซึ่งสร้างความไม่พอใจให้แก่ข้าราชการเป็นอันมาก |
|
| |
|
| <p>หลัก 6 ประการ มีที่มาจากการปฏิวัติโดยคณะราษฎร ในวันที่ <a href="24%20%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99%202475">24 มิถุนายน 2475</a> เนื่องจากสาเหตุ</p>
| | ''' '''2. ความขัดแย้งระหว่างสามัญชนกับพระราชวงศ์ สามัญชนมีการศึกษาสูงขึ้นเนื่องจากจบจากต่างประเทศและกลับเข้ามารับราชการกันมาก แต่บรรดาเจ้านายพระราชวงศ์บางพระองค์ทรงไม่สามารถปรับพระองค์ได้ยังทรงถือเป็นข้าหรือบ่าวอยู่ตามเดิม ทำให้สามัญชนที่มีความรู้ความสามารถเกิดน้อยเนื้อต่ำใจ |
|
| |
|
| <p>1. เศรษฐกิจตกต่ำ ในระหว่าง พ.ศ. 2472 - 2474 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก สินค้าไทยโดยเฉพาะข้าวราคาตกต่ำ เกิดภาวะขาดแคลนทั่วประเทศ ประกอบกับประเทศไทยมีรายจ่ายเกินกว่ารายได้ต่อเนื่องมาหลายปี ทำให้ฐานะการเงินการคลังของรัฐบาลอยู่ในสภาพคลอนแคลน ซึ่งรัฐบาลในสมัย<a href="%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%207">รัชกาลที่ 7</a> พยายามแก้ไขสถานะการคลังหลายวิธี เช่น ลาออกจากองค์การมาตรฐานทองคำ กำหนดค่าเงินบาทขึ้นใหม่ แต่ที่สำคัญซึ่งได้รับความเดือดร้อนกันทั่วไป คือ การเพิ่มภาษีราษฎรและการปลดข้าราชการออก เพื่อรักษาดุลยภาพทางการเงิน ซึ่งสร้างความไม่พอใจให้แก่ข้าราชการเป็นอันมาก</p>
| | ''' '''3. แนวคิดที่ได้รับจากตะวันตก ข้าราชการที่ได้รับการศึกษาตามแบบตะวันตกต้องการให้มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย |
|
| |
|
| <p>2. <a href="%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%87">ความขัดแย้ง</a>ระหว่างสามัญชนกับพระราชวงศ์ สามัญชนมีการศึกษาสูงขึ้นเนื่องจากจบจากต่างประเทศและกลับเข้ามารับราชการกันมาก แต่บรรดาเจ้านายพระราชวงศ์บางพระองค์ทรงไม่สามารถปรับพระองค์ได้ยังทรงถือเป็นข้าหรือบ่าวอยู่ตามเดิม ทำให้สามัญชนที่มีความรู้ความสามารถเกิดน้อยเนื้อต่ำใจ</p>
| | ''' '''4. การประวิงเวลาพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันที่ 6 เมษายน 2475 การที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 มิอาจพระราชทานรัฐธรรมนูญในโอกาสสมโภชกรุงครบรอบ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 เพราะได้รับการทัดทานจากคณะอภิรัฐมนตรี เป็นการเร่งรัดให้มีการปฏิวัติโดยเร็วยิ่งขึ้น เพราะข้าราชการที่มีความคิดก้าวหน้าเห็นว่า หนทางที่จะได้รับพระราชทานรัฐธรรมนูญ โดยไม่ใช้กำลังบังคับนั้นไม่มีแล้ว |
|
| |
|
| <p>3. แนวคิดที่ได้รับจากตะวันตก ข้าราชการที่ได้รับการศึกษาตามแบบตะวันตกต้องการให้มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย</p>
| | การปฏิวัติริเริ่มโดยกลุ่มนักเรียนไทยในฝรั่งเศส ผู้เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสำคัญตั้งแต่ต้น ได้แก่ นายปรีดี พนมยงค์ กับ ร้อยโทแปลก ขีตตะสังคะ เมื่อบุคคลเหล่านี้กลับประเทศไทย ก็รวบรวมผู้คนซึ่งมีความคิดอย่างเดียวกัน โดยนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงประดิษฐ์มนูธรรม เป็นผู้ดำเนินการด้านพลเรือน และร้อยโทแปลก ขีตตะสังคะ ซึ่งได้เลื่อนยศมีบรรดาศักดิ์เป็นพันตรีหลวงพิบูลสงคราม เป็นผู้ดำเนินการ ด้านทหาร เมื่อรวบรวมผู้คนได้จำนวนมากพอสมควรจึงตั้งชื่อ คณะปฏิวัติว่า คณะราษฎร มีพันเอกพระยาพหล พลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นหัวหน้า พันเอกพระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) พันเอกพระยาฤทธิอาคเนย์ (สละ เอมะศิริ) และพันโทพระประสาทพิทยยุทธ (วัน ชูถิ่น) เป็นรองหัวหน้า การปฏิวัติเริ่มในตอนเช้าตรู่ของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ขณะที่รัชกาลที่ 7 ทรงแปรพระราชฐานไปประทับที่พระราชวังไกลกังวล หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยกลุ่มผู้ก่อการอ้างกับกองทหารต่างๆ ว่าเป็นการซ้อมรบยุทธวิธีอย่างใหม่ เมื่อมาถึงพร้อมกันจึงได้ประกาศว่าเป็นการปฏิวัติ หลังจากพระยาพหลพลพยุหเสนาอ่านประกาศแล้วจึงส่งกำลังเข้าควบคุมสถานที่สำคัญๆ ทางราชการในกรุงเทพฯ และแยกย้ายกันไปถวายอารักขา (ควบคุม) พระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงและบุคคลสำคัญเพื่อเป็นตัวประกันสำหรับต่อรอง เช่น จอมพลสมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ประธานอภิรัฐมนตรีสภา และเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เป็นต้น ขณะนั้นสมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรฯ ทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการพระนครอยู่พระองค์ท่านทรงตัดสินพระทัยไม่ใช้กำลังโต้ตอบคณะราษฎรให้เกิดการเสียเลือดเนื้อขึ้นและทรงยินยอมออกแถลงการณ์ให้ประชาชนอยู่ในความสงบ ระหว่างนั้น ทางฝ่ายคณะราษฎรได้ออกแถลงการณ์ชี้แจงจุดประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองให้ประชาชนทราบ และได้แถลงหลัก 6 ประการ อันเป็นนโยบายของคณะราษฎรที่จะนำมาใช้ในการปฏิรูปประเทศ ซึ่งประกอบด้วย |
