ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐสภา"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " ผู้เรียบเรียง : อมรรัตน์ รัตนกิจเจริญ ผู้ทรงคุณวุฒิปร..."
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


ผู้เรียบเรียง : อมรรัตน์ รัตนกิจเจริญ
ผู้เรียบเรียง : อมรรัตน์ รัตนกิจเจริญ


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง


'''บทนำ'''
== '''บทนำ''' ==


            การปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภานั้น อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนในประเทศร่วมกันใช้สิทธิใช้อำนาจอธิปไตยเป็นส่วนรวม ประชาชนเป็นเจ้าของประเทศ มีสิทธิและหน้าที่ที่จะจัดการปกครองประเทศ รัฐบาลซึ่งเป็นองค์การจัดการปกครองประเทศจะเป็นของประชาชน โดยมีที่ประชุมของผู้แทนประชาชนซึ่งทำหน้าที่ปกครองประเทศเรียกว่า “รัฐสภา” รัฐสภา เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสำคัญต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย[[#_ftn1|[1]]] โดยระบบนี้รัฐสภาจะมีอำนาจสูงสุด  อำนาจศูนย์กลางอยู่ที่รัฐสภา รัฐสภาจะเป็นแหล่งเดียวที่เป็น “ผู้แทน” ของประชาชนโดยตรง เป็นที่รวมและที่แสดงเจตจำนงสูงสุดของประชาชนทั้งหมด เป็นที่แสดงแนวความคิดและเป็นตัวแทนของการตัดสินใจของประชาชน โดยรัฐสภาจะต้องประกอบด้วย หลักการและทฤษฏีที่สำคัญของรัฐสภา จึงจะเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนระบบรัฐสภา อำนาจหน้าที่ที่สำคัญของรัฐสภาคือ การตรากฎหมายมาใช้เป็นกฎเกณฑ์การปกครองประเทศ มีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล และมีอำนาจหน้าที่อื่นๆ นอกจากนี้ รัฐสภายังเป็นที่มาของฝ่ายบริหาร หรือรัฐบาลอีกด้วย
            การปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภานั้น อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนในประเทศร่วมกันใช้สิทธิใช้อำนาจอธิปไตยเป็นส่วนรวม ประชาชนเป็นเจ้าของประเทศ มีสิทธิและหน้าที่ที่จะจัดการปกครองประเทศ รัฐบาลซึ่งเป็นองค์การจัดการปกครองประเทศจะเป็นของประชาชน โดยมีที่ประชุมของผู้แทนประชาชนซึ่งทำหน้าที่ปกครองประเทศเรียกว่า “รัฐสภา” รัฐสภา เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสำคัญต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย[[#_ftn1|[1]]] โดยระบบนี้รัฐสภาจะมีอำนาจสูงสุด  อำนาจศูนย์กลางอยู่ที่รัฐสภา รัฐสภาจะเป็นแหล่งเดียวที่เป็น “ผู้แทน” ของประชาชนโดยตรง เป็นที่รวมและที่แสดงเจตจำนงสูงสุดของประชาชนทั้งหมด เป็นที่แสดงแนวความคิดและเป็นตัวแทนของการตัดสินใจของประชาชน โดยรัฐสภาจะต้องประกอบด้วย หลักการและทฤษฏีที่สำคัญของรัฐสภา จึงจะเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนระบบรัฐสภา อำนาจหน้าที่ที่สำคัญของรัฐสภาคือ การตรากฎหมายมาใช้เป็นกฎเกณฑ์การปกครองประเทศ มีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล และมีอำนาจหน้าที่อื่นๆ นอกจากนี้ รัฐสภายังเป็นที่มาของฝ่ายบริหาร หรือรัฐบาลอีกด้วย


 
== '''ความหมาย''' ==
 
            ในระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนระบบรัฐสภา รัฐสภาคือ สถาบันนิติบัญญัติ และเป็นสถาบันที่มีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมดูแลการปกครอง การบริหารของฝ่ายรัฐบาล รวมทั้งเป็นสถาบันที่ทำหน้าที่ในฐานะที่เป็นตัวแทนของประชาชน
 
== '''ที่มาของรัฐสภา''' ==
 
            มนุษย์ไม่อาจที่จะอยู่โดดเดี่ยวเพียงลำพังได้ จำเป็นที่จะต้องอยู่ร่วมกันเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ก่อให้เกิดชุมชน และสังคมมนุษย์ การรวมกลุ่มที่มีวิวัฒนาการติดต่อกันเป็นเวลานานตามลำดับ จากกลุ่มเล็กๆ ค่อยๆ ขยายใหญ่ขึ้นและมีการวิวัฒนาการจัดเป็นองค์กรทางการเมืองขึ้นเป็น รัฐ โดยรัฐจะต้องประกอบด้วยลักษณะสำคัญ 4 ประการ 1. มีประชาชนจำนวนหนึ่งอาศัยอยู่ 2. มีดินแดนที่มีอาณาเขตที่แน่นอน ประกอบไปด้วย พื้นน้ำ พื้นดิน และพื้นอากาศ 3. มีรัฐบาลคือ มีองค์การและคณะบุคคลที่ใช้อำนาจในการปกครองประเทศอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นกับรัฐบาลของรัฐอื่นใด 4. มีอำนาจอธิปไตยคือ มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เมื่อรัฐมีอำนาจอธิปไตยรัฐจึงมีอำนาจเหนือบุคคลทุกคน และสมาคมทุกสมาคมในดินแดนของรัฐโดยไม่มีข้อยกเว้นสิ่งอื่นใดจะมีอำนาจยิ่งกว่าหรือขัดต่ออำนาจอธิปไตยหาได้ไม่ อำนาจอธิปไตยนั้นจะต้องมีทั้งอำนาจอธิปไตยภายในซึ่งเป็นอำนาจสูงสุดในการออกกฎหมาย รักษากฎหมาย และการใช้กฎหมายในเขตดินแดนของรัฐนั้น และอำนาจอธิปไตยภายนอก หรือเอกราชของรัฐ โดยรัฐจะสามารถดำเนินความสัมพันธ์กับรัฐอื่นๆ รวมถึงอำนาจที่จะประกาศสงคราม หรือทำสัญญาสันติภาพได้อย่างอิสระโดยปราศจาก การบังคับบัญชาของรัฐอื่น อำนาจอธิปไตย เป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ ทำให้รัฐมีอำนาจในการดำเนินกิจการภายในรัฐ และกิจการระหว่างประเทศได้อย่างเต็มที่ ทำให้รัฐมีอำนาจบังคับและสามารถใช้กำลังเพื่อให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับที่รัฐกำหนดขึ้น และอำนาจอธิปไตยจะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง โดยการปกครองระบอบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยจะเป็นของปวงชน ประชาชนในประเทศร่วมกันใช้สิทธิใช้อำนาจอธิปไตยเป็นส่วนรวม ประชาชนเป็นเจ้าของประเทศ มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ มีสิทธิและหน้าที่ที่จะจัดการปกครองประเทศ รัฐบาลซึ่งเป็นองค์การจัดการปกครองประเทศจึงเป็นของประชาชน


'''ความหมาย'''
            การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นมาหลายศตวรรษแล้ว ตั้งแต่สมัย กรีก โรมัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยทฤษฎีสัญญาประชาคมมีบทบาทสำคัญต่อการกำเนิดแนวคิด และปรัชญาพื้นฐานที่จะนำไปสู่ระบอบการปกครองในยุคสมัยใหม่ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยนี้มิได้กำเนิดขึ้นมาแบบทันทีทันใด แต่จะวิวัฒนาการมาจากประวัติศาสตร์[[#_ftn2|[2]]] โดยในประเทศอังกฤษ สถาบันรัฐสภาอังกฤษเกิดจากสถานการณ์ของสังคมศักดินาที่จัดระบบความผูกพันระหว่างกษัตริย์ในฐานะผู้เป็นนายกับขุนนางในฐานะผู้ที่ครองที่ดินจากกษัตริย์ และระบบความผูกพันนี้มีทั้งสิทธิหน้าที่ที่แต่ละฝ่ายต้องยึดถือปฏิบัติ การละเว้นหรือการละเมิดสิทธิดังกล่าวก็จะนำไปสู่การขัดแย้งและการล้มเลิกความสวามิภักดิ์ระบบความผูกพันระหว่างกษัตริย์และขุนนาง รัฐสภาอังกฤษจึงเกิดขึ้นเพื่อป้องกันการขัดแย้งระหว่างกษัตริย์กับขุนนาง โดยรัฐสภาจะต้องประกอบไปด้วยขุนนางและพระระดับราชาคณะ และต่อมาได้เพิ่มผู้แทนจากชุมชนเมือง จึงกลายเป็นต้นแบบรัฐสภาอังกฤษมาถึงปัจจุบัน โดยมิได้มีความเกี่ยวข้องกับแนวคิดประชาธิปไตยใดๆทั้งสิ้น แต่เป็นผลของการขัดแย้งและการประนีประนอมระหว่างกษัตริย์กับขุนนางในการบริหารประเทศ และความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด แต่อย่างไรก็ตามอิทธิพลของปัญญาแนวคิดทฤษฏี เรื่องการกำเนิดของอำนาจมาจากเบื้องล่าง คือประชาชน แนวคิดสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของมวลมนุษย์ที่จะปกป้อง ชีวิต เสรีภาพ และทรัพย์สิน ของตนก็กลายมาเป็นหลักการสำคัญของรัฐสภาอังกฤษ โดยมีการกำหนดให้รัฐสภาเป็นองค์กรหลักหรือตัวแทนประชาชนในการใช้อำนาจอธิปไตยแทนประชนชน เนื่องมาจากการปฏิวัติในประเทศอังกฤษ[[#_ftn3|[3]]] ประเทศสหรัฐอเมริกา การปกครองระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา เกิดจากเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์จากผู้อพยพจากเมืองแม่ คืออังกฤษ ที่พยายามต่อสู้ดิ้นรนเพื่อสิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนา และระบบการปกครองตนเองของแต่มลรัฐและชุมชนเมือง และที่พยายามต่อสู้ดิ้นรนเพื่ออิสรภาพที่ชาวอเมริกันต่อสู้เพื่อเป็นอิสรภาพจากเมืองแม่ เหล่านี้เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดระบบการปกครองระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา[[#_ftn4|[4]]] ส่วนประเทศฝรั่งเศส การก่อกำเนิดของรัฐสภาประเทศฝรั่งเศสนั้นเกิดจากระบอบประชาธิปไตยประสบปัญหามากมายในสังคมฝรั่งเศสเริ่มต้นจากการปฏิวัติที่รุนแรง การแสวงหารูปแบบการปกครองที่ได้รับการยอมรับของคนส่วนมากประสบปัญหาที่จะหาจุดลงตัวได้ด้วยความยากลำบากจนกระทั่งได้มีรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐที่ 5[[#_ftn5|[5]]] ซึ่งเป็นระบบผสมระหว่างระบบรัฐสภาของประเทศอังกฤษกับระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา และประสบความสำเร็จจนถึงปัจจุบัน[[#_ftn6|[6]]]


ในระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนระบบรัฐสภา รัฐสภาคือ สถาบันนิติบัญญัติ และเป็นสถาบันที่มีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมดูแลการปกครอง การบริหารของฝ่ายรัฐบาล รวมทั้งเป็นสถาบันที่ทำหน้าที่ในฐานะที่เป็นตัวแทนของประชาชน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีวิวัฒนาการตามเส้นทางที่แตกต่างกันซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยจาก 3 ชาติมหาอำนาจนี้คือ ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส เป็นพื้นฐานที่สำคัญของแนวคิดเกี่ยวกับหลักการและรูปแบบของประชาธิปไตยที่แตกต่างกันในปัจจุบัน[[#_ftn7|[7]]]


