ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพลงไทยพระราชนิพนธ์ : ราตรีประดับดาว"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
ก่อนวงมโหรีหลวงจะได้บรรเลงเพลงนี้ ออกอากาศทางสถานีวิทยุ ๑๑ พีเจ ที่ศาลาแดง โฆษกได้ประกาศชื่อเพลงว่า “ราตรีประดับดาว เถา”โดยบทร้องมีท่อนว่า “เพลงของท่านแต่งใหม่ในวังหลวง”  
ก่อนวงมโหรีหลวงจะได้บรรเลงเพลงนี้ ออกอากาศทาง[[สถานีวิทยุ ๑๑ พีเจ]] ที่ศาลาแดง โฆษกได้ประกาศชื่อเพลงว่า “[[ราตรีประดับดาว เถา]]”โดยบทร้องมีท่อนว่า “เพลงของท่านแต่งใหม่ในวังหลวง”  


พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดดนตรีทั้งไทยและสากล ในด้านดนตรีไทยทรงศึกษากับครูดนตรีไทยที่มีชื่อเสียง เช่น หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) และหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) จนทรงพระราชนิพนธ์เพลงได้ ทรงเป็นศิลปินดนตรีที่มีพระราชอัจฉริยภาพทั้งในด้านการพระราชนิพนธ์ทำนอง และเนื้อร้อง
[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงโปรดดนตรีทั้งไทยและสากล ในด้านดนตรีไทยทรงศึกษากับครูดนตรีไทยที่มีชื่อเสียง เช่น [[หลวงประดิษฐไพเราะ]] ([[ศร ศิลปบรรเลง]]) และ[[หลวงไพเราะเสียงซอ]] ([[อุ่น ดูรยชีวิน]]) จนทรงพระราชนิพนธ์เพลงได้ ทรงเป็นศิลปินดนตรีที่มีพระราชอัจฉริยภาพทั้งในด้านการพระราชนิพนธ์ทำนอง และเนื้อร้อง
   
   
สันนิษฐานว่าทรงพอพระราชหฤทัยเพลงแขกมอญบางขุนพรหม ซึ่งสมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ทรงนิพนธ์ไว้และเป็นที่นิยมมากอยู่ในเวลานั้น จึงทรงนำเพลงสำเนียงมอญพระราชนิพนธ์เป็นเพลงเถา  
สันนิษฐานว่าทรงพอพระราชหฤทัยเพลงแขกมอญบางขุนพรหม ซึ่ง[[สมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] ทรงนิพนธ์ไว้และเป็นที่นิยมมากอยู่ในเวลานั้น จึงทรงนำเพลงสำเนียงมอญพระราชนิพนธ์เป็นเพลงเถา  


หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ซึ่งเป็นผู้ควบคุมวงในการบรรเลงทางวิทยุกระจายเสียงครั้งนั้นเล่าว่าพอบรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์นี้จบลง นักดนตรีทุกคนก็กราบถวายบังคมพร้อมกันเพื่อถวายความเคารพแด่องค์ผู้ทรงพระราชนิพนธ์
[[หลวงประดิษฐไพเราะ]] ([[ศร ศิลปบรรเลง]]) ซึ่งเป็นผู้ควบคุมวงในการบรรเลงทางวิทยุกระจายเสียงครั้งนั้นเล่าว่าพอบรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์นี้จบลง นักดนตรีทุกคนก็กราบถวายบังคมพร้อมกันเพื่อถวายความเคารพแด่องค์ผู้ทรงพระราชนิพนธ์


'''ที่มา '''
'''ที่มา '''

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:30, 9 กุมภาพันธ์ 2559

ก่อนวงมโหรีหลวงจะได้บรรเลงเพลงนี้ ออกอากาศทางสถานีวิทยุ ๑๑ พีเจ ที่ศาลาแดง โฆษกได้ประกาศชื่อเพลงว่า “ราตรีประดับดาว เถา”โดยบทร้องมีท่อนว่า “เพลงของท่านแต่งใหม่ในวังหลวง”

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดดนตรีทั้งไทยและสากล ในด้านดนตรีไทยทรงศึกษากับครูดนตรีไทยที่มีชื่อเสียง เช่น หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) และหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) จนทรงพระราชนิพนธ์เพลงได้ ทรงเป็นศิลปินดนตรีที่มีพระราชอัจฉริยภาพทั้งในด้านการพระราชนิพนธ์ทำนอง และเนื้อร้อง

สันนิษฐานว่าทรงพอพระราชหฤทัยเพลงแขกมอญบางขุนพรหม ซึ่งสมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ทรงนิพนธ์ไว้และเป็นที่นิยมมากอยู่ในเวลานั้น จึงทรงนำเพลงสำเนียงมอญพระราชนิพนธ์เป็นเพลงเถา

หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ซึ่งเป็นผู้ควบคุมวงในการบรรเลงทางวิทยุกระจายเสียงครั้งนั้นเล่าว่าพอบรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์นี้จบลง นักดนตรีทุกคนก็กราบถวายบังคมพร้อมกันเพื่อถวายความเคารพแด่องค์ผู้ทรงพระราชนิพนธ์

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