|
| |
|
| <p>4. การประวิงเวลา<a href="%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D">พระราชทานรัฐธรรมนูญ</a>ในวันที่ <a href="6%20%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99%202475">6 เมษายน 2475</a> การที่<a href="%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7">พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว</a> <a href="%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%207">รัชกาลที่ 7</a> มิอาจพระราชทาน<a href="%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D">รัฐธรรมนูญ</a>ในโอกาสสมโภชกรุงครบรอบ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 เพราะได้รับการทัดทานจาก<a href="%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5">คณะอภิรัฐมนตรี</a> เป็นการเร่งรัดให้มีการปฏิวัติโดยเร็วยิ่งขึ้น เพราะข้าราชการที่มีความคิดก้าวหน้าเห็นว่า หนทางที่จะได้รับพระราชทานรัฐธรรมนูญ โดยไม่ใช้กำลังบังคับนั้นไม่มีแล้ว</p>
| | 1. หลักเอกราช <br/> 2. หลักความปลอดภัย<br/> 3. หลักเศรษฐกิจ |
|
| |
|
| <p><a href="%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4">การปฏิวัติ</a>ริเริ่มโดยกลุ่มนักเรียนไทยในฝรั่งเศส ผู้เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสำคัญตั้งแต่ต้น ได้แก่ <a href="%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B5%20%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C">นายปรีดี พนมยงค์</a> กับ ร้อยโท<a href="%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%81%20%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B0">แปลก ขีตตะสังคะ</a> เมื่อบุคคลเหล่านี้กลับประเทศไทย ก็รวบรวมผู้คนซึ่งมีความคิดอย่างเดียวกัน โดยนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น<a href="%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1">หลวงประดิษฐ์มนูธรรม</a> เป็นผู้ดำเนินการด้านพลเรือน และร้อยโทแปลก ขีตตะสังคะ ซึ่งได้เลื่อนยศมีบรรดาศักดิ์เป็น<a href="%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1">พันตรีหลวงพิบูลสงคราม</a> เป็นผู้ดำเนินการ ด้านทหาร เมื่อรวบรวมผู้คนได้จำนวนมากพอสมควรจึงตั้งชื่อ คณะปฏิวัติว่า คณะราษฎร มี<a href="%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%AB%E0%B8%A5%20%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2">พันเอกพระยาพหล พลพยุหเสนา</a> (<a href="%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B9%8C%20%E0%B8%9E%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%99">พจน์ พหลโยธิน</a>) เป็นหัวหน้า <a href="%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A">พันเอกพระยาทรงสุรเดช</a> (<a href="%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%20%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99">เทพ พันธุมเสน</a>) <a href="%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B9%8C">พันเอกพระยาฤทธิอาคเนย์</a> (<a href="%E0%B8%AA%E0%B8%A5%E0%B8%B0%20%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B4">สละ เอมะศิริ</a>) และ<a href="%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98">พันโทพระประสาทพิทยยุทธ</a> (<a href="%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%20%E0%B8%8A%E0%B8%B9%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99">วัน ชูถิ่น</a>) เป็นรองหัวหน้า การปฏิวัติเริ่มในตอนเช้าตรู่ของวันที่ <a href="24%20%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99%20%E0%B8%9E.%E0%B8%A8.%202475">24 มิถุนายน พ.