 
== '''รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย''' ==


'''ที่มาของรัฐสภา'''
            การจำแนกรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย หากจำแนกตามรูปแบบของการมีส่วนร่วมของประชาชนอาจจำแนกได้ 2 แบบ คือ  1. ระบอบประชาธิปไตยแบบสายตรง โดยประชาชนจะมีส่วนร่วมโดยตรงในการปกครองประเทศ ซึ่งระบบนี้จะเหมาะกับหมู่บ้าน เมืองเล็กๆ หรือชุมชนเมืองขนาดเล็ก 2. ระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนคือ ระบบที่เลือกตัวแทนของประชาชนเข้าสู่รัฐสภาเพื่อทำหน้าที่แทนประชาชน ระบบนี้จะเป็นระบบที่ใช้กับรัฐที่มีเขตการปกครองที่ใหญ่ มีประชากรจำนวนมาก[[#_ftn8|[8]]] รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนแบ่งออกเป็น 3 ระบบใหญ่ๆ คือ 1. ระบบรัฐสภา ซึ่งเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยมีรัฐสภาเป็นศูนย์กลางอำนาจโดยเลือกตั้งผู้แทนเข้าไปในรัฐสภาก่อนแล้วรัฐสภาจึงทำหน้าที่เลือกรัฐบาล โดยระบบนี้เป็นรูปแบบที่อำนาจมีศูนย์กลางอยู่ที่รัฐสภา ตามหลักการที่ว่า อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน และผู้แทนประชาชนในรัฐสภาจะเป็นตัวแทนของอำนาจอธิปไตยนั้น[[#_ftn9|[9]]] โดยระบบนี้จะมีหลักการว่าอำนาจสูงสุดเป็นของรัฐสภา ไม่มีอำนาจอื่นใดมาขัดขวางอำนาจของรัฐสภาได้ นอกจากอำนาจทางการเมืองของประชาชน ระบบรัฐสภาจะไม่มีการแบ่งแยกอำนาจบริหารออกจากฝ่ายนิติบัญญัติอย่างเด็ดขาด เพราะคณะรัฐมนตรีเปรียบเสมือนคณะกรรมการของรัฐสภา เพียงแต่เป็นคณะกรรมการในระบบคณะรัฐมนตรีจึงเป็นการบริหารงานภายใต้กำกับของรัฐสภา รูปแบบที่รัฐสภาเป็นศูนย์กลางของอำนาจนั้นไม่ได้หมายความว่า รัฐสภาจะเข้าไปก้าวก่ายการดำเนินงานของศาลตุลาการ อำนาจอันเป็นอิสระของศาลตุลาการได้รับการรองรับตามหลักของการปกครองโดยกฎหมาย เป็นอิสระจากการก้าวก่ายของฝ่ายบริหารแต่ก็ไม่มีอำนาจที่จะขัดแย้งกับกฎหมายที่ออกโดยรัฐสภาหรือมีอำนาจที่จะประกาศว่ากฎหมายใดผิดรัฐธรรมนูญ เหมือนศาลสูงสุดของสหรัฐที่มีอำนาจเช่นกัน[[#_ftn10|[10]]] แม้รัฐสภาเป็นศูนย์รวมอำนาจ แต่ระบบนี้ก็มีระบบคานอำนาจด้วย[[#_ftn11|[11]]] 2. ระบบประธานาธิบดีโดยระบบนี้อำนาจบริหารเป็นของประธานาธิบดีที่ได้มาจากการเลือกตั้งของประชาชนประธานาธิบดีเป็นผู้คัดเลือกรัฐบาลเพื่อบริหารประเทศ ระบบนี้เป็นรูปแบบการแยกอำนาจและการคานอำนาจ ที่อำนาจไม่รวมศูนย์ ประธานาธิบดีมีอำนาจเป็นอิสระจากรัฐสภา[[#_ftn12|[12]]] ลักษณะสำคัญของโครงสร้างการปกครองคือ จะให้ความสำคัญกับฝ่ายบริหาร โดยมีการออกแบบโครงสร้างที่มุ่งให้เกิดความเข็มแข็งแก่ฝ่ายบริหารเพื่อให้ฝ่ายบริหารสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเข้มแข็งไม่ถูกขัดขวางจากฝ่ายนิติบัญญัติ[[#_ftn13|[13]]] หลักการที่สำคัญที่ทำให้รูปแบบการปกครองแบบประธานาธิบดีแตกต่างจากรูปแบบการปกครองของระบบรัฐสภาคือ หลักการของการแบ่งแยกอำนาจ การคานอำนาจ และหลักของอำนาจประธานาธิบดี[[#_ftn14|[14]]] หลักการแบ่งแยกอำนาจในระบบรัฐสภาจะมีการรวมศูนย์อำนาจไว้ที่รัฐสภา แต่รูปแบบของประธานาธิบดีจะตรงกันข้ามคือ มีการแบ่งแยกอำนาจ โดยอำนาจนิติบัญญัติ ได้แก่ รัฐสภา อำนาจบริหาร ได้แก่ ประธานาธิบดี และอำนาจตุลาการ แต่ละสถาบันเป็นอิสระซึ่งกันและกันไม่มีใครจะมีอำนาจมากกว่ากัน ประธานาธิบดีเป็นอิสระจากรัฐสภาเพราะประชาชนเป็นผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีให้ไปบริหาร และรัฐสภาไม่มีอำนาจจะไปขับไล่ประธานาธิบดีได้ และประธานาธิบดีก็ไม่มีอำนาจจะยุบสภาได้ การปฏิบัติหน้าที่นิติบัญญัติ การริเริ่ม การร่าง และการพิจารณากฎหมายเป็นหน้าที่ของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยวุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร ประธานาธิบดี หรือฝ่ายบริหารไม่มีอำนาจหน้าที่เสนอร่างพระราชบัญญัติ และสถาบันนิติบัญญัติ หรือรัฐสภาก็ไม่มีบทบาทหน้าที่จะไปก้าวก่าย หรือกำกับ หรือตรวจสอบการบริหารงานของฝ่ายบริหารเพื่อการอภิปรายไม่ไว้วางใจ หรือเพื่อเสนอทางเลือกของนโยบายการบริหาร ยกเว้นกรณีของการตรวจสอบความประพฤติของประธานาธิบดี เพื่อถอดถอน และกรณีของการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูง นอกจากนั้นสถาบันตุลาการก็เป็นอิสระจากสถาบันที่กล่าวมาแล้ว แม้ว่าประธานของศาลสูงสุดจะได้รับการเสนอชื่อจากประธานาธิบดี และต้องได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภา แต่เมื่อได้รับการแต่งตั้งแล้ว ประธานของศาลสูงก็จะมีอิสระ ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติจะก้าวก่ายภาระหน้าที่ของฝ่ายตุลาการมิได้[[#_ftn15|[15]]] ส่วนระบบการคานอำนาจ หรือการถ่วงดุลยแห่งอำนาจนั้น รัฐสภาจะมีอำนาจในการร่างกฎหมาย แต่ผู้ที่มีอำนาจขั้นสุดท้ายในการให้ความเห็นชอบคือประธานาธิบดี ซึ่งทำหน้าที่เป็นประมุข เสมือนพระมหากษัตริย์ที่ลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ และประธานาธิบดีมีอำนาจในการยับยั้งพระราชบัญญัติได้ การแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงประธานาธิบดีจะต้องขอความเห็นชอบจากวุฒิสภา[[#_ftn16|[16]]] หลักของอำนาจประธานาธิบดี ประธานาธิบดีจะเป็นตำแหน่งรวมศูนย์แห่งอำนาจการบริหาร ฝ่ายบริหาร จะรวมบทบาทของประมุข เป็นสัญลักษณ์ของชาติคล้ายๆกับกษัตริย์ และบทบาทของผู้นำฝ่ายบริหารไว้ที่ตัวคนเดียวคือ ประธานาธิบดีมีอำนาจในการแต่งตั้งรัฐมนตรี และตำแหน่งบริหารระดับสูงในกระทรวงต่างๆ[[#_ftn17|[17]]] ความแตกต่างระหว่างระบบรัฐสภาและระบบประธานาธิบดีจะแตกต่างกัน 2 ประการหลักคือ รูปแบบรัฐสภาอำนาจรวมศูนย์ที่รัฐสภา ส่วนรูปแบบประธานาธิบดีมีการแยกอำนาจและคานอำนาจของสถาบันการปกครองทั้ง 3 และระบบรัฐสภามีการแยกบทบาทของตำแหน่งประมุขออกจากตำแหน่งผู้นำฝ่ายบริหาร แต่ระบบประธานาธิบดีรวมสองตำแหน่งสองบทบาทไว้ด้วยกัน[[#_ftn18|[18]]] 3. ระบบผสมระหว่างรัฐสภากับระบบประธานาธิบดี โดยระบบนี้จะคงโครงสร้างของระบบรัฐสภา การปกครองประเทศยังคงมีทั้งรัฐสภาทำหน้าที่นิติบัญญัติเลือกหัวหน้าฝ่ายบริหาร และควบคุมการบริหารประเทศ และมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลทำหน้าที่บริหารประเทศโดยรับผิดชอบต่อสภา และขณะเดียวกันก็ยังคงอำนาจหน้าที่บางประการของระบบประธานาธิบดีด้วยโดยกำหนดอำนาจหน้าที่ของประธานาธิบดีให้มีอำนาจหน้าที่เพิ่มมากขึ้น[[#_ftn19|[19]]] ระบบนี้ยังคงยึดโยงกับระบบรัฐสภาโดยนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา ซึ่งสามารถอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีได้ และคณะรัฐมนตรีก็มีอำนาจในการดำเนินนโยบายภายในประเทศ ประธานาธิบดีเป็นอิสระจากรัฐสภา ส่วนรัฐสภาประกอบด้วยสภาสูงและสภาผู้แทนราษฎร นายกรัฐมนตรีมีอำนาจแต่งตั้งรัฐมนตรีโดยสามารถแต่งตั้งบุคคลจากภายนอกรัฐสภาให้เข้ามาเป็นรัฐมนตรีได้ แต่คณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบต่อสภา ระบบนี้ตำแหน่งประธานาธิบดีจะมีความโดดเด่นและมีความสำคัญมากต่อการเป็นผู้นำประเทศ ฉะนั้นระบบนี้จึงใกล้เคียงกับระบบประธานาธิบดีมากกว่าระบบรัฐสภา และอาจจะมีประสิทธิภาพมากกว่าระบบประธานาธิบดีเนื่องจากมีระบบคณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา[[#_ftn20|[20]]]


            มนุษย์ไม่อาจที่จะอยู่โดดเดี่ยวเพียงลำพังได้ จำเป็นที่จะต้องอยู่ร่วมกันเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ก่อให้เกิดชุมชน และสังคมมนุษย์ การรวมกลุ่มที่มีวิวัฒนาการติดต่อกันเป็นเวลานานตามลำดับ จากกลุ่มเล็กๆ ค่อยๆ ขยายใหญ่ขึ้นและมีการวิวัฒนาการจัดเป็นองค์กรทางการเมืองขึ้นเป็น รัฐ โดยรัฐจะต้องประกอบด้วยลักษณะสำคัญ 4 ประการ 1. มีประชาชนจำนวนหนึ่งอาศัยอยู่ 2. มีดินแดนที่มีอาณาเขตที่แน่นอน ประกอบไปด้วย พื้นน้ำ พื้นดิน และพื้นอากาศ 3. มีรัฐบาลคือ มีองค์การและคณะบุคคลที่ใช้อำนาจในการปกครองประเทศอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นกับรัฐบาลของรัฐอื่นใด 4. มีอำนาจอธิปไตยคือ มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เมื่อรัฐมีอำนาจอธิปไตยรัฐจึงมีอำนาจเหนือบุคคลทุกคน และสมาคมทุกสมาคมในดินแดนของรัฐโดยไม่มีข้อยกเว้นสิ่งอื่นใดจะมีอำนาจยิ่งกว่าหรือขัดต่ออำนาจอธิปไตยหาได้ไม่ อำนาจอธิปไตยนั้นจะต้องมีทั้งอำนาจอธิปไตยภายในซึ่งเป็นอำนาจสูงสุดในการออกกฎหมาย รักษากฎหมาย และการใช้กฎหมายในเขตดินแดนของรัฐนั้น และอำนาจอธิปไตยภายนอก หรือเอกราชของรัฐ โดยรัฐจะสามารถดำเนินความสัมพันธ์กับรัฐอื่นๆ รวมถึงอำนาจที่จะประกาศสงคราม หรือทำสัญญาสันติภาพได้อย่างอิสระโดยปราศจาก การบังคับบัญชาของรัฐอื่น อำนาจอธิปไตย เป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ ทำให้รัฐมีอำนาจในการดำเนินกิจการภายในรัฐ และกิจการระหว่างประเทศได้อย่างเต็มที่ ทำให้รัฐมีอำนาจบังคับและสามารถใช้กำลังเพื่อให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับที่รัฐกำหนดขึ้น และอำนาจอธิปไตยจะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง โดยการปกครองระบอบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยจะเป็นของปวงชน ประชาชนในประเทศร่วมกันใช้สิทธิใช้อำนาจอธิปไตยเป็นส่วนรวม ประชาชนเป็นเจ้าของประเทศ มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ มีสิทธิและหน้าที่ที่จะจัดการปกครองประเทศ รัฐบาลซึ่งเป็นองค์การจัดการปกครองประเทศจึงเป็นของประชาชน
== '''หลักการการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภา''' ==


การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นมาหลายศตวรรษแล้ว ตั้งแต่สมัย กรีก โรมัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยทฤษฎีสัญญาประชาคมมีบทบาทสำคัญต่อการกำเนิดแนวคิด และปรัชญาพื้นฐานที่จะนำไปสู่ระบอบการปกครองในยุคสมัยใหม่ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยนี้มิได้กำเนิดขึ้นมาแบบทันทีทันใด แต่จะวิวัฒนาการมาจากประวัติศาสตร์[[#_ftn2|[2]]] โดยในประเทศอังกฤษ สถาบันรัฐสภาอังกฤษเกิดจากสถานการณ์ของสังคมศักดินาที่จัดระบบความผูกพันระหว่างกษัตริย์ในฐานะผู้เป็นนายกับขุนนางในฐานะผู้ที่ครองที่ดินจากกษัตริย์ และระบบความผูกพันนี้มีทั้งสิทธิหน้าที่ที่แต่ละฝ่ายต้องยึดถือปฏิบัติ การละเว้นหรือการละเมิดสิทธิดังกล่าวก็จะนำไปสู่การขัดแย้งและการล้มเลิกความสวามิภักดิ์ระบบความผูกพันระหว่างกษัตริย์และขุนนาง รัฐสภาอังกฤษจึงเกิดขึ้นเพื่อป้องกันการขัดแย้งระหว่างกษัตริย์กับขุนนาง โดยรัฐสภาจะต้องประกอบไปด้วยขุนนางและพระระดับราชาคณะ และต่อมาได้เพิ่มผู้แทนจากชุมชนเมือง จึงกลายเป็นต้นแบบรัฐสภาอังกฤษมาถึงปัจจุบัน โดยมิได้มีความเกี่ยวข้องกับแนวคิดประชาธิปไตยใดๆทั้งสิ้น แต่เป็นผลของการขัดแย้งและการประนีประนอมระหว่างกษัตริย์กับขุนนางในการบริหารประเทศ และความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด แต่อย่างไรก็ตามอิทธิพลของปัญญาแนวคิดทฤษฏี เรื่องการกำเนิดของอำนาจมาจากเบื้องล่าง คือประชาชน แนวคิดสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของมวลมนุษย์ที่จะปกป้อง ชีวิต เสรีภาพ และทรัพย์สิน ของตนก็กลายมาเป็นหลักการสำคัญของรัฐสภาอังกฤษ โดยมีการกำหนดให้รัฐสภาเป็นองค์กรหลักหรือตัวแทนประชาชนในการใช้อำนาจอธิปไตยแทนประชนชน เนื่องมาจากการปฏิวัติในประเทศอังกฤษ[[#_ftn3|[3]]] ประเทศสหรัฐอเมริกา การปกครองระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา เกิดจากเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์จากผู้อพยพจากเมืองแม่ คืออังกฤษ ที่พยายามต่อสู้ดิ้นรนเพื่อสิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนา และระบบการปกครองตนเองของแต่มลรัฐและชุมชนเมือง และที่พยายามต่อสู้ดิ้นรนเพื่ออิสรภาพที่ชาวอเมริกันต่อสู้เพื่อเป็นอิสรภาพจากเมืองแม่ เหล่านี้เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดระบบการปกครองระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา[[#_ftn4|[4]]] ส่วนประเทศฝรั่งเศส การก่อกำเนิดของรัฐสภาประเทศฝรั่งเศสนั้นเกิดจากระบอบประชาธิปไตยประสบปัญหามากมายในสังคมฝรั่งเศสเริ่มต้นจากการปฏิวัติที่รุนแรง การแสวงหารูปแบบการปกครองที่ได้รับการยอมรับของคนส่วนมากประสบปัญหาที่จะหาจุดลงตัวได้ด้วยความยากลำบากจนกระทั่งได้มีรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐที่ 5[[#_ftn5|[5]]] ซึ่งเป็นระบบผสมระหว่างระบบรัฐสภาของประเทศอังกฤษกับระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา และประสบความสำเร็จจนถึงปัจจุบัน[[#_ftn6|[6]]]
            หลักใหญ่ๆ ที่เป็นพื้นฐานสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภาจะต้องประกอบไปด้วยหลักการที่สำคัญคือ


การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีวิวัฒนาการตามเส้นทางที่แตกต่างกันซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยจาก 3 ชาติมหาอำนาจนี้คือ ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส เป็นพื้นฐานที่สำคัญของแนวคิดเกี่ยวกับหลักการและรูปแบบของประชาธิปไตยที่แตกต่างกันในปัจจุบัน[[#_ftn7|[7]]]
1. หลักการแบ่งแยกอำนาจ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภา การแบ่งแยกอำนาจเป็นการประกันอิสระเสรีภาพของประชาชน ทั้งนี้เพราะผู้ใดมีอำนาจผู้นั้นมักมีแนวโน้มในการที่จะใช้อำนาจไปในทางที่ผิด วิธีที่ดีที่สุดคือการแบ่งแยกอำนาจออกเป็น 3 ส่วนคือ อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจตุลาการ[[#_ftn21|[21]]] โดยการแบ่งแยกอำนาจนั้นมีแนวความคิดเกี่ยวกับการแบ่งแยกอำนาจเป็น 2 แบบคือ


*           
(1) การแบ่งแยกอำนาจหน้าที่อย่างเด็ดขาด โดยอำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจตุลาการ ต่างฝ่ายต่างก็เป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องก้าวก่ายกัน


            การจำแนกรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย หากจำแนกตามรูปแบบของการมีส่วนร่วมของประชาชนอาจจำแนกได้ 2 แบบ คือ    1. ระบอบประชาธิปไตยแบบสายตรง โดยประชาชนจะมีส่วนร่วมโดยตรงในการปกครองประเทศ ซึ่งระบบนี้จะเหมาะกับหมู่บ้าน เมืองเล็กๆ หรือชุมชนเมืองขนาดเล็ก 2. ระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนคือ ระบบที่เลือกตัวแทนของประชาชนเข้าสู่รัฐสภาเพื่อทำหน้าที่แทนประชาชน ระบบนี้จะเป็นระบบที่ใช้กับรัฐที่มีเขตการปกครองที่ใหญ่ มีประชากรจำนวนมาก[[#_ftn8|[8]]] รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนแบ่งออกเป็น 3 ระบบใหญ่ๆ คือ 1. ระบบรัฐสภา ซึ่งเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยมีรัฐสภาเป็นศูนย์กลางอำนาจโดยเลือกตั้งผู้แทนเข้าไปในรัฐสภาก่อนแล้วรัฐสภาจึงทำหน้าที่เลือกรัฐบาล โดยระบบนี้เป็นรูปแบบที่อำนาจมีศูนย์กลางอยู่ที่รัฐสภา ตามหลักการที่ว่า อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน และผู้แทนประชาชนในรัฐสภาจะเป็นตัวแทนของอำนาจอธิปไตยนั้น[[#_ftn9|[9]]] โดยระบบนี้จะมีหลักการว่าอำนาจสูงสุดเป็นของรัฐสภา ไม่มีอำนาจอื่นใดมาขัดขวางอำนาจของรัฐสภาได้ นอกจากอำนาจทางการเมืองของประชาชน ระบบรัฐสภาจะไม่มีการแบ่งแยกอำนาจบริหารออกจากฝ่ายนิติบัญญัติอย่างเด็ดขาด เพราะคณะรัฐมนตรีเปรียบเสมือนคณะกรรมการของรัฐสภา เพียงแต่เป็นคณะกรรมการในระบบคณะรัฐมนตรีจึงเป็นการบริหารงานภายใต้กำกับของรัฐสภา รูปแบบที่รัฐสภาเป็นศูนย์กลางของอำนาจนั้นไม่ได้หมายความว่า รัฐสภาจะเข้าไปก้าวก่ายการดำเนินงานของศาลตุลาการ อำนาจอันเป็นอิสระของศาลตุลาการได้รับการรองรับตามหลักของการปกครองโดยกฎหมาย เป็นอิสระจากการก้าวก่ายของฝ่ายบริหารแต่ก็ไม่มีอำนาจที่จะขัดแย้งกับกฎหมายที่ออกโดยรัฐสภาหรือมีอำนาจที่จะประกาศว่ากฎหมายใดผิดรัฐธรรมนูญ เหมือนศาลสูงสุดของสหรัฐที่มีอำนาจเช่นกัน[[#_ftn10|[10]]] แม้รัฐสภาเป็นศูนย์รวมอำนาจ แต่ระบบนี้ก็มีระบบคานอำนาจด้วย[[#_ftn11|[11]]] 2. ระบบประธานาธิบดีโดยระบบนี้อำนาจบริหารเป็นของประธานาธิบดีที่ได้มาจากการเลือกตั้งของประชาชนประธานาธิบดีเป็นผู้คัดเลือกรัฐบาลเพื่อบริหารประเทศ ระบบนี้เป็นรูปแบบการแยกอำนาจและการคานอำนาจ ที่อำนาจไม่รวมศูนย์ ประธานาธิบดีมีอำนาจเป็นอิสระจากรัฐสภา[[#_ftn12|[12]]] ลักษณะสำคัญของโครงสร้างการปกครองคือ จะให้ความสำคัญกับฝ่ายบริหาร โดยมีการออกแบบโครงสร้างที่มุ่งให้เกิดความเข็มแข็งแก่ฝ่ายบริหารเพื่อให้ฝ่ายบริหารสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเข้มแข็งไม่ถูกขัดขวางจากฝ่ายนิติบัญญัติ[[#_ftn13|[13]]] หลักการที่สำคัญที่ทำให้รูปแบบการปกครองแบบประธานาธิบดีแตกต่างจากรูปแบบการปกครองของระบบรัฐสภาคือ หลักการของการแบ่งแยกอำนาจ การคานอำนาจ และหลักของอำนาจประธานาธิบดี[[#_ftn14|[14]]] หลักการแบ่งแยกอำนาจในระบบรัฐสภาจะมีการรวมศูนย์อำนาจไว้ที่รัฐสภา แต่รูปแบบของประธานาธิบดีจะตรงกันข้ามคือ มีการแบ่งแยกอำนาจ โดยอำนาจนิติบัญญัติ ได้แก่ รัฐสภา อำนาจบริหาร ได้แก่ ประธานาธิบดี และอำนาจตุลาการ แต่ละสถาบันเป็นอิสระซึ่งกันและกันไม่มีใครจะมีอำนาจมากกว่ากัน ประธานาธิบดีเป็นอิสระจากรัฐสภาเพราะประชาชนเป็นผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีให้ไปบริหาร และรัฐสภาไม่มีอำนาจจะไปขับไล่ประธานาธิบดีได้ และประธานาธิบดีก็ไม่มีอำนาจจะยุบสภาได้ การปฏิบัติหน้าที่นิติบัญญัติ การริเริ่ม การร่าง และการพิจารณากฎหมายเป็นหน้าที่ของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยวุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร ประธานาธิบดี หรือฝ่ายบริหารไม่มีอำนาจหน้าที่เสนอร่างพระราชบัญญัติ และสถาบันนิติบัญญัติ หรือรัฐสภาก็ไม่มีบทบาทหน้าที่จะไปก้าวก่าย หรือกำกับ หรือตรวจสอบการบริหารงานของฝ่ายบริหารเพื่อการอภิปรายไม่ไว้วางใจ หรือเพื่อเสนอทางเลือกของนโยบายการบริหาร ยกเว้นกรณีของการตรวจสอบความประพฤติของประธานาธิบดี เพื่อถอดถอน และกรณีของการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูง นอกจากนั้นสถาบันตุลาการก็เป็นอิสระจากสถาบันที่กล่าวมาแล้ว แม้ว่าประธานของศาลสูงสุดจะได้รับการเสนอชื่อจากประธานาธิบดี และต้องได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภา แต่เมื่อได้รับการแต่งตั้งแล้ว ประธานของศาลสูงก็จะมีอิสระ ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติจะก้าวก่ายภาระหน้าที่ของฝ่ายตุลาการมิได้[[#_ftn15|[15]]] ส่วนระบบการคานอำนาจ หรือการถ่วงดุลยแห่งอำนาจนั้น รัฐสภาจะมีอำนาจในการร่างกฎหมาย แต่ผู้ที่มีอำนาจขั้นสุดท้ายในการให้ความเห็นชอบคือประธานาธิบดี ซึ่งทำหน้าที่เป็นประมุข เสมือนพระมหากษัตริย์ที่ลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ และประธานาธิบดีมีอำนาจในการยับยั้งพระราชบัญญัติได้ การแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงประธานาธิบดีจะต้องขอความเห็นชอบจากวุฒิสภา[[#_ftn16|[16]]] หลักของอำนาจประธานาธิบดี ประธานาธิบดีจะเป็นตำแหน่งรวมศูนย์แห่งอำนาจการบริหาร ฝ่ายบริหาร จะรวมบทบาทของประมุข เป็นสัญลักษณ์ของชาติคล้ายๆกับกษัตริย์ และบทบาทของผู้นำฝ่ายบริหารไว้ที่ตัวคนเดียวคือ ประธานาธิบดีมีอำนาจในการแต่งตั้งรัฐมนตรี และตำแหน่งบริหารระดับสูงในกระทรวงต่างๆ[[#_ftn17|[17]]] ความแตกต่างระหว่างระบบรัฐสภาและระบบประธานาธิบดีจะแตกต่างกัน 2 ประการหลักคือ รูปแบบรัฐสภาอำนาจรวมศูนย์ที่รัฐสภา ส่วนรูปแบบประธานาธิบดีมีการแยกอำนาจและคานอำนาจของสถาบันการปกครองทั้ง 3 และระบบรัฐสภามีการแยกบทบาทของตำแหน่งประมุขออกจากตำแหน่งผู้นำฝ่ายบริหาร แต่ระบบประธานาธิบดีรวมสองตำแหน่งสองบทบาทไว้ด้วยกัน[[#_ftn18|[18]]] 3. ระบบผสมระหว่างรัฐสภากับระบบประธานาธิบดี โดยระบบนี้จะคงโครงสร้างของระบบรัฐสภา การปกครองประเทศยังคงมีทั้งรัฐสภาทำหน้าที่นิติบัญญัติเลือกหัวหน้าฝ่ายบริหาร และควบคุมการบริหารประเทศ และมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลทำหน้าที่บริหารประเทศโดยรับผิดชอบต่อสภา และขณะเดียวกันก็ยังคงอำนาจหน้าที่บางประการของระบบประธานาธิบดีด้วยโดยกำหนดอำนาจหน้าที่ของประธานาธิบดีให้มีอำนาจหน้าที่เพิ่มมากขึ้น[[#_ftn19|[19]]] ระบบนี้ยังคงยึดโยงกับระบบรัฐสภาโดยนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา ซึ่งสามารถอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีได้ และคณะรัฐมนตรีก็มีอำนาจในการดำเนินนโยบายภายในประเทศ ประธานาธิบดีเป็นอิสระจากรัฐสภา ส่วนรัฐสภาประกอบด้วยสภาสูงและสภาผู้แทนราษฎร นายกรัฐมนตรีมีอำนาจแต่งตั้งรัฐมนตรีโดยสามารถแต่งตั้งบุคคลจากภายนอกรัฐสภาให้เข้ามาเป็นรัฐมนตรีได้ แต่คณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบต่อสภา ระบบนี้ตำแหน่งประธานาธิบดีจะมีความโดดเด่นและมีความสำคัญมากต่อการเป็นผู้นำประเทศ ฉะนั้นระบบนี้จึงใกล้เคียงกับระบบประธานาธิบดีมากกว่าระบบรัฐสภา และอาจจะมีประสิทธิภาพมากกว่าระบบประธานาธิบดีเนื่องจากมีระบบคณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา[[#_ftn20|[20]]]
(2) การแบ่งแยกอำนาจแบบมีความร่วมมือซึ่งกันและกัน โดยการแบ่งแยกอำนาจกันนั้นมิได้ทำให้การร่วมมือกันหมดสิ้นไป[[#_ftn22|[22]]]