ศ. 2475</a> ขณะที่รัชกาลที่ 7 ทรงแปรพระราชฐานไปประทับที่<a href="%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A5">พระราชวังไกลกังวล</a> หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยกลุ่มผู้ก่อการอ้างกับกองทหารต่างๆ ว่าเป็นการซ้อมรบยุทธวิธีอย่างใหม่ เมื่อมาถึงพร้อมกันจึงได้ประกาศว่าเป็นการปฏิวัติ หลังจากพระยาพหลพลพยุหเสนาอ่านประกาศแล้วจึงส่งกำลังเข้าควบคุมสถานที่สำคัญๆ ทางราชการในกรุงเทพฯ และแยกย้ายกันไปถวายอารักขา (ควบคุม) พระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงและบุคคลสำคัญเพื่อเป็นตัวประกันสำหรับต่อรอง เช่น <a href="%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C">จอมพลสมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์</a> <a href="%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95">กรมพระนครสวรรค์วรพินิต</a> <a href="%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2">ประธานอภิรัฐมนตรีสภา</a> และเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เป็นต้น ขณะนั้นสมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรฯ ทรงดำรงตำแหน่ง<a href="%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3">ผู้สำเร็จราชการพระนคร</a>อยู่พระองค์ท่านทรงตัดสินพระทัยไม่ใช้กำลังโต้ตอบคณะราษฎรให้เกิดการเสียเลือดเนื้อขึ้นและทรงยินยอมออกแถลงการณ์ให้ประชาชนอยู่ในความสงบ ระหว่างนั้น ทางฝ่ายคณะราษฎรได้ออกแถลงการณ์ชี้แจงจุดประสงค์ใน<a href="%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87">การเปลี่ยนแปลงการปกครอง</a>ให้ประชาชนทราบ และได้แถลงหลัก 6 ประการ อันเป็นนโยบายของคณะราษฎรที่จะนำมาใช้ในการปฏิรูปประเทศ ซึ่งประกอบด้วย</p>
| | 4. หลักเสมอภาค<br/> 5. หลักเสรีภาพ<br/> 6. หลักการศึกษา |
|
| |
|
| <p>1. <a href="%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A">หลักเอกราช</a></p>
| | ''สาระสำคัญของหลัก '''''6 ประการ[[#_ftn3|'''[3]''']]''' |
|
| |
|
| <p>2. <a href="%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2">หลักความปลอดภัย</a></p>
| | สาระสำคัญของหลัก 6 ประการของคณะราษฎร ประกอบด้วย |
|
| |
|
| <p>3. <a href="%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88">หลักเศรษฐกิจ</a></p>
| | 1. หลักเอกราช จะรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในทางการเมือง ในทางการศาล ในทางเศรษฐกิจของประเทศไว้ให้มั่นคง |
|
| |
|
| <p>4. <a href="%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84">หลักเสมอภาค</a></p>
| | 2. หลักความปลอดภัย จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก และสร้างความสามัคคีของคนในชาติ |
|
| |
|
| <p>5. <a href="%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E">หลักเสรีภาพ</a></p>
| | 3. หลักเศรษฐกิจ จะบำรุงความสุขสมบูรณ์ในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ราษฎรทุกคนทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก |
|
| |
|
| <p>6. <a href="%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2">หลักการศึกษา</a></p>
| | 4. หลักเสมอภาค จะให้ราษฎรมีสิทธิเสมอหน้ากัน ไม่ให้ผู้ใดมีสิทธิเหนือผู้อื่น |
|
| |
|
| <h2>สาระสำคัญของหลัก 6 ประการ</h2>
| | 5. หลักเสรีภาพ จะให้ราษฎรมีอิสระที่จะใช้สิทธิ ผู้ใดจะบังคับมิได้ |
|
| |
|
| <p>สาระสำคัญของหลัก 6 ประการของคณะราษฎร ประกอบด้วย</p>
| | 6. หลักการศึกษา จะให้การศึกษาแก่ราษฎรอย่างทั่วถึง |
|
| |
|
| <p>1. หลักเอกราช จะรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในทางการเมือง ในทางการ<a href="%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A5">ศาล</a> ในทางเศรษฐกิจของประเทศไว้ให้มั่นคง</p>
| | อย่างไรก็ตาม เบื้องหลัง หลัก 6 ประการของคณะราษฎรนั้น มีแนวคิดหรืออุดมคติที่คณะราษฎรได้ประชุมปรึกษาหารือซึ่งได้ข้อสรุปร่วมกันซึ่งมีนัยสำคัญแฝงอยู่ แต่มิได้แถลงให้ประชาชนทราบ มีใจความสำคัญคือ ต้องมีพระเจ้าแผ่นดินตลอดไป ต้องทำเพื่อประชาธิปไตย ต้องเคารพความเห็นซึ่งกันและกัน ต้องมีความเห็นอันเที่ยงตรง ต้องทำเพื่อมุ่งจรรโลงประเทศให้ก้าวหน้า ต้องไม่ทรยศต่อประเทศชาติ ต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต ต้องไม่เย่อหยิ่งลืมตัว ต้องมีความประพฤติดี และต้องรักษาหน้าที่โดยเด็ดขาดเที่ยงตรง[[#_ftn4|[4]]] |
|
| |
|
| <p>2. หลักความปลอดภัย จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก และสร้างความสามัคคีของคนในชาติ</p>
| | |
|
| |
|
| <p>3. หลักเศรษฐกิจ จะบำรุงความสุขสมบูรณ์ในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ราษฎรทุกคนทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก</p>
| | '''การนำมาปรับใช้เพื่อปฏิรูปประเทศของคณะราษฎร[[#_ftn5|'''[5]''']]''' |
|
| |
|
| <p>4. หลักเสมอภาค จะให้ราษฎรมีสิทธิเสมอหน้ากัน ไม่ให้ผู้ใดมีสิทธิเหนือผู้อื่น</p>
| | หลังจากที่คณะราษฎรได้ประกาศหลัก 6 ประการ เพื่อปรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิรูปประเทศ ทำให้หน้าประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองไทยในช่วงนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปหลายด้าน คือ |
|
| |
|
| <p>5. หลักเสรีภาพ จะให้ราษฎรมีอิสระที่จะใช้สิทธิ ผู้ใดจะบังคับมิได้</p>
| | 1. ด้านอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน โดยกำหนดให้ประชาชนมีการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร โดยสภาผู้แทน ราษฎรสามารถออกกฎหมายได้ เป็นต้น |
|
| |
|
| <p>6. หลักการศึกษา จะให้การศึกษาแก่ราษฎรอย่างทั่วถึง</p>
| | 2. ด้านเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง โดยกำหนดและส่งเสริมให้ประชาชนมีสิทธิเลือกตั้งและให้ประชาชนตั้งพรรคการเมืองได้เป็นครั้งแรก |
|
| |
|
| <p>อย่างไรก็ตาม เบื้องหลัง หลัก 6 ประการของคณะราษฎรนั้น มีแนวคิดหรืออุดมคติที่คณะราษฎรได้ประชุมปรึกษาหารือซึ่งได้ข้อสรุปร่วมกันซึ่งมีนัยสำคัญแฝงอยู่ แต่มิได้แถลงให้ประชาชนทราบ มีใจความสำคัญคือ ต้องมีพระเจ้าแผ่นดินตลอดไป ต้องทำเพื่อ<a href="%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A2">ประชาธิปไตย</a> ต้องเคารพความเห็นซึ่งกันและกัน ต้องมีความเห็นอันเที่ยงตรง ต้องทำเพื่อมุ่งจรรโลงประเทศให้ก้าวหน้า ต้องไม่ทรยศต่อประเทศชาติ ต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต ต้องไม่เย่อหยิ่งลืมตัว ต้องมีความประพฤติดี และต้องรักษาหน้าที่โดยเด็ดขาดเที่ยงตรง</p>
| | 3. ด้านวางรากฐานในเรื่องสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค มีการเผยแพร่อุดมการณ์ประชาธิปไตยแก่ประชาชนอย่างกว้างขวาง เช่น สร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย กำหนดให้มีพานวางรัฐธรรมนูญเพื่อให้ประชาชนทำความเคารพ ให้มีการท่องรัฐธรรมนูญในโรงเรียน ส่งเสริมการศึกษาแก่ประชาชนในวงกว้างซึ่งแต่เดิมการศึกษามักกระจุกแต่ในชนชั้นสูง โดยมีการตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น |
|
| |
|
| <p> </p>
| | 4. ด้านเศรษฐกิจ มีกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการยกเลิกภาษีอากรที่เก็บจากชาวไร่ชาวนา เช่นยกเลิกภาษีเกลือ ภาษีอากรสวน ภาษีต้นตาลโตนด ลดภาษีเก็บเงินอากรสวนใหญ่ ส่งเสริมการจัดตั้งสหกรณ์ มีการยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมกับต่างประเทศ เป็นต้น |
|
| |
|
| <h2>การนำมาปรับใช้เพื่อปฏิรูปประเทศของคณะราษฎร</h2>
| | |
|
| |
|
| <p>หลังจากที่คณะราษฎรได้ประกาศหลัก 6 ประการ เพื่อปรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิรูปประเทศ ทำให้หน้าประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองไทยในช่วงนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปหลายด้าน คือ</p>
| | '''หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ''' |
|
| |
|
| <p>1. ด้าน<a href="%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A2">อำนาจอธิปไตย</a> เป็นของประชาชน โดยกำหนดให้ประชาชนมี<a href="%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87">การเลือกตั้ง</a><a href="%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3">ผู้แทนราษฎร</a> โดย<a href="%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3">สภาผู้แทนราษฎร</a>สามารถออกกฎหมายได้ เป็นต้น</p>
| | ณรงค์ นุ่นทอง. '''พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการพัฒนาการเมืองไปสู่ระบบประชาธิป''''''ไตย'''. |
|
| |
|
| <p>2. ด้านเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง โดยกำหนดและส่งเสริมให้ประชาชนมีสิทธิเลือกตั้งและให้ประชาชนตั้ง<a href="%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87">พรรคการเมือง</a>ได้เป็นครั้งแรก</p>
| | เอกสารวิชาการส่วนบุคคล. สถาบันพระปกเกล้า, 2543. |
|
| |
|