 
2. หลักการมีผู้แทนราษฎรคือ การที่ประชาชนมอบอำนาจส่วนหนึ่งให้กับผู้อื่น ซึ่งแต่เดิมเป็นความคิดของชนชั้นมั่งมีที่มีบทบาททางทางเศรษฐกิจและการเมือง การมีผู้แทนราษฎรจะเป็นผลดีแก่ตนคือสามารถลดอำนาจพระมหากษัตริย์ลงได้โดยการโอนอำนาจนิติบัญญัติให้กับชาติซึ่งตนเข้าทำการแทนในรัฐสภา เป็นการกีดกันประชาชนที่มิใช่พวกตนเองไม่ให้เข้าไปมีส่วนร่วมในการปกครองบริหารประเทศ แต่ปัจจุบันความจำเป็นที่จะลิดรอนอำนาจพระมหากษัตริย์ และการกีดกันประชาชนไม่ให้เข้าไปมีส่วนร่วมในการบริหารประเทศได้หมดไป ความเป็นประชาธิปไตยมีความเด่นชัดขึ้น ซึ่งหลักการมีผู้แทนราษฎรนี้ จะมีแนวคิดว่า อำนาจอธิปไตยเป็นของชาติมิใช่เป็นของบุคคลหนึ่ง หรือกลุ่มบุคคลใด บุคคลเป็นส่วนประกอบของชาติ ประชาชนในประเทศร่วมกันใช้สิทธิใช้อำนาจอธิปไตยเป็นส่วนรวม จึงไม่มีบุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลใดใช้อำนาจนี้เป็นเอกเทศได้ เมื่ออำนาจอธิปไตยเป็นของชาติชาติซึ่งไม่มีตัวตนก็ไม่สามารถใช้อำนาจนี้ได้จึงต้องมีการสรรหาบุคคลกลุ่มหนึ่งมาใช้อำนาจนี้แทนชาติ จึงเป็นที่มาของการมีผู้แทนราษฎร ด้วยเหตุนี้ผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกจึงเป็นผู้แทนของราษฎรทั้งหมด มิใช่เป็นผู้แทนเขตการเลือกตั้งเขตหนึ่งเขตใดโดยเฉพาะ[[#_ftn23|[23]]]


'''หลักการการปกครองระบอบ''''''ประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภา'''
3. หลักการตามกฎหมายคือ การปกครองในแบบรัฐสภานี้ จำเป็นที่จะต้องดำเนินไปตามกฎเกณฑ์ที่เขียนไว้เป็นตัวบทอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร หรือดำเนินไปตามกฎเกณฑ์ที่เป็นจารีตประเพณี โดยการที่มีการยอมรับนับถือและปฏิบัติตามกฎเหล่านี้อย่างทั่วถึงกันถือได้ว่าเป็นหลักการตามกฎหมาย[[#_ftn24|[24]]] หลักการตามกฎหมายนั้นมีการแบ่งแยกชั้นต่างๆของกฎเกณฑ์ โดยทั่วไป รัฐธรรมนูญย่อมอยู่เหนือกฎเกณฑ์ทั่วไป แต่บางบางประเทศเช่นประเทศอังกฤษแม้ว่าจะไม่มีการเขียนรัฐธรรมนูญเป็นลายลักษณ์อักษรทั้งหมดแต่กฎเกณฑ์บางอย่างก็มีศักดิ์เป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญและได้รับการยอมรับนับถือ[[#_ftn25|[25]]] กฎหมายทั่วไปก็มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ารัฐธรรมนูญ เนื่องจากหลักการมีผู้แทนราษฎรทำให้กฎหมายที่ผ่านรัฐสภาได้ชื่อว่าอยู่เหนือสิ่งอื่นเพราะถือว่าเป็นความต้องการของประชาชนเจ้าของประเทศ กฎหมายจะเป็นเครื่องมือปกป้องสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และเป็นสิ่งที่กำหนดขอบเขตสิทธิเสรีภาพของประชาชน  กฎหมายจึงมีความสำคัญกว่าสิ่งอื่น เหนือกว่าคำสั่งกฎเกณฑ์ ข้อบังคับของฝ่ายบริหาร โดยฝ่ายบริหารจำเป็นจะต้องอิงอำนาจกฎหมายและไม่ขัดต่อกฎหมายด้วย


            หลักใหญ่ๆ ที่เป็นพื้นฐานสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภาจะต้องประกอบไปด้วยหลักการที่สำคัญคือ 1. หลักการแบ่งแยกอำนาจ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภา การแบ่งแยกอำนาจเป็นการประกันอิสระเสรีภาพของประชาชน ทั้งนี้เพราะผู้ใดมีอำนาจผู้นั้นมักมีแนวโน้มในการที่จะใช้อำนาจไปในทางที่ผิด วิธีที่ดีที่สุดคือการแบ่งแยกอำนาจออกเป็น 3 ส่วนคือ อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจตุลาการ[[#_ftn21|[21]]] โดยการแบ่งแยกอำนาจนั้นมีแนวความคิดเกี่ยวกับการแบ่งแยกอำนาจเป็น 2 แบบคือ (1) การแบ่งแยกอำนาจหน้าที่อย่างเด็ดขาด โดยอำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจตุลาการ ต่างฝ่ายต่างก็เป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องก้าวก่ายกัน (2) การแบ่งแยกอำนาจแบบมีความร่วมมือซึ่งกันและกัน โดยการแบ่งแยกอำนาจกันนั้นมิได้ทำให้การร่วมมือกันหมดสิ้นไป[[#_ftn22|[22]]] 2. หลักการมีผู้แทนราษฎรคือ การที่ประชาชนมอบอำนาจส่วนหนึ่งให้กับผู้อื่น ซึ่งแต่เดิมเป็นความคิดของชนชั้นมั่งมีที่มีบทบาททางทางเศรษฐกิจและการเมือง การมีผู้แทนราษฎรจะเป็นผลดีแก่ตนคือสามารถลดอำนาจพระมหากษัตริย์ลงได้โดยการโอนอำนาจนิติบัญญัติให้กับชาติซึ่งตนเข้าทำการแทนในรัฐสภา เป็นการกีดกันประชาชนที่มิใช่พวกตนเองไม่ให้เข้าไปมีส่วนร่วมในการปกครองบริหารประเทศ แต่ปัจจุบันความจำเป็นที่จะลิดรอนอำนาจพระมหากษัตริย์ และการกีดกันประชาชนไม่ให้เข้าไปมีส่วนร่วมในการบริหารประเทศได้หมดไป ความเป็นประชาธิปไตยมีความเด่นชัดขึ้น ซึ่งหลักการมีผู้แทนราษฎรนี้ จะมีแนวคิดว่า อำนาจอธิปไตยเป็นของชาติมิใช่เป็นของบุคคลหนึ่ง หรือกลุ่มบุคคลใด บุคคลเป็นส่วนประกอบของชาติ ประชาชนในประเทศร่วมกันใช้สิทธิใช้อำนาจอธิปไตยเป็นส่วนรวม จึงไม่มีบุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลใดใช้อำนาจนี้เป็นเอกเทศได้ เมื่ออำนาจอธิปไตยเป็นของชาติชาติซึ่งไม่มีตัวตนก็ไม่สามารถใช้อำนาจนี้ได้จึงต้องมีการสรรหาบุคคลกลุ่มหนึ่งมาใช้อำนาจนี้แทนชาติ จึงเป็นที่มาของการมีผู้แทนราษฎร ด้วยเหตุนี้ผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกจึงเป็นผู้แทนของราษฎรทั้งหมด มิใช่เป็นผู้แทนเขตการเลือกตั้งเขตหนึ่งเขตใดโดยเฉพาะ[[#_ftn23|[23]]] 3. หลักการตามกฎหมายคือ การปกครองในแบบรัฐสภานี้ จำเป็นที่จะต้องดำเนินไปตามกฎเกณฑ์ที่เขียนไว้เป็นตัวบทอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร หรือดำเนินไปตามกฎเกณฑ์ที่เป็นจารีตประเพณี โดยการที่มีการยอมรับนับถือและปฏิบัติตามกฎเหล่านี้อย่างทั่วถึงกันถือได้ว่าเป็นหลักการตามกฎหมาย[[#_ftn24|[24]]] หลักการตามกฎหมายนั้นมีการแบ่งแยกชั้นต่างๆของกฎเกณฑ์ โดยทั่วไป รัฐธรรมนูญย่อมอยู่เหนือกฎเกณฑ์ทั่วไป แต่บางบางประเทศเช่นประเทศอังกฤษแม้ว่าจะไม่มีการเขียนรัฐธรรมนูญเป็นลายลักษณ์อักษรทั้งหมดแต่กฎเกณฑ์บางอย่างก็มีศักดิ์เป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญและได้รับการยอมรับนับถือ[[#_ftn25|[25]]] กฎหมายทั่วไปก็มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ารัฐธรรมนูญ เนื่องจากหลักการมีผู้แทนราษฎรทำให้กฎหมายที่ผ่านรัฐสภาได้ชื่อว่าอยู่เหนือสิ่งอื่นเพราะถือว่าเป็นความต้องการของประชาชนเจ้าของประเทศ กฎหมายจะเป็นเครื่องมือปกป้องสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และเป็นสิ่งที่กำหนดขอบเขตสิทธิเสรีภาพของประชาชน  กฎหมายจึงมีความสำคัญกว่าสิ่งอื่น เหนือกว่าคำสั่งกฎเกณฑ์ ข้อบังคับของฝ่ายบริหาร โดยฝ่ายบริหารจำเป็นจะต้องอิงอำนาจกฎหมายและไม่ขัดต่อกฎหมายด้วย
            ในระบบรัฐสภาโดยหลักการพื้นฐานอย่างเดียวยังไม่เพียงพอที่จะกำหนดว่าเป็นการปกครองระบบรัฐสภาหรือไม่ โดยทั่วไปแล้วระบบรัฐสภาที่มีอยู่แต่ละระบบก็มีความแตกต่างแยกแยะออกไปมากมาย แต่ระบอบการปกครองที่จะถือว่าเป็นการปกครองระบบรัฐสภาจะต้องประกอบไปด้วยหลักการทฤษฎีที่สำคัญ 2 หลักใหญ่ๆ คือ


            ในระบบรัฐสภาโดยหลักการพื้นฐานอย่างเดียวยังไม่เพียงพอที่จะกำหนดว่าเป็นการปกครองระบบรัฐสภาหรือไม่ โดยทั่วไปแล้วระบบรัฐสภาที่มีอยู่แต่ละระบบก็มีความแตกต่างแยกแยะออกไปมากมาย แต่ระบอบการปกครองที่จะถือว่าเป็นการปกครองระบบรัฐสภาจะต้องประกอบไปด้วยหลักการทฤษฎีที่สำคัญ 2 หลักใหญ่ๆ คือ 1. หลักทฤษฎีแห่งดุลยภาพ โดยทฤษฎีนี้จะถือว่าการปกครองระบบรัฐสภาเป็นระบบที่ได้ดุลยในการปกครองอย่างดีที่สุด โดยฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารจะต้องมีมาตรการที่จะใช้อำนาจของตนคานกับอำนาจอีกฝ่ายหนึ่งอย่างได้ผล โดยรัฐสภาอาจตั้งกระทู้ถามเกี่ยวกับนโยบายหรือการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลได้ อาจขอเปิดอภิปรายลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาลเป็นเหตุให้รัฐบาลต้องลาออกได้ ในทำนองเดียวกัน รัฐมนตรีก็มีสิทธิที่จะเข้าไปแถลงชี้แจงปัญหาต่างๆในการบริหารประเทศในรัฐสภาได้ และฝ่ายบริหารก็ยุบสภาได้[[#_ftn26|[26]]] 2. หลักทฤษฎีว่าด้วยความรับผิดชอบทางการเมืองคือ เมื่อใดก็ตามที่รัฐสภาไม่ให้ความไว้วางใจ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการลาออกจากตำแหน่ง
1. หลักทฤษฎีแห่งดุลยภาพ โดยทฤษฎีนี้จะถือว่าการปกครองระบบรัฐสภาเป็นระบบที่ได้ดุลยในการปกครองอย่างดีที่สุด โดยฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารจะต้องมีมาตรการที่จะใช้อำนาจของตนคานกับอำนาจอีกฝ่ายหนึ่งอย่างได้ผล โดยรัฐสภาอาจตั้งกระทู้ถามเกี่ยวกับนโยบายหรือการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลได้ อาจขอเปิดอภิปรายลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาลเป็นเหตุให้รัฐบาลต้องลาออกได้ ในทำนองเดียวกัน รัฐมนตรีก็มีสิทธิที่จะเข้าไปแถลงชี้แจงปัญหาต่างๆในการบริหารประเทศในรัฐสภาได้ และฝ่ายบริหารก็ยุบสภาได้[[#_ftn26|[26]]]


 
2. หลักทฤษฎีว่าด้วยความรับผิดชอบทางการเมืองคือ เมื่อใดก็ตามที่รัฐสภาไม่ให้ความไว้วางใจ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการลาออกจากตำแหน่ง


'''จำนวนสภาที่ประกอบกันเป็นรัฐสภา'''
'''จำนวนสภาที่ประกอบกันเป็นรัฐสภา'''