| <p>3. ด้านวางรากฐานในเรื่อง<a href="%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E">สิทธิเสรีภาพ</a> <a href="%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84">ความเสมอภาค</a> มีการเผยแพร่อุดมการณ์ประชาธิปไตยแก่ประชาชนอย่างกว้างขวาง เช่น สร้าง<a href="%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A2">อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย</a> กำหนดให้มีพานวางรัฐธรรมนูญเพื่อให้ประชาชนทำความเคารพ ให้มีการท่องรัฐธรรมนูญในโรงเรียน ส่งเสริมการศึกษาแก่ประชาชนในวงกว้างซึ่งแต่เดิมการศึกษามักกระจุกแต่ในชนชั้นสูง โดยมีการตั้ง<a href="%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87">มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง</a>ขึ้น</p>
| | อาทร อยู่สมบูรณ์. '''คณะราษฎร์กับกระบวนการสร้างประชาธิปไตย'''. วิทยานิพนธ์คณะรัฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. |
|
| |
|
| <p>4. ด้านเศรษฐกิจ มีกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการยกเลิกภาษีอากรที่เก็บจากชาวไร่ชาวนา เช่นยกเลิกภาษีเกลือ ภาษีอากรสวน ภาษีต้นตาลโตนด ลดภาษีเก็บเงินอากรสวนใหญ่ ส่งเสริมการจัดตั้งสหกรณ์ มีการยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมกับต่างประเทศ เป็นต้น</p>
| | |
|
| |
|
| <p> </p>
| | '''บรรณานุกรม''' |
|
| |
|
| <h2>หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ</h2>
| | เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์. '''ปฏิวัติ ''''''2475. '''พระนคร : บริษัทผดุงพิทยา, 2514. |
|
| |
|
| <p>ณรงค์ นุ่นทอง. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการพัฒนาการเมืองไปสู่ระบบประชาธิปไตย.เอกสารวิชาการส่วนบุคคล. สถาบันพระปกเกล้า, 2543.</p>
| | อาทร อยู่สมบูรณ์. '''“คณะราษฎร์กับกระบวนการสร้างประชาธิปไตย”'''. วิทยานิพนธ์คณะรัฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. |
|
| |
|
| <p>อาทร อยู่สมบูรณ์. คณะราษฎร์กับกระบวนการสร้างประชาธิปไตย. วิทยานิพนธ์คณะรัฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.</p>
| | ประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ครูอังคณา ณ พิกุล. '''การเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ยุคหลัง เปลี่ยนแปลงการปกครอง '''(ออนไลน์). [http://www.thaigoodview.com/library/contest2553 http://www.thaigoodview.com/library/contest2553] /type2/social03/28/02con03.htm |
|
| |
|
| <p> </p>
| | มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. '''หลัก 6 ประการของคณะราษฎร์ '''(ออนไลน์). วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี [http://th.wikipedia.org http://th.wikipedia.org]/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_% E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8 %82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E 0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3 |
|
| |
|
| <h2>อ้างอิง</h2>
| | |
|
| |
|
| <h2>บรรณานุกรม</h2>
| | อ้างอิง |
| | | <div> |
| <p>เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์. ปฏิวัติ 2475. พระนคร : บริษัทผดุงพิทยา, 2514.</p>
| | ---- |
| | | <div id="ftn1"> |
| <p>อาทร อยู่สมบูรณ์. “คณะราษฎร์กับกระบวนการสร้างประชาธิปไตย”. วิทยานิพนธ์คณะรัฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.</p>
| | [1] มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. '''หลัก 6 ประการของคณะราษฎร์ '''(ออนไลน์). วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี [http://th.wikipedia.org http://th.wikipedia.org]/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3 (สืบค้นเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2557) |
| | | </div> <div id="ftn2"> |