            โดยทั่วไปประเทศต่างๆจะมีจำนวนสภาที่ประกอบกันเข้าเป็นรัฐสภา 2 แบบใหญ่ๆ คือ แบบสภาเดี่ยว และแบบสองสภา 1. สภาเดี่ยวคือ รัฐสภาที่มีนิติบัญญัติเพียงสภาเดียวทำหน้าที่ออกกฎหมาย และควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล การเข้าสู่ตำแหน่งจะมาจากการเลือกตั้งอย่างเดียว หรือแต่งตั้งอย่างเดียว หรืออาจจะมาจากทั้งการเลือกตั้งและแต่งตั้งก็ได้ แล้วแต่ประเทศนั้นๆ จะกำหนด ทำหน้าที่เป็นผู้วางนโยบายของประเทศ 2. สองสภาคือ รัฐสภาที่มีนิติบัญญัติประกอบด้วยสภาสองสภาคือ สภาสูง และสภาล่างซึ่งมีชื่อเรียกแตกต่างกันไป โดยทั่วไปการเข้าสู่ตำแหน่งและวาระการดำรงตำแหน่งของสภาสูงส่วนใหญ่มักจะแต่งตั้งจากกลุ่มอาชีพต่างๆ เพื่อช่วยกลั่นกรองงานในหน้าที่รับผิดชอบของสภาล่าง[[#_ftn27|[27]]] อาจจะมาจากการเลือกตั้งอย่างเดียว หรืออาจจะมาจากการแต่งตั้งอย่างเดียว หรืออาจจะมาทั้งจากการเลือกตั้งและแต่งตั้งก็ได้อาจจะมาจากการสืบตระกูล แล้วแต่ประเทศนั้นๆ จะกำหนด ส่วนการดำรงตำแหน่งส่วนหนึ่งจะขึ้นอยู่กับรัฐธรรมนูญ ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับประวัติศาสตร์ความเป็นมา ส่วนสภาล่าง หรือสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน[[#_ftn28|[28]]] โดยทั่วไปสภาล่างเป็นแหล่งที่บัญญัติกฎหมายที่สำคัญ[[#_ftn29|[29]]] ซึ่งแบบสองสภานี้ สภานิติบัญญัติจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย หรือสองประเภท โดยให้สภาล่างมีบทบาทอย่างแท้จริงในการตรากฎหมายและอีกสภาหนึ่งคือสภาสูงทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา คอยยับยั้งหรือกลั่นกรองการใช้อำนาจของสภาล่าง
            โดยทั่วไปประเทศต่างๆจะมีจำนวนสภาที่ประกอบกันเข้าเป็นรัฐสภา 2 แบบใหญ่ๆ คือ แบบสภาเดี่ยว และแบบสองสภา


 
1. สภาเดี่ยวคือ รัฐสภาที่มีนิติบัญญัติเพียงสภาเดียวทำหน้าที่ออกกฎหมาย และควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล การเข้าสู่ตำแหน่งจะมาจากการเลือกตั้งอย่างเดียว หรือแต่งตั้งอย่างเดียว หรืออาจจะมาจากทั้งการเลือกตั้งและแต่งตั้งก็ได้ แล้วแต่ประเทศนั้นๆ จะกำหนด ทำหน้าที่เป็นผู้วางนโยบายของประเทศ
 
2. สองสภาคือ รัฐสภาที่มีนิติบัญญัติประกอบด้วยสภาสองสภาคือ สภาสูง และสภาล่างซึ่งมีชื่อเรียกแตกต่างกันไป โดยทั่วไปการเข้าสู่ตำแหน่งและวาระการดำรงตำแหน่งของสภาสูงส่วนใหญ่มักจะแต่งตั้งจากกลุ่มอาชีพต่างๆ เพื่อช่วยกลั่นกรองงานในหน้าที่รับผิดชอบของสภาล่าง[[#_ftn27|[27]]] อาจจะมาจากการเลือกตั้งอย่างเดียว หรืออาจจะมาจากการแต่งตั้งอย่างเดียว หรืออาจจะมาทั้งจากการเลือกตั้งและแต่งตั้งก็ได้อาจจะมาจากการสืบตระกูล แล้วแต่ประเทศนั้นๆ จะกำหนด ส่วนการดำรงตำแหน่งส่วนหนึ่งจะขึ้นอยู่กับรัฐธรรมนูญ ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับประวัติศาสตร์ความเป็นมา ส่วนสภาล่าง หรือสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน[[#_ftn28|[28]]] โดยทั่วไปสภาล่างเป็นแหล่งที่บัญญัติกฎหมายที่สำคัญ[[#_ftn29|[29]]] ซึ่งแบบสองสภานี้ สภานิติบัญญัติจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย หรือสองประเภท โดยให้สภาล่างมีบทบาทอย่างแท้จริงในการตรากฎหมายและอีกสภาหนึ่งคือสภาสูงทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา คอยยับยั้งหรือกลั่นกรองการใช้อำนาจของสภาล่าง
 
== '''อำนาจหน้าที่ของรัฐสภาในการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภา''' ==
 
            ในระบบนี้อำนาจศูนย์กลางจะอยู่ที่รัฐสภา เป็นศูนย์กลางของอำนาจทางการเมือง[[#_ftn30|[30]]] และเป็นองค์กรสูงสุดที่เป็นที่รวมเจตจำนงของประชาชนทั้งประเทศ โดยทั่วไปจะมีอำนาจหน้าที่ต่างๆ คือ
 
1. อำนาจนิติบัญญัติคือ มีหน้าที่ในการริเริ่มเสนอกฎหมาย พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายหลัก[[#_ftn31|[31]]]กฎหมายที่สำคัญ และกฎหมายต่างๆ รวมทั้งอนุมัติใช้กฎหมายรวมทั้งการยกเลิกกฎหมายด้วย
 
2. อำนาจหน้าที่เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญคือ อำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญรวมถึงการพิจารณาอนุมัติให้มีการใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ การตีความรัฐธรรมนูญ เป็นต้น หรืออาจะให้ประชาชนเป็น ผู้ตัดสินในการที่จะให้มีการดำเนินแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ กรณีที่รัฐสภาตกลงกันไม่ได้ประชาชนทั้งหมดจะเป็นผู้ตัดสินลงมติว่าสมควรจะให้มีการแก้ไขปัญหารัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึ่งหลักเกณฑ์จะเป็นไปตามที่ประเทศนั้นๆ จะกำหนด
 
3. อำนาจหน้าที่ในการจัดให้มีและรับรองฝ่ายบริหาร รวมทั้งการตรวจสอบ การควบคุม ตลอดจนการถอดถอนฝ่ายบริหารประเทศ
 
4. สรรหาและรับรองบุคคลมาเป็นนายกรัฐมนตรีโดยให้ประมุขแต่งตั้ง และให้การรับรองโดยชัดแจ้งหรือโดยปริยาย ซึ่งบุคคลหรือคณะบุคคลที่นายกรัฐมนตรีเสนอชื่อให้ประมุขแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี
 
5. ตรวจสอบควบคุมฝ่ายบริหารด้วยตรากฎหมาย หรือไม่ตรากฎหมาย ให้อำนาจตั้งกระทู้ถามนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี เปิดอภิปรายทั่วไปในเรื่องต่างๆ โดยไม่มีการลงมติตั้งคณะกรรมาธิการหรือคณะทำงานเพื่อตรวจสอบหรือติดตามการทำงานของรัฐบาลหรือหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ
 
6. ถอดถอนนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลหรือทั้งคณะโดยการเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ 7. การมีส่วนในการใช้อำนาจบริหาร
 
8. อำนาจการฟ้องร้องฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ
 
9. อำนาจในการกำหนดหน้าที่ในการกำหนดคุณสมบัติของสมาชิกของตน โดยสมาชิกรัฐสภาของแต่ละประเทศจะมีสภาพอย่างไร มีคุณสมบัติประการใดก็แล้วแต่รัฐสภาประเทศนั้นๆ จะกำหนดไว้
 
10.. อำนาจหน้าที่ในการเลือกเจ้าหน้าที่ของตนเอง เช่นประธานสภาล่าง
 
11. อำนาจหน้าที่ให้ความเห็นชอบหรือให้สัตยาบันเรื่องสำคัญของประเทศ เช่น การลงนามสนธิสัญญา ประกาศสงคราม
 
12. อำนาจหน้าที่ในเรื่องการรับฟังสะท้อนความต้องการ และความทุกข์ของประชาชนให้ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบได้รับทราบเพื่อแก้ไขปัญหาให้ ทั้งนี้ อาจเป็นการรับฟังด้วยวิธีการต่างๆ โดยสมาชิกสภา แต่ละคน โดยกลุ่มสมาชิก โดยพรรคการเมืองที่สังกัด หรืออาจโดยการตั้งคณะกรรมาธิการต่าง คณะทำงาน จัดประชุม เพื่อศึกษาและรับฟังปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไข


* 
13. อำนาจหน้าที่ในการให้ความรู้ความเข้าใจ หรือให้การศึกษาในเรื่องต่างๆของชาติบ้านเมือง แก่ประชาชนด้วยวิธีการต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ


            ในระบบนี้อำนาจศูนย์กลางจะอยู่ที่รัฐสภา เป็นศูนย์กลางของอำนาจทางการเมือง[[#_ftn30|[30]]] และเป็นองค์กรสูงสุดที่เป็นที่รวมเจตจำนงของประชาชนทั้งประเทศ โดยทั่วไปจะมีอำนาจหน้าที่ต่างๆ คือ 1. อำนาจนิติบัญญัติคือ มีหน้าที่ในการริเริ่มเสนอกฎหมาย พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายหลัก[[#_ftn31|[31]]]กฎหมายที่สำคัญ และกฎหมายต่างๆ รวมทั้งอนุมัติใช้กฎหมายรวมทั้งการยกเลิกกฎหมายด้วย 2. อำนาจหน้าที่เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญคือ อำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญรวมถึงการพิจารณาอนุมัติให้มีการใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ การตีความรัฐธรรมนูญ เป็นต้น หรืออาจะให้ประชาชนเป็น ผู้ตัดสินในการที่จะให้มีการดำเนินแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ กรณีที่รัฐสภาตกลงกันไม่ได้ประชาชนทั้งหมดจะเป็นผู้ตัดสินลงมติว่าสมควรจะให้มีการแก้ไขปัญหารัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึ่งหลักเกณฑ์จะเป็นไปตามที่ประเทศนั้นๆ จะกำหนด 3. อำนาจหน้าที่ในการจัดให้มีและรับรองฝ่ายบริหาร รวมทั้งการตรวจสอบ การควบคุม ตลอดจนการถอดถอนฝ่ายบริหารประเทศ 4. สรรหาและรับรองบุคคลมาเป็นนายกรัฐมนตรีโดยให้ประมุขแต่งตั้ง และให้การรับรองโดยชัดแจ้งหรือโดยปริยาย ซึ่งบุคคลหรือคณะบุคคลที่นายกรัฐมนตรีเสนอชื่อให้ประมุขแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี 5. ตรวจสอบควบคุมฝ่ายบริหารด้วยตรากฎหมาย หรือไม่ตรากฎหมาย ให้อำนาจตั้งกระทู้ถามนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี เปิดอภิปรายทั่วไปในเรื่องต่างๆ โดยไม่มีการลงมติตั้งคณะกรรมาธิการหรือคณะทำงานเพื่อตรวจสอบหรือติดตามการทำงานของรัฐบาลหรือหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ 6. ถอดถอนนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลหรือทั้งคณะโดยการเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ 7. การมีส่วนในการใช้อำนาจบริหาร 8. อำนาจการฟ้องร้องฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ 9. อำนาจในการกำหนดหน้าที่ในการกำหนดคุณสมบัติของสมาชิกของตน โดยสมาชิกรัฐสภาของแต่ละประเทศจะมีสภาพอย่างไร มีคุณสมบัติประการใดก็แล้วแต่รัฐสภาประเทศนั้นๆ จะกำหนดไว้ 10. อำนาจหน้าที่ในการเลือกเจ้าหน้าที่ของตนเอง เช่นประธานสภาล่าง 11. อำนาจหน้าที่ให้ความเห็นชอบหรือให้สัตยาบันเรื่องสำคัญของประเทศ เช่น การลงนามสนธิสัญญา ประกาศสงคราม 12. อำนาจหน้าที่ในเรื่องการรับฟังสะท้อนความต้องการ และความทุกข์ของประชาชนให้ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบได้รับทราบเพื่อแก้ไขปัญหาให้ ทั้งนี้ อาจเป็นการรับฟังด้วยวิธีการต่างๆ โดยสมาชิกสภา แต่ละคน โดยกลุ่มสมาชิก โดยพรรคการเมืองที่สังกัด หรืออาจโดยการตั้งคณะกรรมาธิการต่าง คณะทำงาน จัดประชุม เพื่อศึกษาและรับฟังปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไข 13. อำนาจหน้าที่ในการให้ความรู้ความเข้าใจ หรือให้การศึกษาในเรื่องต่างๆของชาติบ้านเมือง แก่ประชาชนด้วยวิธีการต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ 14. อำนาจหน้าที่อื่น
14. อำนาจหน้าที่อื่น


'''บรรณานุกรม'''
== '''บรรณานุกรม''' ==


โกสินทร์ วงศ์สุรวัฒน์''.'''''ความเป็นมาของการปกครองในระบบรัฐสภา และระบบรัฐสภาในประเทศไทย.'''''''พิมพ์ครั้งที่ 2: ห้างหุ้นส่วนจำกัด แพร่พิทยา อินเตอร์เนชั่นแนล,กรุงเทพฯ. 2518.
โกสินทร์ วงศ์สุรวัฒน์''.'''''ความเป็นมาของการปกครองในระบบรัฐสภา และระบบรัฐสภาในประเทศไทย.'''''''พิมพ์ครั้งที่ 2: ห้างหุ้นส่วนจำกัด แพร่พิทยา อินเตอร์เนชั่นแนล,กรุงเทพฯ. 2518.''