| <p>ประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ครูอังคณา ณ พิกุล. การเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ยุคหลัง เปลี่ยนแปลงการปกครอง (ออนไลน์). <a alt="<a alt="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553" href="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553" title="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553">http://www.thaigoodview.com/library/contest2553</a>" href="<a alt="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553" href="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553" title="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553">http://www.thaigoodview.com/library/contest2553</a>" title="<a alt="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553" href="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553" title="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553">http://www.thaigoodview.com/library/contest2553</a>"><a alt="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553" href="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553" title="http://www.thaigoodview.com/library/contest2553">http://www.thaigoodview.com/library/contest2553</a></a> /type2/social03/28/02con03.htm</p> | | [2] ประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ครูอังคณา ณ พิกุล. '''การเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง '''(ออนไลน์). [http://www.thaigoodview.com/library/contest2553 http://www.thaigoodview.com/library/contest2553] /type2/social03/28/02con03.htm (สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2557) |
| | | </div> <div id="ftn3"> |
| <p>มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. หลัก 6 ประการของคณะราษฎร์ (ออนไลน์). วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี <a alt="<a alt="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%" href="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%" title="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%</a>" href="<a alt="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%" href="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%" title="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%</a>" title="<a alt="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%" href="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%" title="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%</a>"><a alt="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%" href="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%" title="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%</a></a> E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8</p>
| | [3] อาทร อยู่สมบูรณ์. '''คณะราษฎร์กับกระบวนการสร้างประชาธิปไตย'''. วิทยานิพนธ์คณะรัฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. หน้า 55 - 56 |
| | | </div> <div id="ftn4"> |
| <p>%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E 0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3</p>
| | [4] เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์. '''ปฏิวัติ ''''''2475'''. พระนคร : บริษัทผดุงพิทยา, 2514. หน้า 109 – 110. |
| | </div> <div id="ftn5"> |
| | [5] อ้างแล้วในเชิงอรรถที่ 3. หน้า 88 – 100. |
| | </div> </div> |
| | [[Category:รัฐสภา]] |
ผู้เรียบเรียง : นายเอกวัฒน์ จิตสำรวย
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง
ความหมาย หลัก6 ประการของคณะราษฎร[1]
หลัก 6 ประการของคณะราษฎร คือ เนื้อหาส่วนหนึ่งตามประกาศคณะราษฎร ถือเป็นนโยบายในการเปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฎรจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยของประเทศสยาม ซึ่งนำโดยนายทหารหัวก้าวหน้าและกลุ่มนักเรียนนอกกลุ่มหนึ่ง โดยคณะราษฎรไม่มีการแถลงนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทนราษฎร แต่ถือเอาหลัก 6 ประการของคณะราษฎรให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใช้ปฏิญาณตนต่อที่ประชุมก่อนเข้ารับหน้าที่ และถือเป็นนโยบายของรัฐบาลในการปฏิรูปประเทศด้วย
ความเป็นมาของหลัก 6 ประการ[2]
หลัก 6 ประการ มีที่มาจากการปฏิวัติโดยคณะราษฎร ในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เนื่องจากสาเหตุ
1. เศรษฐกิจตกต่ำ ในระหว่าง พ.ศ. 2472 - 2474 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก สินค้าไทยโดยเฉพาะข้าวราคาตกต่ำ เกิดภาวะขาดแคลนทั่วประเทศ ประกอบกับประเทศไทยมีรายจ่ายเกินกว่ารายได้ต่อเนื่องมาหลายปี ทำให้ฐานะการเงินการคลังของรัฐบาลอยู่ในสภาพคลอนแคลน ซึ่งรัฐบาลในสมัยรัชกาลที่ 7 พยายามแก้ไขสถานะการคลังหลายวิธี เช่น ลาออกจากองค์การมาตรฐานทองคำ กำหนดค่าเงินบาทขึ้นใหม่ แต่ที่สำคัญซึ่งได้รับความเดือดร้อนกันทั่วไป คือ การเพิ่มภาษีราษฎรและการปลดข้าราชการออก เพื่อรักษาดุลยภาพทางการเงิน ซึ่งสร้างความไม่พอใจให้แก่ข้าราชการเป็นอันมาก