จรูญ สุภาพ''.'' '''หลักรัฐศาสตร์ ฉบับพิสดาร แนวทฤษฎีและประยุกต์'''.''''พิมพ์ครั้งที่ 1: บริษัทโรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, กรุงเทพฯ. 2518.
จรูญ สุภาพ''.'' '''หลักรัฐศาสตร์ ฉบับพิสดาร แนวทฤษฎีและประยุกต์'''.''''พิมพ์ครั้งที่ 1: บริษัทโรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, กรุงเทพฯ. 2518.'''


จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ. 2551''.'' '''หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์'''.''''พิมพ์ครั้งที่ 6: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551.
จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ. 2551''.'' '''หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์'''.''''พิมพ์ครั้งที่ 6: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551.'''


นิยม รัฐอมฤต. '''''การปกครองระบอบประชาธิปไตยในนานาประเทศ'''''.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ. 2553.
นิยม รัฐอมฤต. '''''การปกครองระบอบประชาธิปไตยในนานาประเทศ'''''.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ. 2553.
บรรทัดที่ 60: บรรทัดที่ 94:
วิชัย ตันศิริ. '''''วิวัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย'''''.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 2548.
วิชัย ตันศิริ. '''''วิวัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย'''''.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 2548.


วิสุทธิ์ โพธิแท่น''.'''''แนวคิดพื้นฐานของประชาธิปไตย.'''''''พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2550.
วิสุทธิ์ โพธิแท่น''.'''''แนวคิดพื้นฐานของประชาธิปไตย.'''''''พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2550.''


 
 


'''หนังสือแนะนำ'''
== '''หนังสือแนะนำ''' ==


สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. '''วุฒิสภาไทย''': กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา,กรุงเทพฯ. 2540.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. '''วุฒิสภาไทย''': กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา,กรุงเทพฯ. 2540.
<div>&nbsp;
 
----
== '''อ้างอิง''' ==
<div id="ftn1">
<div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]] จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ''.''&nbsp;หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์.''''พิมพ์ครั้งที่ 6: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551, หน้า185'''.'''
[[#_ftnref1|[1]]] จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ''.''&nbsp;หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์.''''พิมพ์ครั้งที่ 6: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551, หน้า185'''.
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] วิชัย ตันศิริ. วิวัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 2548. หน้า53
[[#_ftnref2|[2]]] วิชัย ตันศิริ. วิวัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 2548. หน้า53
บรรทัดที่ 122: บรรทัดที่ 156:
[[#_ftnref26|[26]]] เรื่องเดียวกัน, หน้า 25.
[[#_ftnref26|[26]]] เรื่องเดียวกัน, หน้า 25.
</div> <div id="ftn27">
</div> <div id="ftn27">
[[#_ftnref27|[27]]] จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ''.''หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์'''', หน้า 188.
[[#_ftnref27|[27]]] จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ''.''หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์'''', หน้า 188.'''
</div> <div id="ftn28">
</div> <div id="ftn28">
[[#_ftnref28|[28]]] เรื่องเดียวกัน, หน้า 188.
[[#_ftnref28|[28]]] เรื่องเดียวกัน, หน้า 188.
</div> <div id="ftn29">
</div> <div id="ftn29">
[[#_ftnref29|[29]]] จรูญ สุภาพ''.''&nbsp;หลักรัฐศาสตร์ ฉบับพิสดาร แนวทฤษฎีและประยุกต์.''''พิมพ์ครั้งที่ 1: บริษัทโรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, กรุงเทพฯ. 2518, หน้า 418.
[[#_ftnref29|[29]]] จรูญ สุภาพ''.''&nbsp;หลักรัฐศาสตร์ ฉบับพิสดาร แนวทฤษฎีและประยุกต์.''''พิมพ์ครั้งที่ 1: บริษัทโรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, กรุงเทพฯ. 2518, หน้า 418.'''
</div> <div id="ftn30">
</div> <div id="ftn30">
[[#_ftnref30|[30]]] จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ''.''&nbsp;หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์'''', หน้า 185.
[[#_ftnref30|[30]]] จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ''.''&nbsp;หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์'''', หน้า 185.'''
</div> <div id="ftn31">
</div> <div id="ftn31">
[[#_ftnref31|[31]]] วิสุทธิ์ โพธิแท่น''.''แนวคิดพื้นฐานของประชาธิปไตย'''', หน้า 99.
[[#_ftnref31|[31]]] วิสุทธิ์ โพธิแท่น''.''แนวคิดพื้นฐานของประชาธิปไตย'''', หน้า 99.'''


&nbsp;
&nbsp;
</div> </div>
</div>
[[หมวดหมู่: รัฐสภา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:42, 23 พฤษภาคม 2560

ผู้เรียบเรียง : อมรรัตน์ รัตนกิจเจริญ

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง

บทนำ

            การปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภานั้น อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนในประเทศร่วมกันใช้สิทธิใช้อำนาจอธิปไตยเป็นส่วนรวม ประชาชนเป็นเจ้าของประเทศ มีสิทธิและหน้าที่ที่จะจัดการปกครองประเทศ รัฐบาลซึ่งเป็นองค์การจัดการปกครองประเทศจะเป็นของประชาชน โดยมีที่ประชุมของผู้แทนประชาชนซึ่งทำหน้าที่ปกครองประเทศเรียกว่า “รัฐสภา” รัฐสภา เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสำคัญต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย[1] โดยระบบนี้รัฐสภาจะมีอำนาจสูงสุด  อำนาจศูนย์กลางอยู่ที่รัฐสภา รัฐสภาจะเป็นแหล่งเดียวที่เป็น “ผู้แทน” ของประชาชนโดยตรง เป็นที่รวมและที่แสดงเจตจำนงสูงสุดของประชาชนทั้งหมด เป็นที่แสดงแนวความคิดและเป็นตัวแทนของการตัดสินใจของประชาชน โดยรัฐสภาจะต้องประกอบด้วย หลักการและทฤษฏีที่สำคัญของรัฐสภา จึงจะเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนระบบรัฐสภา อำนาจหน้าที่ที่สำคัญของรัฐสภาคือ การตรากฎหมายมาใช้เป็นกฎเกณฑ์การปกครองประเทศ มีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล และมีอำนาจหน้าที่อื่นๆ นอกจากนี้ รัฐสภายังเป็นที่มาของฝ่ายบริหาร หรือรัฐบาลอีกด้วย

ความหมาย

            ในระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนระบบรัฐสภา รัฐสภาคือ สถาบันนิติบัญญัติ และเป็นสถาบันที่มีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมดูแลการปกครอง การบริหารของฝ่ายรัฐบาล รวมทั้งเป็นสถาบันที่ทำหน้าที่ในฐานะที่เป็นตัวแทนของประชาชน

ที่มาของรัฐสภา

            มนุษย์ไม่อาจที่จะอยู่โดดเดี่ยวเพียงลำพังได้ จำเป็นที่จะต้องอยู่ร่วมกันเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ก่อให้เกิดชุมชน และสังคมมนุษย์ การรวมกลุ่มที่มีวิวัฒนาการติดต่อกันเป็นเวลานานตามลำดับ จากกลุ่มเล็กๆ ค่อยๆ ขยายใหญ่ขึ้นและมีการวิวัฒนาการจัดเป็นองค์กรทางการเมืองขึ้นเป็น รัฐ โดยรัฐจะต้องประกอบด้วยลักษณะสำคัญ 4 ประการ 1. มีประชาชนจำนวนหนึ่งอาศัยอยู่ 2. มีดินแดนที่มีอาณาเขตที่แน่นอน ประกอบไปด้วย พื้นน้ำ พื้นดิน และพื้นอากาศ 3. มีรัฐบาลคือ มีองค์การและคณะบุคคลที่ใช้อำนาจในการปกครองประเทศอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นกับรัฐบาลของรัฐอื่นใด 4. มีอำนาจอธิปไตยคือ มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เมื่อรัฐมีอำนาจอธิปไตยรัฐจึงมีอำนาจเหนือบุคคลทุกคน และสมาคมทุกสมาคมในดินแดนของรัฐโดยไม่มีข้อยกเว้นสิ่งอื่นใดจะมีอำนาจยิ่งกว่าหรือขัดต่ออำนาจอธิปไตยหาได้ไม่ อำนาจอธิปไตยนั้นจะต้องมีทั้งอำนาจอธิปไตยภายในซึ่งเป็นอำนาจสูงสุดในการออกกฎหมาย รักษากฎหมาย และการใช้กฎหมายในเขตดินแดนของรัฐนั้น และอำนาจอธิปไตยภายนอก หรือเอกราชของรัฐ โดยรัฐจะสามารถดำเนินความสัมพันธ์กับรัฐอื่นๆ รวมถึงอำนาจที่จะประกาศสงคราม หรือทำสัญญาสันติภาพได้อย่างอิสระโดยปราศจาก การบังคับบัญชาของรัฐอื่น อำนาจอธิปไตย เป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ ทำให้รัฐมีอำนาจในการดำเนินกิจการภายในรัฐ และกิจการระหว่างประเทศได้อย่างเต็มที่ ทำให้รัฐมีอำนาจบังคับและสามารถใช้กำลังเพื่อให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับที่รัฐกำหนดขึ้น และอำนาจอธิปไตยจะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง โดยการปกครองระบอบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยจะเป็นของปวงชน ประชาชนในประเทศร่วมกันใช้สิทธิใช้อำนาจอธิปไตยเป็นส่วนรวม ประชาชนเป็นเจ้าของประเทศ มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ มีสิทธิและหน้าที่ที่จะจัดการปกครองประเทศ รัฐบาลซึ่งเป็นองค์การจัดการปกครองประเทศจึงเป็นของประชาชน

            การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นมาหลายศตวรรษแล้ว ตั้งแต่สมัย กรีก โรมัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยทฤษฎีสัญญาประชาคมมีบทบาทสำคัญต่อการกำเนิดแนวคิด และปรัชญาพื้นฐานที่จะนำไปสู่ระบอบการปกครองในยุคสมัยใหม่ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยนี้มิได้กำเนิดขึ้นมาแบบทันทีทันใด แต่จะวิวัฒนาการมาจากประวัติศาสตร์[2] โดยในประเทศอังกฤษ สถาบันรัฐสภาอังกฤษเกิดจากสถานการณ์ของสังคมศักดินาที่จัดระบบความผูกพันระหว่างกษัตริย์ในฐานะผู้เป็นนายกับขุนนางในฐานะผู้ที่ครองที่ดินจากกษัตริย์ และระบบความผูกพันนี้มีทั้งสิทธิหน้าที่ที่แต่ละฝ่ายต้องยึดถือปฏิบัติ การละเว้นหรือการละเมิดสิทธิดังกล่าวก็จะนำไปสู่การขัดแย้งและการล้มเลิกความสวามิภักดิ์ระบบความผูกพันระหว่างกษัตริย์และขุนนาง รัฐสภาอังกฤษจึงเกิดขึ้นเพื่อป้องกันการขัดแย้งระหว่างกษัตริย์กับขุนนาง โดยรัฐสภาจะต้องประกอบไปด้วยขุนนางและพระระดับราชาคณะ และต่อมาได้เพิ่มผู้แทนจากชุมชนเมือง จึงกลายเป็นต้นแบบรัฐสภาอังกฤษมาถึงปัจจุบัน โดยมิได้มีความเกี่ยวข้องกับแนวคิดประชาธิปไตยใดๆทั้งสิ้น แต่เป็นผลของการขัดแย้งและการประนีประนอมระหว่างกษัตริย์กับขุนนางในการบริหารประเทศ และความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด แต่อย่างไรก็ตามอิทธิพลของปัญญาแนวคิดทฤษฏี เรื่องการกำเนิดของอำนาจมาจากเบื้องล่าง คือประชาชน แนวคิดสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของมวลมนุษย์ที่จะปกป้อง ชีวิต เสรีภาพ และทรัพย์สิน ของตนก็กลายมาเป็นหลักการสำคัญของรัฐสภาอังกฤษ โดยมีการกำหนดให้รัฐสภาเป็นองค์กรหลักหรือตัวแทนประชาชนในการใช้อำนาจอธิปไตยแทนประชนชน เนื่องมาจากการปฏิวัติในประเทศอังกฤษ[3] ประเทศสหรัฐอเมริกา การปกครองระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา เกิดจากเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์จากผู้อพยพจากเมืองแม่ คืออังกฤษ ที่พยายามต่อสู้ดิ้นรนเพื่อสิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนา และระบบการปกครองตนเองของแต่มลรัฐและชุมชนเมือง และที่พยายามต่อสู้ดิ้นรนเพื่ออิสรภาพที่ชาวอเมริกันต่อสู้เพื่อเป็นอิสรภาพจากเมืองแม่ เหล่านี้เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดระบบการปกครองระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา[4] ส่วนประเทศฝรั่งเศส การก่อกำเนิดของรัฐสภาประเทศฝรั่งเศสนั้นเกิดจากระบอบประชาธิปไตยประสบปัญหามากมายในสังคมฝรั่งเศสเริ่มต้นจากการปฏิวัติที่รุนแรง การแสวงหารูปแบบการปกครองที่ได้รับการยอมรับของคนส่วนมากประสบปัญหาที่จะหาจุดลงตัวได้ด้วยความยากลำบากจนกระทั่งได้มีรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐที่ 5[5] ซึ่งเป็นระบบผสมระหว่างระบบรัฐสภาของประเทศอังกฤษกับระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา และประสบความสำเร็จจนถึงปัจจุบัน[6]

การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีวิวัฒนาการตามเส้นทางที่แตกต่างกันซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยจาก 3 ชาติมหาอำนาจนี้คือ ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส เป็นพื้นฐานที่สำคัญของแนวคิดเกี่ยวกับหลักการและรูปแบบของประชาธิปไตยที่แตกต่างกันในปัจจุบัน[7]

รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย

            การจำแนกรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย หากจำแนกตามรูปแบบของการมีส่วนร่วมของประชาชนอาจจำแนกได้ 2 แบบ คือ  1. ระบอบประชาธิปไตยแบบสายตรง โดยประชาชนจะมีส่วนร่วมโดยตรงในการปกครองประเทศ ซึ่งระบบนี้จะเหมาะกับหมู่บ้าน เมืองเล็กๆ หรือชุมชนเมืองขนาดเล็ก 2. ระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนคือ ระบบที่เลือกตัวแทนของประชาชนเข้าสู่รัฐสภาเพื่อทำหน้าที่แทนประชาชน ระบบนี้จะเป็นระบบที่ใช้กับรัฐที่มีเขตการปกครองที่ใหญ่ มีประชากรจำนวนมาก[8] รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนแบ่งออกเป็น 3 ระบบใหญ่ๆ คือ 1. ระบบรัฐสภา ซึ่งเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยมีรัฐสภาเป็นศูนย์กลางอำนาจโดยเลือกตั้งผู้แทนเข้าไปในรัฐสภาก่อนแล้วรัฐสภาจึงทำหน้าที่เลือกรัฐบาล โดยระบบนี้เป็นรูปแบบที่อำนาจมีศูนย์กลางอยู่ที่รัฐสภา ตามหลักการที่ว่า อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน และผู้แทนประชาชนในรัฐสภาจะเป็นตัวแทนของอำนาจอธิปไตยนั้น[9] โดยระบบนี้จะมีหลักการว่าอำนาจสูงสุดเป็นของรัฐสภา ไม่มีอำนาจอื่นใดมาขัดขวางอำนาจของรัฐสภาได้ นอกจากอำนาจทางการเมืองของประชาชน ระบบรัฐสภาจะไม่มีการแบ่งแยกอำนาจบริหารออกจากฝ่ายนิติบัญญัติอย่างเด็ดขาด เพราะคณะรัฐมนตรีเปรียบเสมือนคณะกรรมการของรัฐสภา เพียงแต่เป็นคณะกรรมการในระบบคณะรัฐมนตรีจึงเป็นการบริหารงานภายใต้กำกับของรัฐสภา รูปแบบที่รัฐสภาเป็นศูนย์กลางของอำนาจนั้นไม่ได้หมายความว่า รัฐสภาจะเข้าไปก้าวก่ายการดำเนินงานของศาลตุลาการ อำนาจอันเป็นอิสระของศาลตุลาการได้รับการรองรับตามหลักของการปกครองโดยกฎหมาย เป็นอิสระจากการก้าวก่ายของฝ่ายบริหารแต่ก็ไม่มีอำนาจที่จะขัดแย้งกับกฎหมายที่ออกโดยรัฐสภาหรือมีอำนาจที่จะประกาศว่ากฎหมายใดผิดรัฐธรรมนูญ เหมือนศาลสูงสุดของสหรัฐที่มีอำนาจเช่นกัน[10] แม้รัฐสภาเป็นศูนย์รวมอำนาจ แต่ระบบนี้ก็มีระบบคานอำนาจด้วย[11] 2. ระบบประธานาธิบดีโดยระบบนี้อำนาจบริหารเป็นของประธานาธิบดีที่ได้มาจากการเลือกตั้งของประชาชนประธานาธิบดีเป็นผู้คัดเลือกรัฐบาลเพื่อบริหารประเทศ ระบบนี้เป็นรูปแบบการแยกอำนาจและการคานอำนาจ ที่อำนาจไม่รวมศูนย์ ประธานาธิบดีมีอำนาจเป็นอิสระจากรัฐสภา[12] ลักษณะสำคัญของโครงสร้างการปกครองคือ จะให้ความสำคัญกับฝ่ายบริหาร โดยมีการออกแบบโครงสร้างที่มุ่งให้เกิดความเข็มแข็งแก่ฝ่ายบริหารเพื่อให้ฝ่ายบริหารสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเข้มแข็งไม่ถูกขัดขวางจากฝ่ายนิติบัญญัติ[13] หลักการที่สำคัญที่ทำให้รูปแบบการปกครองแบบประธานาธิบดีแตกต่างจากรูปแบบการปกครองของระบบรัฐสภาคือ หลักการของการแบ่งแยกอำนาจ การคานอำนาจ และหลักของอำนาจประธานาธิบดี[14] หลักการแบ่งแยกอำนาจในระบบรัฐสภาจะมีการรวมศูนย์อำนาจไว้ที่รัฐสภา แต่รูปแบบของประธานาธิบดีจะตรงกันข้ามคือ มีการแบ่งแยกอำนาจ โดยอำนาจนิติบัญญัติ ได้แก่ รัฐสภา อำนาจบริหาร ได้แก่ ประธานาธิบดี และอำนาจตุลาการ แต่ละสถาบันเป็นอิสระซึ่งกันและกันไม่มีใครจะมีอำนาจมากกว่ากัน ประธานาธิบดีเป็นอิสระจากรัฐสภาเพราะประชาชนเป็นผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีให้ไปบริหาร และรัฐสภาไม่มีอำนาจจะไปขับไล่ประธานาธิบดีได้ และประธานาธิบดีก็ไม่มีอำนาจจะยุบสภาได้ การปฏิบัติหน้าที่นิติบัญญัติ การริเริ่ม การร่าง และการพิจารณากฎหมายเป็นหน้าที่ของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยวุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร ประธานาธิบดี หรือฝ่ายบริหารไม่มีอำนาจหน้าที่เสนอร่างพระราชบัญญัติ และสถาบันนิติบัญญัติ หรือรัฐสภาก็ไม่มีบทบาทหน้าที่จะไปก้าวก่าย หรือกำกับ หรือตรวจสอบการบริหารงานของฝ่ายบริหารเพื่อการอภิปรายไม่ไว้วางใจ หรือเพื่อเสนอทางเลือกของนโยบายการบริหาร ยกเว้นกรณีของการตรวจสอบความประพฤติของประธานาธิบดี เพื่อถอดถอน และกรณีของการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูง นอกจากนั้นสถาบันตุลาการก็เป็นอิสระจากสถาบันที่กล่าวมาแล้ว แม้ว่าประธานของศาลสูงสุดจะได้รับการเสนอชื่อจากประธานาธิบดี และต้องได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภา แต่เมื่อได้รับการแต่งตั้งแล้ว ประธานของศาลสูงก็จะมีอิสระ ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติจะก้าวก่ายภาระหน้าที่ของฝ่ายตุลาการมิได้[15] ส่วนระบบการคานอำนาจ หรือการถ่วงดุลยแห่งอำนาจนั้น รัฐสภาจะมีอำนาจในการร่างกฎหมาย แต่ผู้ที่มีอำนาจขั้นสุดท้ายในการให้ความเห็นชอบคือประธานาธิบดี ซึ่งทำหน้าที่เป็นประมุข เสมือนพระมหากษัตริย์ที่ลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ และประธานาธิบดีมีอำนาจในการยับยั้งพระราชบัญญัติได้ การแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงประธานาธิบดีจะต้องขอความเห็นชอบจากวุฒิสภา[16] หลักของอำนาจประธานาธิบดี ประธานาธิบดีจะเป็นตำแหน่งรวมศูนย์แห่งอำนาจการบริหาร ฝ่ายบริหาร จะรวมบทบาทของประมุข เป็นสัญลักษณ์ของชาติคล้ายๆกับกษัตริย์ และบทบาทของผู้นำฝ่ายบริหารไว้ที่ตัวคนเดียวคือ ประธานาธิบดีมีอำนาจในการแต่งตั้งรัฐมนตรี และตำแหน่งบริหารระดับสูงในกระทรวงต่างๆ[17] ความแตกต่างระหว่างระบบรัฐสภาและระบบประธานาธิบดีจะแตกต่างกัน 2 ประการหลักคือ รูปแบบรัฐสภาอำนาจรวมศูนย์ที่รัฐสภา ส่วนรูปแบบประธานาธิบดีมีการแยกอำนาจและคานอำนาจของสถาบันการปกครองทั้ง 3 และระบบรัฐสภามีการแยกบทบาทของตำแหน่งประมุขออกจากตำแหน่งผู้นำฝ่ายบริหาร แต่ระบบประธานาธิบดีรวมสองตำแหน่งสองบทบาทไว้ด้วยกัน[18] 3. ระบบผสมระหว่างรัฐสภากับระบบประธานาธิบดี โดยระบบนี้จะคงโครงสร้างของระบบรัฐสภา การปกครองประเทศยังคงมีทั้งรัฐสภาทำหน้าที่นิติบัญญัติเลือกหัวหน้าฝ่ายบริหาร และควบคุมการบริหารประเทศ และมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลทำหน้าที่บริหารประเทศโดยรับผิดชอบต่อสภา และขณะเดียวกันก็ยังคงอำนาจหน้าที่บางประการของระบบประธานาธิบดีด้วยโดยกำหนดอำนาจหน้าที่ของประธานาธิบดีให้มีอำนาจหน้าที่เพิ่มมากขึ้น[19] ระบบนี้ยังคงยึดโยงกับระบบรัฐสภาโดยนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา ซึ่งสามารถอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีได้ และคณะรัฐมนตรีก็มีอำนาจในการดำเนินนโยบายภายในประเทศ ประธานาธิบดีเป็นอิสระจากรัฐสภา ส่วนรัฐสภาประกอบด้วยสภาสูงและสภาผู้แทนราษฎร นายกรัฐมนตรีมีอำนาจแต่งตั้งรัฐมนตรีโดยสามารถแต่งตั้งบุคคลจากภายนอกรัฐสภาให้เข้ามาเป็นรัฐมนตรีได้ แต่คณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบต่อสภา ระบบนี้ตำแหน่งประธานาธิบดีจะมีความโดดเด่นและมีความสำคัญมากต่อการเป็นผู้นำประเทศ ฉะนั้นระบบนี้จึงใกล้เคียงกับระบบประธานาธิบดีมากกว่าระบบรัฐสภา และอาจจะมีประสิทธิภาพมากกว่าระบบประธานาธิบดีเนื่องจากมีระบบคณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา[20]

หลักการการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภา

            หลักใหญ่ๆ ที่เป็นพื้นฐานสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภาจะต้องประกอบไปด้วยหลักการที่สำคัญคือ

1. หลักการแบ่งแยกอำนาจ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภา การแบ่งแยกอำนาจเป็นการประกันอิสระเสรีภาพของประชาชน ทั้งนี้เพราะผู้ใดมีอำนาจผู้นั้นมักมีแนวโน้มในการที่จะใช้อำนาจไปในทางที่ผิด วิธีที่ดีที่สุดคือการแบ่งแยกอำนาจออกเป็น 3 ส่วนคือ อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจตุลาการ[21] โดยการแบ่งแยกอำนาจนั้นมีแนวความคิดเกี่ยวกับการแบ่งแยกอำนาจเป็น 2 แบบคือ

(1) การแบ่งแยกอำนาจหน้าที่อย่างเด็ดขาด โดยอำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจตุลาการ ต่างฝ่ายต่างก็เป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องก้าวก่ายกัน

(2) การแบ่งแยกอำนาจแบบมีความร่วมมือซึ่งกันและกัน โดยการแบ่งแยกอำนาจกันนั้นมิได้ทำให้การร่วมมือกันหมดสิ้นไป[22]

2. หลักการมีผู้แทนราษฎรคือ การที่ประชาชนมอบอำนาจส่วนหนึ่งให้กับผู้อื่น ซึ่งแต่เดิมเป็นความคิดของชนชั้นมั่งมีที่มีบทบาททางทางเศรษฐกิจและการเมือง การมีผู้แทนราษฎรจะเป็นผลดีแก่ตนคือสามารถลดอำนาจพระมหากษัตริย์ลงได้โดยการโอนอำนาจนิติบัญญัติให้กับชาติซึ่งตนเข้าทำการแทนในรัฐสภา เป็นการกีดกันประชาชนที่มิใช่พวกตนเองไม่ให้เข้าไปมีส่วนร่วมในการปกครองบริหารประเทศ แต่ปัจจุบันความจำเป็นที่จะลิดรอนอำนาจพระมหากษัตริย์ และการกีดกันประชาชนไม่ให้เข้าไปมีส่วนร่วมในการบริหารประเทศได้หมดไป ความเป็นประชาธิปไตยมีความเด่นชัดขึ้น ซึ่งหลักการมีผู้แทนราษฎรนี้ จะมีแนวคิดว่า อำนาจอธิปไตยเป็นของชาติมิใช่เป็นของบุคคลหนึ่ง หรือกลุ่มบุคคลใด บุคคลเป็นส่วนประกอบของชาติ ประชาชนในประเทศร่วมกันใช้สิทธิใช้อำนาจอธิปไตยเป็นส่วนรวม จึงไม่มีบุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลใดใช้อำนาจนี้เป็นเอกเทศได้ เมื่ออำนาจอธิปไตยเป็นของชาติชาติซึ่งไม่มีตัวตนก็ไม่สามารถใช้อำนาจนี้ได้จึงต้องมีการสรรหาบุคคลกลุ่มหนึ่งมาใช้อำนาจนี้แทนชาติ จึงเป็นที่มาของการมีผู้แทนราษฎร ด้วยเหตุนี้ผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกจึงเป็นผู้แทนของราษฎรทั้งหมด มิใช่เป็นผู้แทนเขตการเลือกตั้งเขตหนึ่งเขตใดโดยเฉพาะ[23]