2. ความขัดแย้งระหว่างสามัญชนกับพระราชวงศ์ สามัญชนมีการศึกษาสูงขึ้นเนื่องจากจบจากต่างประเทศและกลับเข้ามารับราชการกันมาก แต่บรรดาเจ้านายพระราชวงศ์บางพระองค์ทรงไม่สามารถปรับพระองค์ได้ยังทรงถือเป็นข้าหรือบ่าวอยู่ตามเดิม ทำให้สามัญชนที่มีความรู้ความสามารถเกิดน้อยเนื้อต่ำใจ
3. แนวคิดที่ได้รับจากตะวันตก ข้าราชการที่ได้รับการศึกษาตามแบบตะวันตกต้องการให้มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
4. การประวิงเวลาพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันที่ 6 เมษายน 2475 การที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 มิอาจพระราชทานรัฐธรรมนูญในโอกาสสมโภชกรุงครบรอบ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 เพราะได้รับการทัดทานจากคณะอภิรัฐมนตรี เป็นการเร่งรัดให้มีการปฏิวัติโดยเร็วยิ่งขึ้น เพราะข้าราชการที่มีความคิดก้าวหน้าเห็นว่า หนทางที่จะได้รับพระราชทานรัฐธรรมนูญ โดยไม่ใช้กำลังบังคับนั้นไม่มีแล้ว
การปฏิวัติริเริ่มโดยกลุ่มนักเรียนไทยในฝรั่งเศส ผู้เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสำคัญตั้งแต่ต้น ได้แก่ นายปรีดี พนมยงค์ กับ ร้อยโทแปลก ขีตตะสังคะ เมื่อบุคคลเหล่านี้กลับประเทศไทย ก็รวบรวมผู้คนซึ่งมีความคิดอย่างเดียวกัน โดยนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงประดิษฐ์มนูธรรม เป็นผู้ดำเนินการด้านพลเรือน และร้อยโทแปลก ขีตตะสังคะ ซึ่งได้เลื่อนยศมีบรรดาศักดิ์เป็นพันตรีหลวงพิบูลสงคราม เป็นผู้ดำเนินการ ด้านทหาร เมื่อรวบรวมผู้คนได้จำนวนมากพอสมควรจึงตั้งชื่อ คณะปฏิวัติว่า คณะราษฎร มีพันเอกพระยาพหล พลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นหัวหน้า พันเอกพระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) พันเอกพระยาฤทธิอาคเนย์ (สละ เอมะศิริ) และพันโทพระประสาทพิทยยุทธ (วัน ชูถิ่น) เป็นรองหัวหน้า การปฏิวัติเริ่มในตอนเช้าตรู่ของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ขณะที่รัชกาลที่ 7 ทรงแปรพระราชฐานไปประทับที่พระราชวังไกลกังวล หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยกลุ่มผู้ก่อการอ้างกับกองทหารต่างๆ ว่าเป็นการซ้อมรบยุทธวิธีอย่างใหม่ เมื่อมาถึงพร้อมกันจึงได้ประกาศว่าเป็นการปฏิวัติ หลังจากพระยาพหลพลพยุหเสนาอ่านประกาศแล้วจึงส่งกำลังเข้าควบคุมสถานที่สำคัญๆ ทางราชการในกรุงเทพฯ และแยกย้ายกันไปถวายอารักขา (ควบคุม) พระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงและบุคคลสำคัญเพื่อเป็นตัวประกันสำหรับต่อรอง เช่น จอมพลสมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ประธานอภิรัฐมนตรีสภา และเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เป็นต้น ขณะนั้นสมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรฯ ทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการพระนครอยู่พระองค์ท่านทรงตัดสินพระทัยไม่ใช้กำลังโต้ตอบคณะราษฎรให้เกิดการเสียเลือดเนื้อขึ้นและทรงยินยอมออกแถลงการณ์ให้ประชาชนอยู่ในความสงบ ระหว่างนั้น ทางฝ่ายคณะราษฎรได้ออกแถลงการณ์ชี้แจงจุดประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองให้ประชาชนทราบ และได้แถลงหลัก 6 ประการ อันเป็นนโยบายของคณะราษฎรที่จะนำมาใช้ในการปฏิรูปประเทศ ซึ่งประกอบด้วย
1. หลักเอกราช
2. หลักความปลอดภัย
3. หลักเศรษฐกิจ
4. หลักเสมอภาค
5. หลักเสรีภาพ
6. หลักการศึกษา
สาระสำคัญของหลัก 6 ประการ[3]
สาระสำคัญของหลัก 6 ประการของคณะราษฎร ประกอบด้วย
1. หลักเอกราช จะรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในทางการเมือง ในทางการศาล ในทางเศรษฐกิจของประเทศไว้ให้มั่นคง
2. หลักความปลอดภัย จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก และสร้างความสามัคคีของคนในชาติ
3. หลักเศรษฐกิจ จะบำรุงความสุขสมบูรณ์ในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ราษฎรทุกคนทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก
4. หลักเสมอภาค จะให้ราษฎรมีสิทธิเสมอหน้ากัน ไม่ให้ผู้ใดมีสิทธิเหนือผู้อื่น
5. หลักเสรีภาพ จะให้ราษฎรมีอิสระที่จะใช้สิทธิ ผู้ใดจะบังคับมิได้
6. หลักการศึกษา จะให้การศึกษาแก่ราษฎรอย่างทั่วถึง
อย่างไรก็ตาม เบื้องหลัง หลัก 6 ประการของคณะราษฎรนั้น มีแนวคิดหรืออุดมคติที่คณะราษฎรได้ประชุมปรึกษาหารือซึ่งได้ข้อสรุปร่วมกันซึ่งมีนัยสำคัญแฝงอยู่ แต่มิได้แถลงให้ประชาชนทราบ มีใจความสำคัญคือ ต้องมีพระเจ้าแผ่นดินตลอดไป ต้องทำเพื่อประชาธิปไตย ต้องเคารพความเห็นซึ่งกันและกัน ต้องมีความเห็นอันเที่ยงตรง ต้องทำเพื่อมุ่งจรรโลงประเทศให้ก้าวหน้า ต้องไม่ทรยศต่อประเทศชาติ ต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต ต้องไม่เย่อหยิ่งลืมตัว ต้องมีความประพฤติดี และต้องรักษาหน้าที่โดยเด็ดขาดเที่ยงตรง[4]
การนำมาปรับใช้เพื่อปฏิรูปประเทศของคณะราษฎร[5]
หลังจากที่คณะราษฎรได้ประกาศหลัก 6 ประการ เพื่อปรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิรูปประเทศ ทำให้หน้าประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองไทยในช่วงนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปหลายด้าน คือ
1. ด้านอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน โดยกำหนดให้ประชาชนมีการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร โดยสภาผู้แทน ราษฎรสามารถออกกฎหมายได้ เป็นต้น
2. ด้านเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง โดยกำหนดและส่งเสริมให้ประชาชนมีสิทธิเลือกตั้งและให้ประชาชนตั้งพรรคการเมืองได้เป็นครั้งแรก
3. ด้านวางรากฐานในเรื่องสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค มีการเผยแพร่อุดมการณ์ประชาธิปไตยแก่ประชาชนอย่างกว้างขวาง เช่น สร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย กำหนดให้มีพานวางรัฐธรรมนูญเพื่อให้ประชาชนทำความเคารพ ให้มีการท่องรัฐธรรมนูญในโรงเรียน ส่งเสริมการศึกษาแก่ประชาชนในวงกว้างซึ่งแต่เดิมการศึกษามักกระจุกแต่ในชนชั้นสูง โดยมีการตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น
4. ด้านเศรษฐกิจ มีกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการยกเลิกภาษีอากรที่เก็บจากชาวไร่ชาวนา เช่นยกเลิกภาษีเกลือ ภาษีอากรสวน ภาษีต้นตาลโตนด ลดภาษีเก็บเงินอากรสวนใหญ่ ส่งเสริมการจัดตั้งสหกรณ์ มีการยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมกับต่างประเทศ เป็นต้น
หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ
ณรงค์ นุ่นทอง. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการพัฒนาการเมืองไปสู่ระบบประชาธิป'ไตย'.
เอกสารวิชาการส่วนบุคคล. สถาบันพระปกเกล้า, 2543.
อาทร อยู่สมบูรณ์. คณะราษฎร์กับกระบวนการสร้างประชาธิปไตย. วิทยานิพนธ์คณะรัฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
บรรณานุกรม
เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์. 'ปฏิวัติ '2475. พระนคร : บริษัทผดุงพิทยา, 2514.
อาทร อยู่สมบูรณ์. “คณะราษฎร์กับกระบวนการสร้างประชาธิปไตย”. วิทยานิพนธ์คณะรัฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ครูอังคณา ณ พิกุล. การเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ยุคหลัง เปลี่ยนแปลงการปกครอง (ออนไลน์). http://www.thaigoodview.com/library/contest2553 /type2/social03/28/02con03.htm
มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. หลัก 6 ประการของคณะราษฎร์ (ออนไลน์). วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_% E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8 %82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E 0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3
อ้างอิง
[1] มูลนิธิวิกิพีเดีย. 2557. หลัก 6 ประการของคณะราษฎร์ (ออนไลน์). วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81_6_%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3 (สืบค้นเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2557)
[2] ประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ครูอังคณา ณ พิกุล. การเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง (ออนไลน์). http://www.thaigoodview.com/library/contest2553 /type2/social03/28/02con03.htm (สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2557)
[3] อาทร อยู่สมบูรณ์. คณะราษฎร์กับกระบวนการสร้างประชาธิปไตย. วิทยานิพนธ์คณะรัฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. หน้า 55 - 56
[4] เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์. ปฏิวัติ '2475'. พระนคร : บริษัทผดุงพิทยา, 2514. หน้า 109 – 110.
[5] อ้างแล้วในเชิงอรรถที่ 3. หน้า 88 – 100.