3. หลักการตามกฎหมายคือ การปกครองในแบบรัฐสภานี้ จำเป็นที่จะต้องดำเนินไปตามกฎเกณฑ์ที่เขียนไว้เป็นตัวบทอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร หรือดำเนินไปตามกฎเกณฑ์ที่เป็นจารีตประเพณี โดยการที่มีการยอมรับนับถือและปฏิบัติตามกฎเหล่านี้อย่างทั่วถึงกันถือได้ว่าเป็นหลักการตามกฎหมาย[24] หลักการตามกฎหมายนั้นมีการแบ่งแยกชั้นต่างๆของกฎเกณฑ์ โดยทั่วไป รัฐธรรมนูญย่อมอยู่เหนือกฎเกณฑ์ทั่วไป แต่บางบางประเทศเช่นประเทศอังกฤษแม้ว่าจะไม่มีการเขียนรัฐธรรมนูญเป็นลายลักษณ์อักษรทั้งหมดแต่กฎเกณฑ์บางอย่างก็มีศักดิ์เป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญและได้รับการยอมรับนับถือ[25] กฎหมายทั่วไปก็มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ารัฐธรรมนูญ เนื่องจากหลักการมีผู้แทนราษฎรทำให้กฎหมายที่ผ่านรัฐสภาได้ชื่อว่าอยู่เหนือสิ่งอื่นเพราะถือว่าเป็นความต้องการของประชาชนเจ้าของประเทศ กฎหมายจะเป็นเครื่องมือปกป้องสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และเป็นสิ่งที่กำหนดขอบเขตสิทธิเสรีภาพของประชาชน  กฎหมายจึงมีความสำคัญกว่าสิ่งอื่น เหนือกว่าคำสั่งกฎเกณฑ์ ข้อบังคับของฝ่ายบริหาร โดยฝ่ายบริหารจำเป็นจะต้องอิงอำนาจกฎหมายและไม่ขัดต่อกฎหมายด้วย

            ในระบบรัฐสภาโดยหลักการพื้นฐานอย่างเดียวยังไม่เพียงพอที่จะกำหนดว่าเป็นการปกครองระบบรัฐสภาหรือไม่ โดยทั่วไปแล้วระบบรัฐสภาที่มีอยู่แต่ละระบบก็มีความแตกต่างแยกแยะออกไปมากมาย แต่ระบอบการปกครองที่จะถือว่าเป็นการปกครองระบบรัฐสภาจะต้องประกอบไปด้วยหลักการทฤษฎีที่สำคัญ 2 หลักใหญ่ๆ คือ

1. หลักทฤษฎีแห่งดุลยภาพ โดยทฤษฎีนี้จะถือว่าการปกครองระบบรัฐสภาเป็นระบบที่ได้ดุลยในการปกครองอย่างดีที่สุด โดยฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารจะต้องมีมาตรการที่จะใช้อำนาจของตนคานกับอำนาจอีกฝ่ายหนึ่งอย่างได้ผล โดยรัฐสภาอาจตั้งกระทู้ถามเกี่ยวกับนโยบายหรือการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลได้ อาจขอเปิดอภิปรายลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาลเป็นเหตุให้รัฐบาลต้องลาออกได้ ในทำนองเดียวกัน รัฐมนตรีก็มีสิทธิที่จะเข้าไปแถลงชี้แจงปัญหาต่างๆในการบริหารประเทศในรัฐสภาได้ และฝ่ายบริหารก็ยุบสภาได้[26]

2. หลักทฤษฎีว่าด้วยความรับผิดชอบทางการเมืองคือ เมื่อใดก็ตามที่รัฐสภาไม่ให้ความไว้วางใจ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการลาออกจากตำแหน่ง

จำนวนสภาที่ประกอบกันเป็นรัฐสภา

            โดยทั่วไปประเทศต่างๆจะมีจำนวนสภาที่ประกอบกันเข้าเป็นรัฐสภา 2 แบบใหญ่ๆ คือ แบบสภาเดี่ยว และแบบสองสภา

1. สภาเดี่ยวคือ รัฐสภาที่มีนิติบัญญัติเพียงสภาเดียวทำหน้าที่ออกกฎหมาย และควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล การเข้าสู่ตำแหน่งจะมาจากการเลือกตั้งอย่างเดียว หรือแต่งตั้งอย่างเดียว หรืออาจจะมาจากทั้งการเลือกตั้งและแต่งตั้งก็ได้ แล้วแต่ประเทศนั้นๆ จะกำหนด ทำหน้าที่เป็นผู้วางนโยบายของประเทศ

2. สองสภาคือ รัฐสภาที่มีนิติบัญญัติประกอบด้วยสภาสองสภาคือ สภาสูง และสภาล่างซึ่งมีชื่อเรียกแตกต่างกันไป โดยทั่วไปการเข้าสู่ตำแหน่งและวาระการดำรงตำแหน่งของสภาสูงส่วนใหญ่มักจะแต่งตั้งจากกลุ่มอาชีพต่างๆ เพื่อช่วยกลั่นกรองงานในหน้าที่รับผิดชอบของสภาล่าง[27] อาจจะมาจากการเลือกตั้งอย่างเดียว หรืออาจจะมาจากการแต่งตั้งอย่างเดียว หรืออาจจะมาทั้งจากการเลือกตั้งและแต่งตั้งก็ได้อาจจะมาจากการสืบตระกูล แล้วแต่ประเทศนั้นๆ จะกำหนด ส่วนการดำรงตำแหน่งส่วนหนึ่งจะขึ้นอยู่กับรัฐธรรมนูญ ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับประวัติศาสตร์ความเป็นมา ส่วนสภาล่าง หรือสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน[28] โดยทั่วไปสภาล่างเป็นแหล่งที่บัญญัติกฎหมายที่สำคัญ[29] ซึ่งแบบสองสภานี้ สภานิติบัญญัติจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย หรือสองประเภท โดยให้สภาล่างมีบทบาทอย่างแท้จริงในการตรากฎหมายและอีกสภาหนึ่งคือสภาสูงทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา คอยยับยั้งหรือกลั่นกรองการใช้อำนาจของสภาล่าง

อำนาจหน้าที่ของรัฐสภาในการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนในระบบรัฐสภา

            ในระบบนี้อำนาจศูนย์กลางจะอยู่ที่รัฐสภา เป็นศูนย์กลางของอำนาจทางการเมือง[30] และเป็นองค์กรสูงสุดที่เป็นที่รวมเจตจำนงของประชาชนทั้งประเทศ โดยทั่วไปจะมีอำนาจหน้าที่ต่างๆ คือ

1. อำนาจนิติบัญญัติคือ มีหน้าที่ในการริเริ่มเสนอกฎหมาย พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายหลัก[31]กฎหมายที่สำคัญ และกฎหมายต่างๆ รวมทั้งอนุมัติใช้กฎหมายรวมทั้งการยกเลิกกฎหมายด้วย

2. อำนาจหน้าที่เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญคือ อำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญรวมถึงการพิจารณาอนุมัติให้มีการใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ การตีความรัฐธรรมนูญ เป็นต้น หรืออาจะให้ประชาชนเป็น ผู้ตัดสินในการที่จะให้มีการดำเนินแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ กรณีที่รัฐสภาตกลงกันไม่ได้ประชาชนทั้งหมดจะเป็นผู้ตัดสินลงมติว่าสมควรจะให้มีการแก้ไขปัญหารัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึ่งหลักเกณฑ์จะเป็นไปตามที่ประเทศนั้นๆ จะกำหนด

3. อำนาจหน้าที่ในการจัดให้มีและรับรองฝ่ายบริหาร รวมทั้งการตรวจสอบ การควบคุม ตลอดจนการถอดถอนฝ่ายบริหารประเทศ

4. สรรหาและรับรองบุคคลมาเป็นนายกรัฐมนตรีโดยให้ประมุขแต่งตั้ง และให้การรับรองโดยชัดแจ้งหรือโดยปริยาย ซึ่งบุคคลหรือคณะบุคคลที่นายกรัฐมนตรีเสนอชื่อให้ประมุขแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี

5. ตรวจสอบควบคุมฝ่ายบริหารด้วยตรากฎหมาย หรือไม่ตรากฎหมาย ให้อำนาจตั้งกระทู้ถามนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี เปิดอภิปรายทั่วไปในเรื่องต่างๆ โดยไม่มีการลงมติตั้งคณะกรรมาธิการหรือคณะทำงานเพื่อตรวจสอบหรือติดตามการทำงานของรัฐบาลหรือหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ

6. ถอดถอนนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลหรือทั้งคณะโดยการเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ 7. การมีส่วนในการใช้อำนาจบริหาร

8. อำนาจการฟ้องร้องฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ

9. อำนาจในการกำหนดหน้าที่ในการกำหนดคุณสมบัติของสมาชิกของตน โดยสมาชิกรัฐสภาของแต่ละประเทศจะมีสภาพอย่างไร มีคุณสมบัติประการใดก็แล้วแต่รัฐสภาประเทศนั้นๆ จะกำหนดไว้

10.. อำนาจหน้าที่ในการเลือกเจ้าหน้าที่ของตนเอง เช่นประธานสภาล่าง

11. อำนาจหน้าที่ให้ความเห็นชอบหรือให้สัตยาบันเรื่องสำคัญของประเทศ เช่น การลงนามสนธิสัญญา ประกาศสงคราม

12. อำนาจหน้าที่ในเรื่องการรับฟังสะท้อนความต้องการ และความทุกข์ของประชาชนให้ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบได้รับทราบเพื่อแก้ไขปัญหาให้ ทั้งนี้ อาจเป็นการรับฟังด้วยวิธีการต่างๆ โดยสมาชิกสภา แต่ละคน โดยกลุ่มสมาชิก โดยพรรคการเมืองที่สังกัด หรืออาจโดยการตั้งคณะกรรมาธิการต่าง คณะทำงาน จัดประชุม เพื่อศึกษาและรับฟังปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไข

13. อำนาจหน้าที่ในการให้ความรู้ความเข้าใจ หรือให้การศึกษาในเรื่องต่างๆของชาติบ้านเมือง แก่ประชาชนด้วยวิธีการต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ

14. อำนาจหน้าที่อื่น

บรรณานุกรม

โกสินทร์ วงศ์สุรวัฒน์.ความเป็นมาของการปกครองในระบบรัฐสภา และระบบรัฐสภาในประเทศไทย.''พิมพ์ครั้งที่ 2: ห้างหุ้นส่วนจำกัด แพร่พิทยา อินเตอร์เนชั่นแนล,กรุงเทพฯ. 2518.

จรูญ สุภาพ. หลักรัฐศาสตร์ ฉบับพิสดาร แนวทฤษฎีและประยุกต์.'พิมพ์ครั้งที่ 1: บริษัทโรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, กรุงเทพฯ. 2518.

จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ. 2551. หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์.'พิมพ์ครั้งที่ 6: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551.

นิยม รัฐอมฤต. การปกครองระบอบประชาธิปไตยในนานาประเทศ.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ. 2553.

วิชัย ตันศิริ. วิวัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 2548.

วิสุทธิ์ โพธิแท่น.แนวคิดพื้นฐานของประชาธิปไตย.''พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2550.

 

หนังสือแนะนำ

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. วุฒิสภาไทย: กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา,กรุงเทพฯ. 2540.

อ้างอิง

[1] จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ. หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์.'พิมพ์ครั้งที่ 6: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551, หน้า185.

[2] วิชัย ตันศิริ. วิวัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 2548. หน้า53

[3] เรื่องเดียวกัน, หน้า 542-543.

[4] เรื่องเดียวกัน, หน้า 544-545.

[5] เรื่องเดียวกัน, หน้า 545-546.

[6] เรื่องเดียวกัน, หน้า 546.

[7] เรื่องเดียวกัน, หน้า 547.

[8] เรื่องเดียวกัน, หน้า 320-321.

[9] เรื่องเดียวกัน, หน้า 547.

[10] เรื่องเดียวกัน, หน้า 320-322.

[11] เรื่องเดียวกัน, หน้า 323.

[12] เรื่องเดียวกัน, หน้า 548.

[13] นิยม รัฐอมฤต. การปกครองระบอบประชาธิปไตยในนานาประเทศ.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ. 2553. หน้า 24.

[14] วิชัย ตันศิริ. วิวัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 2548. หน้า 327.

[15] เรื่องเดียวกัน, หน้า 327-329.

[16] เรื่องเดียวกัน, หน้า 329.

[17] เรื่องเดียวกัน, หน้า 330-332.

[18] เรื่องเดียวกัน, หน้า 332.

[19] นิยม รัฐอมฤต. การปกครองระบอบประชาธิปไตยในนานาประเทศ.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ. 2553. หน้า 25.

[20] วิชัย ตันศิริ. วิวัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย.พิมพ์ครั้งที่ 1: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 2548. หน้า 334-335.

[21] โกสินทร์ วงศ์สุรวัฒน์.ความเป็นมาของการปกครองในระบบรัฐสภา และระบบรัฐสภาในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2: ห้างหุ้นส่วนจำกัด แพร่พิทยา อินเตอร์เนชั่นแนล,กรุงเทพฯ. 2518. หน้า2-3.

[22] เรื่องเดียวกัน, หน้า4-5.

[23] เรื่องเดียวกัน, หน้า 7-8.

[24] เรื่องเดียวกัน, หน้า 15.

[25] เรื่องเดียวกัน, หน้า 16-17.

[26] เรื่องเดียวกัน, หน้า 25.

[27] จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ.หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์', หน้า 188.

[28] เรื่องเดียวกัน, หน้า 188.

[29] จรูญ สุภาพ. หลักรัฐศาสตร์ ฉบับพิสดาร แนวทฤษฎีและประยุกต์.'พิมพ์ครั้งที่ 1: บริษัทโรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, กรุงเทพฯ. 2518, หน้า 418.

[30] จุมพล หนิมพานิช บรรณาธิการ. หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์', หน้า 185.

[31] วิสุทธิ์ โพธิแท่น.แนวคิดพื้นฐานของประชาธิปไตย', หน้า 99.